วันจันทร์ที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2556

ไวรัสคอมพิวเตอร์, การป้องกัน, จรรยาบรรณการใช้ ICT และ พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

สรุุปศึกษาเนื้อหา ไวรัสคอมพิวเตอร์, การป้องกัน, จรรยาบรรณการใช้ ICT และ พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

507 ความคิดเห็น:

«เก่าที่สุด   ‹เก่ากว่า   201 – 400 จาก 507   ใหม่กว่า›   ใหม่ที่สุด»
Unknown กล่าวว่า...

3. จรรยาบรรณการใช้ ICT
1. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายหรือละเมิดผู้อื่น
2. ต้องไม่รบกวนการทำงานของผู้อื่น
3. ต้องไม่สอดแนมหรือแก้ไขเปิดดูในแฟ้มของผู้อื่น
4. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร
5. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ
6. ต้องไม่คัดลอกโปรแกรมผู้อื่นที่มีลิขสิทธิ์
7. ต้องไม่ละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีสิทธิ์
8. ต้องไม่นำเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. ต้องคำนึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคมอันติดตามมาจากการกระทำ
10.ต้องใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบียบ กติกามารยาท

Unknown กล่าวว่า...

หมวด ๑
ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
มาตรา ๕ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้สำหรับตน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๖ ผู้ใดล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะถ้านำมาตรการดังกล่าวไปเปิดเผยโดยมิชอบในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๗ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้สำหรับตน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๘ ผู้ใดกระทำด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นมิได้มีไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคลทั่วไปใช้ประโยชน์ได้ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๙ ผู้ใดทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๑๐ ผู้ใดกระทำด้วยประการใดโดยมิชอบ เพื่อให้การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทำงานตามปกติได้ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๑๑ ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่นโดยปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มาของการส่งข้อมูลดังกล่าว อันเป็นการรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยปกติสุข ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท

Unknown กล่าวว่า...

ต่อ
มาตรา ๑๒ ถ้าการกระทำความผิดตามมาตรา ๙ หรือมาตรา ๑๐
(๑) ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประชาชน ไม่ว่าความเสียหายนั้นจะเกิดขึ้นในทันทีหรือในภายหลังและไม่ว่าจะเกิดขึ้นพร้อมกันหรือไม่ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสิบปี และปรับไม่เกินสองแสนบาท
(๒) เป็นการกระทำโดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือระบบคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือการบริการสาธารณะ หรือเป็นการกระทำต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ที่มีไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะ ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่สามปีถึงสิบห้าปี และปรับตั้งแต่หกหมื่นบาทถึงสามแสนบาท
ถ้าการกระทำความผิดตาม (๒) เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่สิบปีถึงยี่สิบปี
มาตรา ๑๓ ผู้ใดจำหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นโดยเฉพาะเพื่อนำไปใช้เป็นเครื่องมือในการกระทำความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ หรือมาตรา ๑๑ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๑๔ ผู้ใดกระทำความผิดที่ระบุไว้ดังต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(๑) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชน
(๒) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศหรือก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน
(๓) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใดๆ อันเป็นความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักรหรือความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา
(๔) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใดๆ ที่มีลักษณะอันลามกและข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้
(๕) เผยแพร่หรือส่งต่อซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยรู้อยู่แล้วว่าเป็นข้อมูลคอมพิวเตอร์ตาม (๑) (๒) (๓) หรือ (๔)
มาตรา ๑๕ ผู้ให้บริการผู้ใดจงใจสนับสนุนหรือยินยอมให้มีการกระทำความผิดตามมาตรา ๑๔ ในระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในความควบคุมของตน ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับผู้กระทำความผิดตามมาตรา ๑๔
มาตรา ๑๖ ผู้ใดนำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่ประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏเป็นภาพของผู้อื่น และภาพนั้นเป็นภาพที่เกิดจากการสร้างขึ้น ตัดต่อ เติมหรือดัดแปลงด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือวิธีการอื่นใด ทั้งนี้ โดยประการที่น่าจะทำให้ผู้อื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ถ้าการกระทำตามวรรคหนึ่ง เป็นการนำเข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยสุจริต ผู้กระทำไม่มีความผิด
ความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นความผิดอันยอมความได้
ถ้าผู้เสียหายในความผิดตามวรรคหนึ่งตายเสียก่อนร้องทุกข์ ให้บิดา มารดา คู่สมรส หรือบุตรของผู้เสียหายร้องทุกข์ได้ และให้ถือว่าเป็นผู้เสียหาย
มาตรา ๑๗ ผู้ใดกระทำความผิดตามพระราชบัญญัตินี้นอกราชอาณาจักรและ
(๑) ผู้กระทำความผิดนั้นเป็นคนไทย และรัฐบาลแห่งประเทศที่ความผิดได้เกิดขึ้นหรือผู้เสียหายได้ร้องขอให้ลงโทษ หรือ
(๒) ผู้กระทำความผิดนั้นเป็นคนต่างด้าว และรัฐบาลไทยหรือคนไทยเป็นผู้เสียหายและผู้เสียหายได้ร้องขอให้ลงโทษ
จะต้องรับโทษภายในราชอาณาจักร

Unknown กล่าวว่า...

4. พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

พ.ร.บ.ฉบับนี้ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 18 มิ.ย 2550 และมีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 18 ก.ค. 2550 ป็นต้นไป
ความผิดที่เข้าข่ายตาม พ.ร.บ ฉบับนี้
- การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ
- การเปิดเผยข้อมูลมาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะ
- การดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลโดยมิชอบ
- การกระทำเพื่อใหการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
- การส่งข้อมูลรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การจำหน่ายชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นเพื่อนำไปเป็นเครื่องมือในการกระทำผิด
- การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ทำความผิดอื่น
- การตกแต่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นภาพของบุคคล

นางสาวกรรณิการ์ พรมวังขวา ค.บ.5/2 ภาษาไทย 55191010203

Unknown กล่าวว่า...

4. พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พ.ศ. ๒๕๕๐

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐
เป็นปีที่ ๖๒ ในรัชกาลปัจจุบัน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า

โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำแนะนำและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้

มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐”

มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้
“ระบบคอมพิวเตอร์”หมายความว่า อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมการทำงานเข้าด้วยกัน โดยได้มีการกำหนดคำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และแนวทางปฏิบัติงานให้อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลโดยอัตโนมัติ
“ข้อมูลคอมพิวเตอร์”หมายความว่า ข้อมูล ข้อความ คำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใดบรรดาที่อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้ และให้หมายความรวมถึงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ด้วย
“ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์”หมายความว่า ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงถึงแหล่งกำเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลาชนิดของบริการ หรืออื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์นั้น
“ผู้ให้บริการ”หมายความว่า
(๑) ผู้ให้บริการแก่บุคคลอื่นในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต หรือให้สามารถติดต่อถึงกันโดยประการอื่น โดยผ่านทางระบบคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการให้บริการในนามของตนเอง หรือในนามหรือเพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น
(๒) ผู้ให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น
“ผู้ใช้บริการ”หมายความว่า ผู้ใช้บริการของผู้ให้บริการไม่ว่าต้องเสียค่าใช้บริการหรือไม่ก็ตาม
“พนักงานเจ้าหน้าที่”หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
“รัฐมนตรี”หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ
ไวรัส คือ โปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูล ไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
7 ขั้นตอนในการช่วยป้องกันคุณไม่ให้ติดไวรัสคอมพิวเตอร์
1. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัส
2. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะกับตัวเอง
3. ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสให้เป็น
4. อัพเดตฐานข้อมูลไวรัส (Definition) อยู่เสมอ
5. เปลี่ยนเวอร์ชันใหม่ทันทีที่มีโอกาส
6. อย่ารับไฟล์แปลกหน้า และติดตามข่าวสารอยู่เสมอ
7. ติดไวรัสแล้วอย่ากลัว
จรรยาบรรณการใช้ ICT
จริยธรรม (Ethics) เป็นเรื่องของการกำหนดความถูกต้องดีงามสิ่งที่ไม่ควรทำมีหลักปฏิบัติในระดับที่สูงกว่ามารยาทในสังคม
บัญญัติ10 ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลก็จะเฉพาะสิทธิ์ที่ตนเองมีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงาน
1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติ
ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พ.ศ. ๒๕๕๐
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐
เป็นปีที่ ๖๒ ในรัชกาลปัจจุบัน
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พ.ร.บ.ฉบับนี้ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 18 มิ.ย 2550 และมีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 18 ก.ค. 2550 ป็นต้นไป
ความผิดที่เข้าข่ายตาม พ.ร.บ ฉบับนี้
- การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ
- การเปิดเผยข้อมูลมาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะ
- การดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลโดยมิชอบ
- การกระทำเพื่อใหการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
- การส่งข้อมูลรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การจำหน่ายชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นเพื่อนำไปเป็นเครื่องมือในการกระทำผิด
- การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ทำความผิดอื่น
- การตกแต่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นภาพของบุคคล

นายสรสิข พันธุ์ธิช
55191890319
สาขาพลศึกษา

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ
ไวรัส คือ โปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูล ไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
7 ขั้นตอนในการช่วยป้องกันคุณไม่ให้ติดไวรัสคอมพิวเตอร์
1. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัส
2. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะกับตัวเอง
3. ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสให้เป็น
4. อัพเดตฐานข้อมูลไวรัส (Definition) อยู่เสมอ
5. เปลี่ยนเวอร์ชันใหม่ทันทีที่มีโอกาส
6. อย่ารับไฟล์แปลกหน้า และติดตามข่าวสารอยู่เสมอ
7. ติดไวรัสแล้วอย่ากลัว
จรรยาบรรณการใช้ ICT
จริยธรรม (Ethics) เป็นเรื่องของการกำหนดความถูกต้องดีงามสิ่งที่ไม่ควรทำมีหลักปฏิบัติในระดับที่สูงกว่ามารยาทในสังคม
บัญญัติ10 ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลก็จะเฉพาะสิทธิ์ที่ตนเองมีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงาน
1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติ
ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พ.ศ. ๒๕๕๐
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐
เป็นปีที่ ๖๒ ในรัชกาลปัจจุบัน
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พ.ร.บ.ฉบับนี้ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 18 มิ.ย 2550 และมีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 18 ก.ค. 2550 ป็นต้นไป
ความผิดที่เข้าข่ายตาม พ.ร.บ ฉบับนี้
- การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ
- การเปิดเผยข้อมูลมาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะ
- การดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลโดยมิชอบ
- การกระทำเพื่อใหการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
- การส่งข้อมูลรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การจำหน่ายชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นเพื่อนำไปเป็นเครื่องมือในการกระทำผิด
- การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ทำความผิดอื่น
- การตกแต่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นภาพของบุคคล

นายสรสิข พันธุ์ธิช
55191890319
สาขาพลศึกษา

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ
ไวรัส คือ โปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูล ไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
7 ขั้นตอนในการช่วยป้องกันคุณไม่ให้ติดไวรัสคอมพิวเตอร์
1. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัส
2. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะกับตัวเอง
3. ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสให้เป็น
4. อัพเดตฐานข้อมูลไวรัส (Definition) อยู่เสมอ
5. เปลี่ยนเวอร์ชันใหม่ทันทีที่มีโอกาส
6. อย่ารับไฟล์แปลกหน้า และติดตามข่าวสารอยู่เสมอ
7. ติดไวรัสแล้วอย่ากลัว

นายสรสิข พันธุ์ธิช
55191890319
สาขาพลศึกษา

Unknown กล่าวว่า...

จรรยาบรรณการใช้ ICT
จริยธรรม (Ethics) เป็นเรื่องของการกำหนดความถูกต้องดีงามสิ่งที่ไม่ควรทำมีหลักปฏิบัติในระดับที่สูงกว่ามารยาทในสังคม
บัญญัติ10 ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลก็จะเฉพาะสิทธิ์ที่ตนเองมีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงาน
1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

นายสรสิข พันธุ์ธิช
55191890319
สาขาพลศึกษา

Unknown กล่าวว่า...

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติ
ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พ.ศ. ๒๕๕๐
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐
เป็นปีที่ ๖๒ ในรัชกาลปัจจุบัน
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พ.ร.บ.ฉบับนี้ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 18 มิ.ย 2550 และมีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 18 ก.ค. 2550 ป็นต้นไป
ความผิดที่เข้าข่ายตาม พ.ร.บ ฉบับนี้
- การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ
- การเปิดเผยข้อมูลมาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะ
- การดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลโดยมิชอบ
- การกระทำเพื่อใหการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
- การส่งข้อมูลรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การจำหน่ายชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นเพื่อนำไปเป็นเครื่องมือในการกระทำผิด
- การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ทำความผิดอื่น
- การตกแต่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นภาพของบุคคล

นายสรสิข พันธุ์ธิช
55191890319
สาขาพลศึกษา

Unknown กล่าวว่า...

ตอบ 1)ไวรัส คือ โปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูล ไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การที่คอมพิวเตอร์ใดติดไวรัส หมายถึงว่าไวรัสได้เข้าไปฝังตัวอยู่ในหน่วยความจำคอมพิวเตอร์เรียบร้อยแล้ว เนื่องจากไวรัสก็เป็นแค่โปรแกรมๆ หนึ่ง การที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ในหน่วยความจำได้นั้นจะต้องมีการถูกเรียกให้ทำงานได้นั้น ยังขึ้นอยู่กับประเภทของไวรัสแต่ละตัว ปกติผู้ใช้มักจะไม่รู้ัตัวว่าได้ทำการปลุกคอมพิวเตอร์ไวรัสขึ้นมาทำงานแ้้ล้ว
จุดประสงค์ของการทำงานของไวรัสแต่ละตัวขึ้นอยู่กับตัวผู้เขียนโปรแกรมไวรัสนั้น เช่น อาจสร้างไวรัสให้ไปทำลายโปรแกรมหรือข้อมูลอื่นๆ ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือแสดงข้อความวิ่งไปมาบนหน้าจอ เป็นต้น
นางสาวจิรัฐิกานต์ ช่วงชัยชนะ
ค.บ. 5/2 ภาษาไทย 55191010219

Unknown กล่าวว่า...

ตอบ 2.ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสและอัปเดตข้อมูลไวรัสอยู่เสมอ
- ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะสม
- สร้างแผ่น Emergency Disk เพื่อใช้ในการกู้ระบบ
- อัปเดตข้อมูลไวรัสของโปรแกรมทุกวัน หรือ ทุกครั้งที่โปรแกรมแจ้งเตือนให้อัปเดต
- เปิดใช้งาน auto-protect ถ้าโปรแกรมสนับสนุน
- ตรวจสอบหาไวรัสทุกครั้งก่อนเปิดไฟล์จากแผ่นหรือสื่อบันทึกข้อมูลต่าง ๆ
- ใช้โปรแกรมเพื่อทำการตรวจหาไวรัสบนเครื่องคอมพิวเตอร์อย่างน้อย 1 ครั้ง ต่อสัปดาห์
ติดตั้งโปรแกรมอุดช่องโหว่(patch) โดยการอัปเดตซอฟต์แวร์และโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ ให้ใหม่อยู่เสมอ
- ระบบปฏิบัติการ(OS) Windows , ระบบปฏิบัติการโปรแกรม Internet Explorer (IE) และโปรแกรม Microsoft Office เป็นต้น
ปรับแต่งให้ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานปลอดภัยสูงที่สุด
- ปรับแต่งไม่ให้โปรแกรมที่ใช้อ่าน E-mail รันไฟล์แนบ(Attachment) โดยอัตโนมัติ
- ถ้าใช้ Microsoft Office ไม่ควรอนุญาตให้รันมาโคร (macro)
- ตั้งค่าระบบปฏิบัติการให้แสดงไฟล์ที่มีอยู่ทั้งหมด และแสดงนามสกุลของไฟล์ด้วยโดย ปรับ ค่าการทำงานที่ Folder Options ใน Tools ของ Windows Explorer
ระวังภัยจากการเปิดไฟล์จากสื่อบันทึกข้อมูล(Media) ต่าง ๆ
- เช่น แผ่นฟล็อปปี้ดิสก์ แผ่นซีดี แผ่นดีวีดี เทปแบ็กอัป เป็นต้น
- สแกนหาไวรัสจากสื่อบันทึกข้อมูล ก่อนใช้งานทุกครั้ง
- ไม่ควรเปิดไฟล์ที่มีนามสกุลแปลก ๆ ที่น่าสงสัย เช่น .pifเป็นต้น รวมทั้งไฟล์ที่มีนามสกุลซ้อนกัน เช่น .jpg,.exe ,.gif.scr , txt.exe เป็นต้น ให้ลบไฟล์นั้นทิ้งทันที
- ไม่ใช้สื่อบันทึกข้อมูล ที่ไม่ทราบแหล่งที่มา
ใช้ความระมัดระวังในการเปิดอ่าน E-mail
- อย่าเปิดไฟล์ที่แนบมากับ E-mail จนกว่าจะรู้ที่มา
- อย่าเปิดอ่าน E-mail ที่มี Subject ที่เป็นข้อความจูงใจ
- ลบ E-mail ที่ไม่ทราบแหล่งที่มาทิ้งทันที เพื่อตัดปัญหาทั้งปวง
ตระหนักถึงความเสี่ยงของไฟล์ที่ดาวน์โหลด หรือได้รับจากทางอินเตอร์เน็ต
- ไม่ควรเปิดไฟล์ที่แนบมากับโปรแกรมที่ใช้สนทนา เช่น ICQ , MSN เป็นต้น หรือการแลกเปลี่ยนไฟล์ โดยเฉพาะไฟล์ที่สามารถรันได้ เช่น ไฟล์ที่มีนามสกุล .exe , .pif , .com , .bat , .vbs เป็นต้นโดยไม่ได้ตรวจสอบแหล่งที่มาก่อน
- ไม่ควรเข้าเว็บไซต์ที่มากับ E-mail หรือโปรแกรมสนทนาต่าง ๆรวมทั้งโฆษณาชวนเชื่อ หรือหน้าเว็บที่ปรากฏขึ้นมาโดยไม่ตั้งใจ
- ไม่ดาวน์โหลดไฟล์ต่าง ๆ จากเว็บไซต์ที่ไม่มั่นใจ หรือไม่น่าเชื่อถือ
- ติดตามข่าวสารข้อมุลการแจ้งเตือนไวรัสจากแหล่งข้อมูลด้านความปลอดภัยอยู่เสมอ
หลีกเลี่ยงการแชร์ไฟล์โดยไม่จำเป็น ถ้าต้องการแชร์ไฟล์ ควรแชร์แบบอ่านอย่างเดียว และตั้งรหัสผ่านด้วย
กำหนดนโยบายด้านการบริหารจัดการไวรัสคอมพิวเตอร์ขององค์กร
- สำรองข้อมูลสำคัญไว้เสมอ
- ถ้าสงสัยว่าเครื่องติดไวรัสและไม่สามารถดำเนินการเองได้ให้สอบถามเจ้าหน้าที่ดูแลระบบหรือผู้ที่เกี่ยวข้องดำเนินการโดยด่วน

นางสาวจิรัฐิกานต์ ช่วงชัยชนะ
ค.บ. 5/2 ภาษาไทย 55191010219

Unknown กล่าวว่า...

นายธีรศักดิ์ สุดสวาสดิ์
สาขาภาษาไทย 55191010255
1 ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ที่บุกรุกเข้าไปในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยไม่ได้รับความยินยอมจากผู้ใช้ ส่วนมากมักจะมีประสงค์ร้ายและสร้างความเสียหายให้กับระบบของเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นๆ ในเชิงเทคโนโลยีความมั่นคงของระบบคอมพิวเตอร์นั้น ไวรัสเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สามารถทำสำเนาของตัวเอง เพื่อแพร่ออกไปโดยการสอดแทรกตัวสำเนาไปในรหัสคอมพิวเตอร์ส่วนของข้อมูลเอกสารหรือส่วนที่สามารถปฏิบัติการได้ ดังนั้นไวรัสคอมพิวเตอร์จึงมีพฤติกรรมในลักษณะเดียวกับไวรัสในทางชีววิทยา ซึ่งสามารถแพร่กระจายไปในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตในลักษณะเดียวกันนี้ คำอื่นๆ ที่ใช้กับไวรัสในทางชีววิทยายังขยายขอบข่ายของความหมายครอบคลุมถึงไวรัสในทางคอมพิวเตอร์ เช่น การติดไวรัส (infection) แฟ้มข้อมูลที่ติดไวรัสนี้จะเรียกว่า โฮสต์ (host) ไวรัสนั้นเป็นประเภทหนึ่งของโปรแกรมประเภทมัลแวร์ (malware) หรือโปรแกรมที่มีประสงค์ร้าย ในความหมายที่ใช้กันทั่วไปนั้น ไวรัสยังใช้หมายรวมถึง เวิร์ม (worm) ซึ่งก็เป็นโปรแกรมอีกรูปแบบหนึ่งของมัลแวร์ ซึ่งบางครั้งก็ทำให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์นั้นสับสนเมื่อคำไวรัสนั้นใช้ในความหมายที่เฉพาะเจาะจง คอมพิวเตอร์ไวรัสนั้นโดยทั่วไปจะไม่ส่งผลก่อให้เกิดความเสียหายต่อฮาร์ดแวร์โดยตรง แต่จะทำความเสียหายต่อซอฟต์แวร์

Unknown กล่าวว่า...

ตอบ 3.พรบ. คอมพิวเตอร์ 2550
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมาย ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำแนะนำและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้ “ระบบคอมพิวเตอร์” หมายความว่า อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมการทำงานเข้าด้วยกัน โดยได้มีการกำหนดคำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และแนวทางปฏิบัติงานให้อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลโดยอัตโนมัติ
“ข้อมูลคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูล ข้อความ คำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใดบรรดาที่อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้ และให้หมายความรวมถึงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ด้วย
“ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงถึงแหล่งกำเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลาชนิดของบริการ หรืออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์นั้น
“ผู้ให้บริการ” หมายความว่า
(๑) ผู้ให้บริการแก่บุคคลอื่นในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต หรือให้สามารถติดต่อถึงกันโดยประการอื่น โดยผ่านทางระบบคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการให้บริการในนามของตนเอง หรือในนามหรือเพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น
(๒) ผู้ให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น
“ผู้ใช้บริการ” หมายความว่า ผู้ใช้บริการของผู้ให้บริการไม่ว่าต้องเสียค่าใช้บริการหรือไม่ก็ตาม
“พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
“รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจออกกฎกระทรวง เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้

นางสาวจิรัฐิกานต์ ช่วงชัยชนะ
ค.บ. 5/2 ภาษาไทย 55191010219

Unknown กล่าวว่า...

นายธีรศักดิ์ สุดสวาสดิ์ ภาษาไทย
55191010233
2.การป้องกัน ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสและอัปเดตข้อมูลไวรัสอยู่เสมอ
- ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะสม
- สร้างแผ่น Emergency Disk เพื่อใช้ในการกู้ระบบ
- อัปเดตข้อมูลไวรัสของโปรแกรมทุกวัน หรือ ทุกครั้งที่โปรแกรมแจ้งเตือนให้อัปเดต
- เปิดใช้งาน auto-protect ถ้าโปรแกรมสนับสนุน
- ตรวจสอบหาไวรัสทุกครั้งก่อนเปิดไฟล์จากแผ่นหรือสื่อบันทึกข้อมูลต่าง ๆ
- ใช้โปรแกรมเพื่อทำการตรวจหาไวรัสบนเครื่องคอมพิวเตอร์อย่างน้อย 1 ครั้ง ต่อสัปดาห์

Unknown กล่าวว่า...

นายธีรศักดิ์ สุดสวาสดิ์ ภาษาไทย
55191010233
3. จรรยาบรรณของผู้ใช้ ICT

จรรยาบรรณของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ มีดังนี้

1. จะต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อก่ออาชญากรรมหรือละเมิดสิทธิของผู้อื่น

2. จะต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์รบกวนผู้อื่น

3. จะต้องไม่ทำการสอดแนม แก้ไข หรือเปิดดูไฟล์เอกสารของผู้อื่นก่อนได้รับอนุญาต

4. จะต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ในการโจรกรรมข้อมูล ข่าวสาร

5. จะต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานเท็จ

6. จะต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ในการคัดลอกโปรแกรมที่มีลิขสิทธิ์

7. จะต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ในการละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีสิทธิ์

8. จะต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อนำเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง

9. จะต้องคำนึงถึงสิ่งที่เกิดขึ้นกับสังคม ที่จะตามมาจากการกระทำนั้น

10. จะต้องใช้คอมพิวเตอร์ โดยเคารพกฎ ระเบียบ กติกา และมารยาท

Unknown กล่าวว่า...

นายอนุพร คุณประโยชน์
สาขาภาษาไทย 55191010335

1. ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ โปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูล ไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน การที่คอมพิวเตอร์ใดติดไวรัส หมายถึงว่าไวรัสได้เข้าไปฝังตัวอยู่ในหน่วยความจำคอมพิวเตอร์เรียบร้อยแล้ว เนื่องจากไวรัส ก็เป็นแค่โปรแกรมๆ หนึ่ง การที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ในหน่วยความจำได้นั้นจะต้องมีการถูกเรียกให้ทำงานได้นั้น ยังขึ้นอยู่กับประเภทของไวรัสแต่ละตัว ปกติผู้ใช้มักจะไม่รู้ัตัวว่าได้ทำการปลุกคอมพิวเตอร์ไวรัสขึ้นมาทำงานแล้วจุดประสงค์ของการทำงานของไวรัสแต่ละตัวขึ้นอยู่กับตัวผู้เขียนโปรแกรมไวรัสนั้น เช่น อาจสร้างไวรัสให้ไปทำลายโปรแกรมหรือข้อมูลอื่นๆ ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือแสดงข้อความวิ่งไปมาบนหน้าจอ เป็นต้น

Unknown กล่าวว่า...

นายอนุพร คุณประโยชน์
สาขาภาษาไทย 55191010335

2. การป้องกัน ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสและอัปเดตข้อมูลไวรัสอยู่เสมอ - ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะสม - สร้างแผ่น Emergency Disk เพื่อใช้ในการกู้ระบบ - อัปเดตข้อมูลไวรัสของโปรแกรมทุกวัน หรือ ทุกครั้งที่โปรแกรมแจ้งเตือนให้อัปเดต - เปิดใช้งาน auto-protect ถ้าโปรแกรมสนับสนุน - ตรวจสอบหาไวรัสทุกครั้งก่อนเปิดไฟล์จากแผ่นหรือสื่อบันทึกข้อมูลต่าง ๆ - ใช้โปรแกรมเพื่อทำการตรวจหาไวรัสบนเครื่องคอมพิวเตอร์อย่างน้อย 1 ครั้ง ต่อสัปดาห์ ติดตั้งโปรแกรมอุดช่องโหว่(patch) โดยการอัปเดตซอฟต์แวร์และโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ ให้ใหม่อยู่เสมอ - ระบบปฏิบัติการ(OS) Windows , ระบบปฏิบัติการโปรแกรม Internet Explorer (IE) และโปรแกรม Microsoft Office เป็นต้น ปรับแต่งให้ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานปลอดภัยสูงที่สุด - ปรับแต่งไม่ให้โปรแกรมที่ใช้อ่าน E-mail รันไฟล์แนบ(Attachment) โดยอัตโนมัติ - ถ้าใช้ Microsoft Office ไม่ควรอนุญาตให้รันมาโคร (macro) - ตั้งค่าระบบปฏิบัติการให้แสดงไฟล์ที่มีอยู่ทั้งหมด และแสดงนามสกุลของไฟล์ด้วยโดย ปรับ ค่าการทำงานที่ Folder Options ใน Tools ของ Windows Explorer ระวังภัยจากการเปิดไฟล์จากสื่อบันทึกข้อมูล(Media) ต่าง ๆ - เช่น แผ่นฟล็อปปี้ดิสก์ แผ่นซีดี แผ่นดีวีดี เทปแบ็กอัป เป็นต้น - สแกนหาไวรัสจากสื่อบันทึกข้อมูล ก่อนใช้งานทุกครั้ง - ไม่ควรเปิดไฟล์ที่มีนามสกุลแปลก ๆ ที่น่าสงสัย เช่น .pifเป็นต้น รวมทั้งไฟล์ที่มีนามสกุลซ้อนกัน เช่น .jpg,.exe ,.gif.scr , txt.exe เป็นต้น ให้ลบไฟล์นั้นทิ้งทันที - ไม่ใช้สื่อบันทึกข้อมูล ที่ไม่ทราบแหล่งที่มา ใช้ความระมัดระวังในการเปิดอ่าน E-mail - อย่าเปิดไฟล์ที่แนบมากับ E-mail จนกว่าจะรู้ที่มา - อย่าเปิดอ่าน E-mail ที่มี Subject ที่เป็นข้อความจูงใจ - ลบ E-mail ที่ไม่ทราบแหล่งที่มาทิ้งทันที เพื่อตัดปัญหาทั้งปวง ตระหนักถึงความเสี่ยงของไฟล์ที่ดาวน์โหลด หรือได้รับจากทางอินเตอร์เน็ต - ไม่ควรเปิดไฟล์ที่แนบมากับโปรแกรมที่ใช้สนทนา เช่น ICQ , MSN เป็นต้น หรือการแลกเปลี่ยนไฟล์ โดยเฉพาะไฟล์ที่สามารถรันได้ เช่น ไฟล์ที่มีนามสกุล .exe , .pif , .com , .bat , .vbs เป็นต้นโดยไม่ได้ตรวจสอบแหล่งที่มาก่อน - ไม่ควรเข้าเว็บไซต์ที่มากับ E-mail หรือโปรแกรมสนทนาต่าง ๆรวมทั้งโฆษณาชวนเชื่อ หรือหน้าเว็บที่ปรากฏขึ้นมาโดยไม่ตั้งใจ - ไม่ดาวน์โหลดไฟล์ต่าง ๆ จากเว็บไซต์ที่ไม่มั่นใจ หรือไม่น่าเชื่อถือ - ติดตามข่าวสารข้อมุลการแจ้งเตือนไวรัสจากแหล่งข้อมูลด้านความปลอดภัยอยู่เสมอ หลีกเลี่ยงการแชร์ไฟล์โดยไม่จำเป็น ถ้าต้องการแชร์ไฟล์ ควรแชร์แบบอ่านอย่างเดียว และตั้งรหัสผ่านด้วย กำหนดนโยบายด้านการบริหารจัดการไวรัสคอมพิวเตอร์ขององค์กร - สำรองข้อมูลสำคัญไว้เสมอ - ถ้าสงสัยว่าเครื่องติดไวรัสและไม่สามารถดำเนินการเองได้ให้สอบถามเจ้าหน้าที่ดูแลระบบหรือผู้ที่เกี่ยวข้องดำเนินการโดยด่วน

Unknown กล่าวว่า...

นายอนุพร คุณประโยชน์
สาขาภาษาไทย 55191010335

3. จริยธรรม โดยทั่วไป เมื่อพิจารณาถึงจริยธรรมเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศแล้ว จะกล่าวถึงใน 4 ประเด็น ที่รู้จักกันในลักษณะตัวย่อว่า PAPA ประกอบด้วย ความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและสารสนเทศ โดยทั่วไปหมายถึง สิทธิที่จะอยู่ตามลำพัง และเป็นสิทธิที่เจ้าของสามารถที่จะควบคุมข้อมูลของตนเองในการเปิดเผยให้กับผู้อื่น สิทธินี้ใช้ได้ครอบคลุมทั้งปัจเจกบุคคล กลุ่มบุคคล และองค์การต่างๆ ความน่าเชื่อถือได้ของข้อมูล ทั้งนี้ ข้อมูลจะมีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใดย่อมขึ้นอยู่กับความถูกต้องในการบันทึกข้อมูลด้วย ประเด็นด้านจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับความถูกต้องของข้อมูล โดยทั่วไปจะพิจารณาว่าใครจะเป็นผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้องของข้อมูลที่จัดเก็บและเผยแพร่ ในสังคมของเทคโนโลยีสารสนเทศ มักจะกล่าวถึงการละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ เมื่อท่านซื้อโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีการจดลิขสิทธิ์ นั่นหมายความว่าท่านได้จ่ายค่าลิขสิทธิ์ในการใช้ซอฟต์แวร์นั้น สำหรับท่านเองหลังจากที่ท่านเปิดกล่องหรือบรรจุภัณฑ์แล้ว หมายถึงว่าท่านได้ยอมรับข้อตกลงเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ในการใช้สินค้านั้น ซึ่งลิขสิทธิ์ในการใช้จะแตกต่างกันไปในแต่ละสินค้าและบริษัท บางโปรแกรมคอมพิวเตอร์จะอนุญาตให้ติดตั้งได้เพียงครั้งเดียว หรือไม่อนุญาตให้ใช้กับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นๆ ท่านเป็นเจ้าของ และไม่มีผู้อื่นใช้ก็ตาม ในขณะที่บางบริษัทอนุญาตให้ใช้โปรแกรมนั้นได้หลายๆ เครื่อง ตราบใดที่ท่านยังเป็นบุคคลที่มีสิทธิในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ซื้อมา ปัจจุบันการเข้าใช้งานโปรแกรม หรือระบบคอมพิวเตอร์มักจะมีการกำหนดสิทธิตามระดับของผู้ใช้งาน ทั้งนี้ เพื่อเป็นการป้องกันการเข้าไปดำเนินการต่างๆ กับข้อมูลของผู้ใช้ที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง และเป็นการรักษาความลับของข้อมูล ตัวอย่างสิทธิในการใช้งานระบบ เช่น การบันทึก การแก้ไข/ปรับปรุง และการลบ เป็นต้น ดังนั้น ในการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์จึงได้มีการออกแบบระบบรักษาความปลอดภัยในการเข้าถึงของผู้ใช้ และการเข้าถึงข้อมูลของผู้อื่นโดยไม่ได้รับความยินยอมนั้น ก็ถือเป็นการผิดจริยธรรมเช่นเดียวกับการละเมิดข้อมูลส่วนตัวในการใช้งานคอมพิวเตอร์และเครือข่ายร่วมกันให้เป็นระเบียบ หากผู้ใช้ร่วมใจกันปฏิบัติตามระเบียบและข้อบังคับของแต่ละหน่วยงานอย่างเคร่งครัดแล้ว การผิดจริยธรรมตามประเด็นดังที่กล่าวมาข้างต้นก็คงจะไม่เกิดขึ้น

Unknown กล่าวว่า...
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
Unknown กล่าวว่า...

นายอนุพร คุณประโยชน์
สาขาภาษาไทย 55191010335

2. การป้องกัน ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสและอัปเดตข้อมูลไวรัสอยู่เสมอ - ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะสม - สร้างแผ่น Emergency Disk เพื่อใช้ในการกู้ระบบ - อัปเดตข้อมูลไวรัสของโปรแกรมทุกวัน หรือ ทุกครั้งที่โปรแกรมแจ้งเตือนให้อัปเดต - เปิดใช้งาน auto-protect ถ้าโปรแกรมสนับสนุน - ตรวจสอบหาไวรัสทุกครั้งก่อนเปิดไฟล์จากแผ่นหรือสื่อบันทึกข้อมูลต่าง ๆ - ใช้โปรแกรมเพื่อทำการตรวจหาไวรัสบนเครื่องคอมพิวเตอร์อย่างน้อย 1 ครั้ง ต่อสัปดาห์ ติดตั้งโปรแกรมอุดช่องโหว่(patch) โดยการอัปเดตซอฟต์แวร์และโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ ให้ใหม่อยู่เสมอ - ระบบปฏิบัติการ(OS) Windows , ระบบปฏิบัติการโปรแกรม Internet Explorer (IE) และโปรแกรม Microsoft Office เป็นต้น ปรับแต่งให้ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานปลอดภัยสูงที่สุด - ปรับแต่งไม่ให้โปรแกรมที่ใช้อ่าน E-mail รันไฟล์แนบ(Attachment) โดยอัตโนมัติ - ถ้าใช้ Microsoft Office ไม่ควรอนุญาตให้รันมาโคร (macro) - ตั้งค่าระบบปฏิบัติการให้แสดงไฟล์ที่มีอยู่ทั้งหมด และแสดงนามสกุลของไฟล์ด้วยโดย ปรับ ค่าการทำงานที่ Folder Options ใน Tools ของ Windows Explorer ระวังภัยจากการเปิดไฟล์จากสื่อบันทึกข้อมูล(Media) ต่าง ๆ - เช่น แผ่นฟล็อปปี้ดิสก์ แผ่นซีดี แผ่นดีวีดี เทปแบ็กอัป เป็นต้น - สแกนหาไวรัสจากสื่อบันทึกข้อมูล ก่อนใช้งานทุกครั้ง - ไม่ควรเปิดไฟล์ที่มีนามสกุลแปลก ๆ ที่น่าสงสัย เช่น .pifเป็นต้น รวมทั้งไฟล์ที่มีนามสกุลซ้อนกัน เช่น .jpg,.exe ,.gif.scr , txt.exe เป็นต้น ให้ลบไฟล์นั้นทิ้งทันที - ไม่ใช้สื่อบันทึกข้อมูล ที่ไม่ทราบแหล่งที่มา ใช้ความระมัดระวังในการเปิดอ่าน E-mail - อย่าเปิดไฟล์ที่แนบมากับ E-mail จนกว่าจะรู้ที่มา - อย่าเปิดอ่าน E-mail ที่มี Subject ที่เป็นข้อความจูงใจ - ลบ E-mail ที่ไม่ทราบแหล่งที่มาทิ้งทันที เพื่อตัดปัญหาทั้งปวง ตระหนักถึงความเสี่ยงของไฟล์ที่ดาวน์โหลด หรือได้รับจากทางอินเตอร์เน็ต - ไม่ควรเปิดไฟล์ที่แนบมากับโปรแกรมที่ใช้สนทนา เช่น ICQ , MSN เป็นต้น หรือการแลกเปลี่ยนไฟล์ โดยเฉพาะไฟล์ที่สามารถรันได้ เช่น ไฟล์ที่มีนามสกุล .exe , .pif , .com , .bat , .vbs เป็นต้นโดยไม่ได้ตรวจสอบแหล่งที่มาก่อน - ไม่ควรเข้าเว็บไซต์ที่มากับ E-mail หรือโปรแกรมสนทนาต่าง ๆรวมทั้งโฆษณาชวนเชื่อ หรือหน้าเว็บที่ปรากฏขึ้นมาโดยไม่ตั้งใจ - ไม่ดาวน์โหลดไฟล์ต่าง ๆ จากเว็บไซต์ที่ไม่มั่นใจ หรือไม่น่าเชื่อถือ - ติดตามข่าวสารข้อมุลการแจ้งเตือนไวรัสจากแหล่งข้อมูลด้านความปลอดภัยอยู่เสมอ หลีกเลี่ยงการแชร์ไฟล์โดยไม่จำเป็น ถ้าต้องการแชร์ไฟล์ ควรแชร์แบบอ่านอย่างเดียว และตั้งรหัสผ่านด้วย กำหนดนโยบายด้านการบริหารจัดการไวรัสคอมพิวเตอร์ขององค์กร - สำรองข้อมูลสำคัญไว้เสมอ – ถ้าสงสัยว่าเครื่องติดไวรัสและไม่สามารถดำเนินการเองได้ให้สอบถามเจ้าหน้าที่ดูแลระบบหรือผู้ที่เกี่ยวข้องดำเนินการโดยด่วน

Unknown กล่าวว่า...

นายอนุพร คุณประโยชน์
สาขาภาษาไทย 55191010335

3. จริยธรรม โดยทั่วไป เมื่อพิจารณาถึงจริยธรรมเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศแล้ว จะกล่าวถึงใน 4 ประเด็น ที่รู้จักกันในลักษณะตัวย่อว่า PAPA ประกอบด้วย ความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและสารสนเทศ โดยทั่วไปหมายถึง สิทธิที่จะอยู่ตามลำพัง และเป็นสิทธิที่เจ้าของสามารถที่จะควบคุมข้อมูลของตนเองในการเปิดเผยให้กับผู้อื่น สิทธินี้ใช้ได้ครอบคลุมทั้งปัจเจกบุคคล กลุ่มบุคคล และองค์การต่างๆ ความน่าเชื่อถือได้ของข้อมูล ทั้งนี้ ข้อมูลจะมีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใดย่อมขึ้นอยู่กับความถูกต้องในการบันทึกข้อมูลด้วย ประเด็นด้านจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับความถูกต้องของข้อมูล โดยทั่วไปจะพิจารณาว่าใครจะเป็นผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้องของข้อมูลที่จัดเก็บและเผยแพร่ ในสังคมของเทคโนโลยีสารสนเทศ มักจะกล่าวถึงการละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ เมื่อท่านซื้อโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีการจดลิขสิทธิ์ นั่นหมายความว่าท่านได้จ่ายค่าลิขสิทธิ์ในการใช้ซอฟต์แวร์นั้น สำหรับท่านเองหลังจากที่ท่านเปิดกล่องหรือบรรจุภัณฑ์แล้ว หมายถึงว่าท่านได้ยอมรับข้อตกลงเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ในการใช้สินค้านั้น ซึ่งลิขสิทธิ์ในการใช้จะแตกต่างกันไปในแต่ละสินค้าและบริษัท บางโปรแกรมคอมพิวเตอร์จะอนุญาตให้ติดตั้งได้เพียงครั้งเดียว หรือไม่อนุญาตให้ใช้กับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นๆ ท่านเป็นเจ้าของ และไม่มีผู้อื่นใช้ก็ตาม ในขณะที่บางบริษัทอนุญาตให้ใช้โปรแกรมนั้นได้หลายๆ เครื่อง ตราบใดที่ท่านยังเป็นบุคคลที่มีสิทธิในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ซื้อมา ปัจจุบันการเข้าใช้งานโปรแกรม หรือระบบคอมพิวเตอร์มักจะมีการกำหนดสิทธิตามระดับของผู้ใช้งาน ทั้งนี้ เพื่อเป็นการป้องกันการเข้าไปดำเนินการต่างๆ กับข้อมูลของผู้ใช้ที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง และเป็นการรักษาความลับของข้อมูล ตัวอย่างสิทธิในการใช้งานระบบ เช่น การบันทึก การแก้ไข/ปรับปรุง และการลบ เป็นต้น ดังนั้น ในการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์จึงได้มีการออกแบบระบบรักษาความปลอดภัยในการเข้าถึงของผู้ใช้ และการเข้าถึงข้อมูลของผู้อื่นโดยไม่ได้รับความยินยอมนั้น ก็ถือเป็นการผิดจริยธรรมเช่นเดียวกับการละเมิดข้อมูลส่วนตัวในการใช้งานคอมพิวเตอร์และเครือข่ายร่วมกันให้เป็นระเบียบ หากผู้ใช้ร่วมใจกันปฏิบัติตามระเบียบและข้อบังคับของแต่ละหน่วยงานอย่างเคร่งครัดแล้ว การผิดจริยธรรมตามประเด็นดังที่กล่าวมาข้างต้นก็คงจะไม่เกิดขึ้น

Unknown กล่าวว่า...

นายอนุพร คุณประโยชน์
สาขาภาษาไทย 55191010335

4. พรบ. คอมพิวเตอร์ 2550 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมาย ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำแนะนำและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้ “ระบบคอมพิวเตอร์” หมายความว่า อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมการทำงานเข้าด้วยกัน โดยได้มีการกำหนดคำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และแนวทางปฏิบัติงานให้อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลโดยอัตโนมัติ “ข้อมูลคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูล ข้อความ คำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใดบรรดาที่อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้ และให้หมายความรวมถึงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ด้วย “ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงถึงแหล่งกำเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลาชนิดของบริการ หรืออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์นั้น “ผู้ให้บริการ” หมายความว่า (๑) ผู้ให้บริการแก่บุคคลอื่นในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต หรือให้สามารถติดต่อถึงกันโดยประการอื่น โดยผ่านทางระบบคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการให้บริการในนามของตนเอง หรือในนามหรือเพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น (๒) ผู้ให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น “ผู้ใช้บริการ” หมายความว่า ผู้ใช้บริการของผู้ให้บริการไม่ว่าต้องเสียค่าใช้บริการหรือไม่ก็ตาม “พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจออกกฎกระทรวง เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

1.ไวรัสคอมพิวเตอร์ ที่บุกรุกเข้าไปในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยไม่ได้รับความยินยอมจากผู้ใช้ ส่วนมากมักจะมีประสงค์ร้ายและสร้างความเสียหายให้กับระบบของเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นๆในเชิงเทคโนโลยีความมั่นคงของระบบคอมพิวเตอร์นั้น ไวรัสเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สามารถทำสำเนาของตัวเอง เพื่อแพร่ออกไปโดยการสอดแทรกตัวสำเนาไปในรหัสคอมพิวเตอร์ส่วนของข้อมูลเอกสารหรือส่วนที่สามารถปฏิบัติการได้ ดังนั้นไวรัสคอมพิวเตอร์จึงมีพฤติกรรมในลักษณะเดียวกับไวรัสในทางชีววิทยา ซึ่งสามารถแพร่กระจายไปในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตในลักษณะเดียวกันนี้ คำอื่นๆ ที่ใช้กับไวรัสในทางชีววิทยายังขยายขอบข่ายของความหมายครอบคลุมถึงไวรัสในทางคอมพิวเตอร์ เช่น การติดไวรัส (infection) แฟ้มข้อมูลที่ติดไวรัสนี้จะเรียกว่า โฮสต์ (host) ไวรัสนั้นเป็นประเภทหนึ่งของโปรแกรมประเภทมัลแวร์ (malware) หรือโปรแกรมที่มีประสงค์ร้าย ในความหมายที่ใช้กันทั่วไปนั้น ไวรัสยังใช้หมายรวมถึง เวิร์ม (worm) ซึ่งก็เป็นโปรแกรมอีกรูปแบบหนึ่งของมัลแวร์ ซึ่งบางครั้งก็ทำให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์นั้นสับสนเมื่อคำไวรัสนั้นใช้ในความหมายที่เฉพาะเจาะจง คอมพิวเตอร์ไวรัสนั้นโดยทั่วไปจะไม่ส่งผลก่อให้เกิดความเสียหายต่อฮาร์ดแวร์โดยตรง แต่จะทำความเสียหายต่อซอฟต์แวร์

นางสาวจิรประภา บุญเสนอ
55191010218 สาขาภาษาไทย

Unknown กล่าวว่า...

1.ไวรัสคอมพิวเตอร์ ที่บุกรุกเข้าไปในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยไม่ได้รับความยินยอมจากผู้ใช้ ส่วนมากมักจะมีประสงค์ร้ายและสร้างความเสียหายให้กับระบบของเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นๆในเชิงเทคโนโลยีความมั่นคงของระบบคอมพิวเตอร์นั้น ไวรัสเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สามารถทำสำเนาของตัวเอง เพื่อแพร่ออกไปโดยการสอดแทรกตัวสำเนาไปในรหัสคอมพิวเตอร์ส่วนของข้อมูลเอกสารหรือส่วนที่สามารถปฏิบัติการได้ ดังนั้นไวรัสคอมพิวเตอร์จึงมีพฤติกรรมในลักษณะเดียวกับไวรัสในทางชีววิทยา ซึ่งสามารถแพร่กระจายไปในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตในลักษณะเดียวกันนี้ คำอื่นๆ ที่ใช้กับไวรัสในทางชีววิทยายังขยายขอบข่ายของความหมายคลุมถึงไวรัสในทางคอมพิวเตอร์ เช่น การติดไวรัส (infection) แฟ้มข้อมูลที่ติดไวรัสนี้จะเรียกว่า โฮสต์ (host) ไวรัสนั้นเป็นประเภทหนึ่งของโปรแกรมประเภทมัลแวร์ (malware) หรือโปรแกรมที่มีประสงค์ร้าย ในความหมายที่ใช้กันทั่วไปนั้น ไวรัสยังใช้หมายรวมถึง เวิร์ม (worm) ซึ่งก็เป็นโปรแกรมอีกรูปแบบหนึ่งของมัลแวร์ ซึ่งบางครั้งก็ทำให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์นั้นสับสนเมื่อคำไวรัสนั้นใช้ในความหมายที่เฉพาะเจาะจง คอมพิวเตอร์ไวรัสนั้นโดยทั่วไปจะไม่ส่งผลก่อให้เกิดความเสียหายต่อฮาร์ดแวร์โดยตรง แต่จะทำความเสียหายต่อซอฟต์แวร์

นางสาวจิรประภา บุญเสนอ
55191010218 สาขาภาษาไทย

Unknown กล่าวว่า...

2.การป้องกัน ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสและอัปเดตข้อมูลไวรัสอยู่เสมอ
- ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะสม
- สร้างแผ่น Emergency Disk เพื่อใช้ในการกู้ระบบ
- อัปเดตข้อมูลไวรัสของโปรแกรมทุกวัน หรือ ทุกครั้งที่โปรแกรมแจ้งเตือนให้อัปเดต
- เปิดใช้งาน auto-protect ถ้าโปรแกรมสนับสนุน
- ตรวจสอบหาไวรัสทุกครั้งก่อนเปิดไฟล์จากแผ่นหรือสื่อบันทึกข้อมูลต่าง ๆ
- ใช้โปรแกรมเพื่อทำการตรวจหาไวรัสบนเครื่องคอมพิวเตอร์อย่างน้อย 1 ครั้ง ต่อสัปดาห์

นางสาวจิรประภา บุญเสนอ
55191010218 สาขาภาษาไทย

Unknown กล่าวว่า...

3.จรรยาบรรณการใช้ ICT
จริยธรรม (Ethics) เป็นเรื่องของการกำหนดความถูกต้องดีงามสิ่งที่ไม่ควรทำมีหลักปฏิบัติในระดับที่สูงกว่ามารยาทในสังคม
บัญญัติ10 ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลก็จะเฉพาะสิทธิ์ที่ตนเองมีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงาน
1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

นางสาวจิรประภา บุญเสนอ
55191010218
สาขาภาษาไทย

Unknown กล่าวว่า...

4. พรบ. คอมพิวเตอร์ 2550 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมาย ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำแนะนำและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้ “ระบบคอมพิวเตอร์” หมายความว่า อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมการทำงานเข้าด้วยกัน โดยได้มีการกำหนดคำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และแนวทางปฏิบัติงานให้อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลโดยอัตโนมัติ “ข้อมูลคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูล ข้อความ คำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใดบรรดาที่อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้ และให้หมายความรวมถึงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ด้วย “ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงถึงแหล่งกำเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลาชนิดของบริการ หรืออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์นั้น “ผู้ให้บริการ” หมายความว่า (๑) ผู้ให้บริการแก่บุคคลอื่นในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต หรือให้สามารถติดต่อถึงกันโดยประการอื่น โดยผ่านทางระบบคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการให้บริการในนามของตนเอง หรือในนามหรือเพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น (๒) ผู้ให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น “ผู้ใช้บริการ” หมายความว่า ผู้ใช้บริการของผู้ให้บริการไม่ว่าต้องเสียค่าใช้บริการหรือไม่ก็ตาม “พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจออกกฎกระทรวง เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้

นางสาวจิรประภา บุญเสนอ
55191010218
สาขาภาษาไทย

Unknown กล่าวว่า...

3.จรรยาบรรณการใช้ ICT
จริยธรรม (Ethics) เป็นเรื่องของการกำหนดความถูกต้องดีงามสิ่งที่ไม่ควรทำมีหลักปฏิบัติในระดับที่สูงกว่ามารยาทในสังคม
บัญญัติ10 ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลก็จะเฉพาะสิทธิ์ที่ตนเองมีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงาน
1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

นางสาวจิรัฐิกานต์ ช่วงชัยชนะ
55191010219
สาขาภาษาไทย

Unknown กล่าวว่า...

1.ไวรัส คือ โปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูล ไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การที่คอมพิวเตอร์ใดติดไวรัส หมายถึงว่าไวรัสได้เข้าไปฝังตัวอยู่ในหน่วยความจำคอมพิวเตอร์เรียบร้อยแล้ว เนื่องจาก ไวรัสก็เป็นแค่โปรแกรมๆ หนึ่ง การที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ในหน่วยความจำได้นั้นจะต้องมีการถูกเรียกให้ทำงานได้นั้น ยังขึ้นอยู่กับประเภทของไวรัสแต่ละตัว ปกติผู้ใช้มักจะไม่รู้ัตัวว่าได้ทำการปลุกคอมพิวเตอร์ไวรัสขึ้นมาทำงานแ้้ล้ว จุดประสงค์ของการทำงานของไวรัสแต่ละตัวขึ้นอยู่กับตัวผู้เขียนโปรแกรมไวรัสนั้น เช่น อาจสร้างไวรัสให้ไปทำลายโปรแกรมหรือข้อมูลอื่นๆ ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือแสดงข้อความวิ่งไปมาบนหน้าจอ เป็นต้น

นางสาวจิรประภา บุญเสนอ
55191010218
สาขาภาษาไทย

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคืออะไร
ไวรัส คือโปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูลไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การที่คอมพิวเตอร์ใดติดไวรัส หมายถึงว่าไวรัสได้เข้าไปผังตัวอยู่ในหน่วยความจำ คอมพิวเตอร์ เรียบร้อยแล้ว เนื่องจากไวรัสก็เป็นแค่โปรแกรม ๆ หนึ่งการที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ ในหน่วยความจำได้นั้นจะต้องมีการถูกเรียกให้ทำงานได้นั้นยังขึ้นอยู่กับประเภทของไวรัส แต่ละตัวปกติผู้ใช้มักจะไม่รู้ตัวว่าได้ทำการปลุกคอมพิวเตอร์ไวรัสขึ้นมาทำงานแล้ว
จุดประสงค์ของการทำงานของไวรัสแต่ละตัวขึ้นอยู่กับตัวผู้เขียนโปรแกรมไวรัสนั้น เช่น อาจสร้างไวรัสให้ไปทำลายโปรแกรมหรือข้อมูลอื่น ๆ ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือ แสดงข้อความวิ่งไปมาบน หน้าจอ เป็นต้น

นายขจรศักดิ์ กงล้อม
ค.บ. ภาษาไทย
55191010207

Unknown กล่าวว่า...

2.การป้องกันไวรัส
• สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
• สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
• ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
• อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
• เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
• เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วง ๆ
• เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
• เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
• สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
• เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสขึ้นมาทำงานได้
• เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

นายขจรศักดิ์ กงล้อม
ค.บ.ภาษาไทย 55191010206

Unknown กล่าวว่า...

3.จรรยาบรรการใช้ ICT
จรรยาบรรณในการใช้คอมพิวเตอร์
จริยธรรม (Ethics) เป็นเรื่องของการกำหนดความถูกต้องดีงามสิ่งที่ไม่ควรทำมีหลักปฏิบัติในระดับที่สูงกว่ามารยาทในสังคมเช่นคนที่ไม่ยอมเข้าแถวเพื่อขอรับบริการตามสิทธิ์ก่อนหลังอาจถือว่าไม่มีมารยาทหรือพนักงานคอมพิวเตอร์คนหนึ่งเอาข้อมูลทางการเงินของลูกค้าที่เขาจะต้องเห็นตามหน้าที่การงานไปหาผลประโยชน์แก่ตนเองเช่นขายรายชื่อนั้นให้ธุรกิจอื่นหรือบอกให้แก่คู่สมรสซึ่งเป็นพนักงานขายตรงไปเสนอขายสินค้าการกระทำเช่นนี้ถือว่าไม่ถูกต้องไม่มีจริยธรรมจริงอยู่แม้ว่าบริษัทที่พนักงานผู้นั้นทำงานอยู่จะไม่เสียหายแต่การนำเอาของบริษัทไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัวก็เป็นสิ่งที่ไม่อาจทำได้อย่างเปิดเผยหรือพนักงานขายสินค้าของทางบริการหนึ่งซึ่งลาออกจากบริษัทเพื่อไปทำงานกับบริษัทคู่แข่งแล้วใช้ประโยชน์จากความรู้ ในเรื่องข้อมูลราคาหรือความลับทางการค้าของบริษัทแรกไปให้บริษัทหลังก็อาจเรียกได้ว่าพนักงานคนนั้นไม่มีจริยธรรมเมื่อสังคมสลับซับซ้อนขึ้นมีการแบ่งหน้าที่กันออกเป็นหน้าที่ต่างๆจึงมีข้อกำหนดที่เรียกว่า“จรรยาวิชาชีพ

นายขจรศักดิ์ กงล้อม
ค.บ. ภาษาไทย 55191010206

Unknown กล่าวว่า...

4. พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พ.ศ. ๒๕๕๐

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐
เป็นปีที่ ๖๒ ในรัชกาลปัจจุบัน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า

โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำแนะนำและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้

มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐”

มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้
“ระบบคอมพิวเตอร์”หมายความว่า อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมการทำงานเข้าด้วยกัน โดยได้มีการกำหนดคำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และแนวทางปฏิบัติงานให้อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลโดยอัตโนมัติ
“ข้อมูลคอมพิวเตอร์”หมายความว่า ข้อมูล ข้อความ คำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใดบรรดาที่อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้ และให้หมายความรวมถึงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ด้วย
“ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์”หมายความว่า ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงถึงแหล่งกำเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลาชนิดของบริการ หรืออื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์นั้น
“ผู้ให้บริการ”หมายความว่า
(๑) ผู้ให้บริการแก่บุคคลอื่นในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต หรือให้สามารถติดต่อถึงกันโดยประการอื่น โดยผ่านทางระบบคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการให้บริการในนามของตนเอง หรือในนามหรือเพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น
(๒) ผู้ให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น
“ผู้ใช้บริการ”หมายความว่า ผู้ใช้บริการของผู้ให้บริการไม่ว่าต้องเสียค่าใช้บริการหรือไม่ก็ตาม
“พนักงานเจ้าหน้าที่”หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
“รัฐมนตรี”หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้

Unknown กล่าวว่า...

จรรยาบรรการใช้ ICT
จรรยาบรรณในการใช้คอมพิวเตอร์
จริยธรรม (Ethics) เป็นเรื่องของการกำหนดความถูกต้องดีงามสิ่งที่ไม่ควรทำมีหลักปฏิบัติในระดับที่สูงกว่ามารยาทในสังคมเช่นคนที่ไม่ยอมเข้าแถวเพื่อขอรับบริการตามสิทธิ์ก่อนหลังอาจถือว่าไม่มีมารยาทหรือพนักงานคอมพิวเตอร์คนหนึ่งเอาข้อมูลทางการเงินของลูกค้าที่เขาจะต้องเห็นตามหน้าที่การงานไปหาผลประโยชน์แก่ตนเองเช่นขายรายชื่อนั้นให้ธุรกิจอื่นหรือบอกให้แก่คู่สมรสซึ่งเป็นพนักงานขายตรงไปเสนอขายสินค้าการกระทำเช่นนี้ถือว่าไม่ถูกต้องไม่มีจริยธรรมจริงอยู่แม้ว่าบริษัทที่พนักงานผู้นั้นทำงานอยู่จะไม่เสียหายแต่การนำเอาของบริษัทไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัวก็เป็นสิ่งที่ไม่อาจทำได้อย่างเปิดเผยหรือพนักงานขายสินค้าของทางบริการหนึ่งซึ่งลาออกจากบริษัทเพื่อไปทำงานกับบริษัทคู่แข่งแล้วใช้ประโยชน์จากความรู้ ในเรื่องข้อมูลราคาหรือความลับทางการค้าของบริษัทแรกไปให้บริษัทหลังก็อาจเรียกได้ว่าพนักงานคนนั้นไม่มีจริยธรรมเมื่อสังคมสลับซับซ้อนขึ้นมีการแบ่งหน้าที่กันออกเป็นหน้าที่ต่างๆจึงมีข้อกำหนดที่เรียกว่า“จรรยาวิชาชีพ

นายธีรศักดิ์ สุดสวาสดิ์
ค.บ. ภาษาไทย 55191010233

Unknown กล่าวว่า...

1.ไวรัสคอมพิวเตอร์ ที่บุกรุกเข้าไปในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยไม่ได้รับความยินยอมจากผู้ใช้ ส่วนมากมักจะมีประสงค์ร้ายและสร้างความเสียหายให้กับระบบของเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นๆ

2.การป้องกัน ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสและอัปเดตข้อมูลไวรัสอยู่เสมอ
- ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะสม
- สร้างแผ่น Emergency Disk เพื่อใช้ในการกู้ระบบ
- อัปเดตข้อมูลไวรัสของโปรแกรมทุกวัน หรือ ทุกครั้งที่โปรแกรมแจ้งเตือนให้อัปเดต
- เปิดใช้งาน auto-protect ถ้าโปรแกรมสนับสนุน
- ตรวจสอบหาไวรัสทุกครั้งก่อนเปิดไฟล์จากแผ่นหรือสื่อบันทึกข้อมูลต่าง ๆ
- ใช้โปรแกรมเพื่อทำการตรวจหาไวรัสบนเครื่องคอมพิวเตอร์อย่างน้อย 1 ครั้ง ต่อสัปดาห์

3.จรรยาบรรณการใช้ ICT
1. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายหรือละเมิดผู้อื่น
2. ต้องไม่รบกวนการทำงานของผู้อื่น
3. ต้องไม่สอดแนมหรือแก้ไขเปิดดูในแฟ้มของผู้อื่น
4. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร
5. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ
6. ต้องไม่คัดลอกโปรแกรมผู้อื่นที่มีลิขสิทธิ์

4.พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พ.ร.บ.ฉบับนี้ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 18 มิ.ย 2550 และมีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 18 ก.ค. 2550 ป็นต้นไป
ความผิดที่เข้าข่ายตาม พ.ร.บ ฉบับนี้
- การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ
- การเปิดเผยข้อมูลมาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะ
- การดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลโดยมิชอบ
- การกระทำเพื่อใหการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
- การส่งข้อมูลรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การจำหน่ายชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นเพื่อนำไปเป็นเครื่องมือในการกระทำผิด
- การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ทำความผิดอื่น
- การตกแต่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นภาพของบุคคล

นางสาว พิณทิพย์ หวังสำราญ 55128040219 รปศ หมู่ 02

Unknown กล่าวว่า...

1.ไวรัสคอมพิวเตอร
ไวรัสคอมพิวเตอร์ ที่บุกรุกเข้าไปในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยไม่ได้รับความยินยอมจากผู้ใช้ ส่วนมากมักจะมีประสงค์ร้ายและสร้างความเสียหายให้กับระบบของเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นๆ
ในเชิงเทคโนโลยีความมั่นคงของระบบคอมพิวเตอร์นั้น ไวรัสเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สามารถทำสำเนาของตัวเอง เพื่อแพร่ออกไปโดยการสอดแทรกตัวสำเนาไปในรหัสคอมพิวเตอร์ส่วนของข้อมูลเอกสารหรือส่วนที่สามารถปฏิบัติการได้ ดังนั้นไวรัสคอมพิวเตอร์จึงมีพฤติกรรมในลักษณะเดียวกับไวรัสในทางชีววิทยา ซึ่งสามารถแพร่กระจายไปในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตในลักษณะเดียวกันนี้ คำอื่นๆ ที่ใช้กับไวรัสในทางชีววิทยายังขยายขอบข่ายของความหมายครอบคลุมถึงไวรัสในทางคอมพิวเตอร์ เช่น การติดไวรัส (infection) แฟ้มข้อมูลที่ติดไวรัสนี้จะเรียกว่า โฮสต์ (host) ไวรัสนั้นเป็นประเภทหนึ่งของโปรแกรมประเภทมัลแวร์ (malware) หรือโปรแกรมที่มีประสงค์ร้าย ในความหมายที่ใช้กันทั่วไปนั้น ไวรัสยังใช้หมายรวมถึง เวิร์ม (worm) ซึ่งก็เป็นโปรแกรมอีกรูปแบบหนึ่งของมัลแวร์ ซึ่งบางครั้งก็ทำให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์นั้นสับสนเมื่อคำไวรัสนั้นใช้ในความหมายที่เฉพาะเจาะจง คอมพิวเตอร์ไวรัสนั้นโดยทั่วไปจะไม่ส่งผลก่อให้เกิดความเสียหายต่อฮาร์ดแวร์โดยตรง แต่จะทำความเสียหายต่อซอฟต์แวร์

2.การป้องกัน
ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสและอัปเดตข้อมูลไวรัสอยู่เสมอ
- ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะสม
- สร้างแผ่น Emergency Disk เพื่อใช้ในการกู้ระบบ
- อัปเดตข้อมูลไวรัสของโปรแกรมทุกวัน หรือ ทุกครั้งที่โปรแกรมแจ้งเตือนให้อัปเดต
- เปิดใช้งาน auto-protect ถ้าโปรแกรมสนับสนุน
- ตรวจสอบหาไวรัสทุกครั้งก่อนเปิดไฟล์จากแผ่นหรือสื่อบันทึกข้อมูลต่าง ๆ
- ใช้โปรแกรมเพื่อทำการตรวจหาไวรัสบนเครื่องคอมพิวเตอร์อย่างน้อย 1 ครั้ง ต่อสัปดาห์

3.จรรยาบรรณการใช้ict
จรรยาบรรณในการใช้คอมพิวเตอร์
จริยธรรม (Ethics) เป็นเรื่องของการกำหนดความถูกต้องดีงามสิ่งที่ไม่ควรทำมีหลักปฏิบัติในระดับที่สูงกว่ามารยาทในสังคมเช่นคนที่ไม่ยอมเข้าแถวเพื่อขอรับบริการตามสิทธิ์ก่อนหลังอาจถือว่าไม่มีมารยาทหรือพนักงานคอมพิวเตอร์คนหนึ่งเอาข้อมูลทางการเงินของลูกค้าที่เขาจะต้องเห็นตามหน้าที่การงานไปหาผลประโยชน์แก่ตนเองเช่นขายรายชื่อนั้นให้ธุรกิจอื่นหรือบอกให้แก่คู่สมรสซึ่งเป็นพนักงานขายตรงไปเสนอขายสินค้าการกระทำเช่นนี้ถือว่าไม่ถูกต้องไม่มีจริยธรรมจริงอยู่แม้ว่าบริษัทที่พนักงานผู้นั้นทำงานอยู่จะไม่เสียหายแต่การนำเอาของบริษัทไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัวก็เป็นสิ่งที่ไม่อาจทำได้อย่างเปิดเผยหรือพนักงานขายสินค้าของทางบริการหนึ่งซึ่งลาออกจากบริษัทเพื่อไปทำงานกับบริษัทคู่แข่งแล้วใช้ประโยชน์จากความรู้ ในเรื่องข้อมูลราคาหรือความลับทางการค้าของบริษัทแรกไปให้บริษัทหลังก็อาจเรียกได้ว่าพนักงานคนนั้นไม่มีจริยธรรมเมื่อสังคมสลับซับซ้อนขึ้นมีการแบ่งหน้าที่กันออกเป็นหน้าที่ต่างๆจึงมีข้อกำหนดที่เรียกว่า“จรรยาวิชาชีพ

4.พรบ.ว่าการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พ.ศ. ๒๕๕๐
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐
เป็นปีที่ ๖๒ ในรัชกาลปัจจุบัน
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พ.ร.บ.ฉบับนี้ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 18 มิ.ย 2550 และมีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 18 ก.ค. 2550 ป็นต้นไป
ความผิดที่เข้าข่ายตาม พ.ร.บ ฉบับนี้
- การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ
- การเปิดเผยข้อมูลมาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะ
- การดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลโดยมิชอบ
- การกระทำเพื่อใหการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
- การส่งข้อมูลรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การจำหน่ายชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นเพื่อนำไปเป็นเครื่องมือในการกระทำผิด
- การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ทำความผิดอื่น
- การตกแต่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นภาพของบุคคล


นางสาว ราตรี หวังสำราญ 55128040239 การปกครองท้องถิ่นหมู่2

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัส คือโปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูลไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน

Unknown กล่าวว่า...

.การป้องกัน ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสและอัปเดตข้อมูลไวรัสอยู่เสมอ
- ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะสม
- สร้างแผ่น Emergency Disk เพื่อใช้ในการกู้ระบบ
- อัปเดตข้อมูลไวรัสของโปรแกรมทุกวัน หรือ ทุกครั้งที่โปรแกรมแจ้งเตือนให้อัปเดต
- เปิดใช้งาน auto-protect ถ้าโปรแกรมสนับสนุน
- ตรวจสอบหาไวรัสทุกครั้งก่อนเปิดไฟล์จากแผ่นหรือสื่อบันทึกข้อมูลต่าง ๆ
- ใช้โปรแกรมเพื่อทำการตรวจหาไวรัสบนเครื่องคอมพิวเตอร์อย่างน้อย 1 ครั้ง ต่อสัปดาห์

Unknown กล่าวว่า...

จรรยาบรรณการใช้ ICT
จริยธรรม (Ethics) เป็นเรื่องของการกำหนดความถูกต้องดีงามสิ่งที่ไม่ควรทำมีหลักปฏิบัติในระดับที่สูงกว่ามารยาทในสังคม
บัญญัติ10 ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลก็จะเฉพาะสิทธิ์ที่ตนเองมีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงาน
1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

Unknown กล่าวว่า...

พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
1. ฐานความผิดที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ (มาตรา 5-16)
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ (มาตรา 5)
การล่วงรู้ถึงมาตรการป้องกันการเข้าถึง (มาตรา 6)
การเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ (มาตรา 7)
การดักข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ (มาตรา 8)
การรบกวนข้อมูลคอมพิวเตอร์ (มาตรา 9)
การรบกวนระบบคอมพิวเตอร์ (มาตรา 10)
การส่งสแปมเมล์ Spam Mail (มาตรา 11)
การกระทำความผิดต่อความมั่นคง (มาตรา 12)
การจำหน่าย / เผยแพร่ชุดคำสั่ง เพื่อใช้กระทำความผิด (มาตรา 13)
การปลอมแปลงข้อมูลคอมพิวเตอร์ / เผยแพร่เนื้อหาอันไม่เหมาะสม (มาตรา 14)
ความรับผิดของผู้ให้บริการ (มาตรา 15)
การเผยแพร่ภาพจากการตัดต่อ / ดัดแปลง (มาตรา 16)
2. เขต (ประเทศ) อำนาจของศาลในการพิจารณาคดี (มาตรา 17)
3. อำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายใหม่ (มาตรา 18-21)
อำนาจของเจ้าพนักงานโดยเด็ดขาด
(1) มีหนังสือสอบถาม / ให้ส่งคำชี้แจง ให้ถ้อยคำ
(2) เรียกข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์
(3) สั่งให้ส่งมอบข้อมูลผู้ใช้บริการตามมาตรา 26
อำนาจของเจ้าพนักงานที่ต้องขออำนาจศาล
(4) ทำสำเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์
(5) สั่งให้บุคคลส่งมอบข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ที่ใช้จัดเก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์
(6) ตรวจสอบหรือเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูลคอมพิวเตอร์
(7) ถอดรหัสลับของข้อมูลคอมพิวเตอร์
(8) ยึดหรืออายัดระบบคอมพิวเตอร์
4. อำนาจของ รมต.ไอซีที ระงับการทำให้เผยแพร่.. (มาตรา 20)
5. บทกำหนดโทษสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ หากเปิดเผย หรือประมาท (มาตรา 22-24)
6. ข้อมูลที่ใช้เป็นพยายานหลักฐาน ต้องไม่เกิดจากการจูงใจ หรือข่มขู่ (มาตรา 25)
7. การจัดเก็บข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการ (มาตรา 26)
8. ข้อกำหนดให้ปฎิบัติตามพ.ร.บ.นี้ (มาตรา 27 - 30)



นางสาวจุฑารัตน์ รัตนวัน คหกรรมศาสตร์ 55191600114หมู่1

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ ที่บุกรุกเข้าไปในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยไม่ได้รับความยินยอมจากผู้ใช้ ส่วนมากมักจะมีประสงค์ร้ายและสร้างความเสียหายให้กับระบบของเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นๆ
ในเชิงเทคโนโลยีความมั่นคงของระบบคอมพิวเตอร์นั้น ไวรัสเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สามารถทำสำเนาของตัวเอง เพื่อแพร่ออกไปโดยการสอดแทรกตัวสำเนาไปในรหัสคอมพิวเตอร์ส่วนของข้อมูลเอกสารหรือส่วนที่สามารถปฏิบัติการได้ ดังนั้นไวรัสคอมพิวเตอร์จึงมีพฤติกรรมในลักษณะเดียวกับไวรัสในทางชีววิทยา ซึ่งสามารถแพร่กระจายไปในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตในลักษณะเดียวกันนี้ คำอื่นๆ ที่ใช้กับไวรัสในทางชีววิทยายังขยายขอบข่ายของความหมายครอบคลุมถึงไวรัสในทางคอมพิวเตอร์ เช่น การติดไวรัส (infection) แฟ้มข้อมูลที่ติดไวรัสนี้จะเรียกว่า โฮสต์ (host) ไวรัสนั้นเป็นประเภทหนึ่งของโปรแกรมประเภทมัลแวร์ (malware) หรือโปรแกรมที่มีประสงค์ร้าย ในความหมายที่ใช้กันทั่วไปนั้น ไวรัสยังใช้หมายรวมถึง เวิร์ม (worm) ซึ่งก็เป็นโปรแกรมอีกรูปแบบหนึ่งของมัลแวร์ ซึ่งบางครั้งก็ทำให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์นั้นสับสนเมื่อคำไวรัสนั้นใช้ในความหมายที่เฉพาะเจาะจง คอมพิวเตอร์ไวรัสนั้นโดยทั่วไปจะไม่ส่งผลก่อให้เกิดความเสียหายต่อฮาร์ดแวร์โดยตรง แต่จะทำความเสียหายต่อซอฟต์แวร์

Unknown กล่าวว่า...

การป้องกันไวรัส
• สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
• สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
• ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
• อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
• เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
• เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วง ๆ
• เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
• เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
• สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
• เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสขึ้นมาทำงานได้
• เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

Unknown กล่าวว่า...

จรรยาบรรการใช้ ICT
จรรยาบรรณในการใช้คอมพิวเตอร์
จริยธรรม (Ethics) เป็นเรื่องของการกำหนดความถูกต้องดีงามสิ่งที่ไม่ควรทำมีหลักปฏิบัติในระดับที่สูงกว่ามารยาทในสังคมเช่นคนที่ไม่ยอมเข้าแถวเพื่อขอรับบริการตามสิทธิ์ก่อนหลังอาจถือว่าไม่มีมารยาทหรือพนักงานคอมพิวเตอร์คนหนึ่งเอาข้อมูลทางการเงินของลูกค้าที่เขาจะต้องเห็นตามหน้าที่การงานไปหาผลประโยชน์แก่ตนเองเช่นขายรายชื่อนั้นให้ธุรกิจอื่นหรือบอกให้แก่คู่สมรสซึ่งเป็นพนักงานขายตรงไปเสนอขายสินค้าการกระทำเช่นนี้ถือว่าไม่ถูกต้องไม่มีจริยธรรมจริงอยู่แม้ว่าบริษัทที่พนักงานผู้นั้นทำงานอยู่จะไม่เสียหายแต่การนำเอาของบริษัทไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัวก็เป็นสิ่งที่ไม่อาจทำได้อย่างเปิดเผยหรือพนักงานขายสินค้าของทางบริการหนึ่งซึ่งลาออกจากบริษัทเพื่อไปทำงานกับบริษัทคู่แข่งแล้วใช้ประโยชน์จากความรู้ ในเรื่องข้อมูลราคาหรือความลับทางการค้าของบริษัทแรกไปให้บริษัทหลังก็อาจเรียกได้ว่าพนักงานคนนั้นไม่มีจริยธรรมเมื่อสังคมสลับซับซ้อนขึ้นมีการแบ่งหน้าที่กันออกเป็นหน้าที่ต่างๆจึงมีข้อกำหนดที่เรียกว่า“จรรยาวิชาชีพ

Unknown กล่าวว่า...

พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐<<<
มีดังต่อไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้ “ระบบคอมพิวเตอร์” หมายความว่า อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมการทำงานเข้าด้วยกัน โดยได้มีการกำหนดคำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และแนวทางปฏิบัติงานให้อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลโดยอัตโนมัติ
“ข้อมูลคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูล ข้อความ คำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใดบรรดาที่อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้ และให้หมายความรวมถึงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ด้วย
“ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงถึงแหล่งกำเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลาชนิดของบริการ หรืออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์นั้น
“ผู้ให้บริการ” หมายความว่า
(๑) ผู้ให้บริการแก่บุคคลอื่นในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต หรือให้สามารถติดต่อถึงกันโดยประการอื่น โดยผ่านทางระบบคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการให้บริการในนามของตนเอง หรือในนามหรือเพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น
(๒) ผู้ให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น
“ผู้ใช้บริการ” หมายความว่า ผู้ใช้บริการของผู้ให้บริการไม่ว่าต้องเสียค่าใช้บริการหรือไม่ก็ตาม
“พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
“รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจออกกฎกระทรวง เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
หมวด ๑
ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
มาตรา ๕ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้น มิได้มีไว้สำหรับตน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๖ ผู้ใดล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะถ้านำมาตรการดังกล่าวไปเปิดเผยโดยมิชอบ ในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๗ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้สำหรับตน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๘ ผู้ใดกระทำด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นมิได้มีไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคลทั่วไปใช้ประโยชน์ได้ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๙ ผู้ใดทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๑๐ ผู้ใดกระทำด้วยประการใดโดยมิชอบ เพื่อให้การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทำงานตามปกติได้ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

นางสาวบังอร เสาทอง คหกรรมศาสตร์ หมู่ 155191600136

Unknown กล่าวว่า...

1. ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัส คือ โปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูล ไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การที่คอมพิวเตอร์ใดติดไวรัส หมายถึงว่าไวรัสได้เข้าไปฝังตัวอยู่ในหน่วยความจำคอมพิวเตอร์เรียบร้อยแล้ว เนื่องจากไวรัสก็เป็นแค่โปรแกรมๆ หนึ่ง การที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ในหน่วยความจำได้นั้นจะต้องมีการถูกเรียกให้ทำงานได้นั้น ยังขึ้นอยู่กับประเภทของไวรัสแต่ละตัว ปกติผู้ใช้มักจะไม่รู้ัตัวว่าได้ทำการปลุกคอมพิวเตอร์ไวรัสขึ้นมาทำงานแ้้ล้ว
จุดประสงค์ของการทำงานของไวรัสแต่ละตัวขึ้นอยู่กับตัวผู้เขียนโปรแกรมไวรัสนั้น เช่น อาจสร้างไวรัสให้ไปทำลายโปรแกรมหรือข้อมูลอื่นๆ ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือแสดงข้อความวิ่งไปมาบนหน้าจอ เป็นต้น

Unknown กล่าวว่า...

1.ไวรัสคอมพิวเตอร์ ที่บุกรุกเข้าไปในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยไม่ได้รับความยินยอมจากผู้ใช้ ส่วนมากมักจะมีประสงค์ร้ายและสร้างความเสียหายให้กับระบบของเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นๆ
ในเชิงเทคโนโลยีความมั่นคงของระบบคอมพิวเตอร์นั้น ไวรัสเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สามารถทำสำเนาของตัวเอง เพื่อแพร่ออกไปโดยการสอดแทรกตัวสำเนาไปในรหัสคอมพิวเตอร์ส่วนของข้อมูลเอกสารหรือส่วนที่สามารถปฏิบัติการได้ ดังนั้นไวรัสคอมพิวเตอร์จึงมีพฤติกรรมในลักษณะเดียวกับไวรัสในทางชีววิทยา ซึ่งสามารถแพร่กระจายไปในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตในลักษณะเดียวกันนี้ คำอื่นๆ ที่ใช้กับไวรัสในทางชีววิทยายังขยายขอบข่ายของความหมายครอบคลุมถึงไวรัสในทางคอมพิวเตอร์ เช่น การติดไวรัส (infection) แฟ้มข้อมูลที่ติดไวรัสนี้จะเรียกว่า โฮสต์ (host) ไวรัสนั้นเป็นประเภทหนึ่งของโปรแกรมประเภทมัลแวร์ (malware) หรือโปรแกรมที่มีประสงค์ร้าย ในความหมายที่ใช้กันทั่วไปนั้น ไวรัสยังใช้หมายรวมถึง เวิร์ม (worm) ซึ่งก็เป็นโปรแกรมอีกรูปแบบหนึ่งของมัลแวร์ ซึ่งบางครั้งก็ทำให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์นั้นสับสนเมื่อคำไวรัสนั้นใช้ในความหมายที่เฉพาะเจาะจง คอมพิวเตอร์ไวรัสนั้นโดยทั่วไปจะไม่ส่งผลก่อให้เกิดความเสียหายต่อฮาร์ดแวร์โดยตรง แต่จะทำความเสียหายต่อซอฟต์แวร์
2.การป้องกัน ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสและอัปเดตข้อมูลไวรัสอยู่เสมอ
- ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะสม
- สร้างแผ่น Emergency Disk เพื่อใช้ในการกู้ระบบ
- อัปเดตข้อมูลไวรัสของโปรแกรมทุกวัน หรือ ทุกครั้งที่โปรแกรมแจ้งเตือนให้อัปเดต
- เปิดใช้งาน auto-protect ถ้าโปรแกรมสนับสนุน
- ตรวจสอบหาไวรัสทุกครั้งก่อนเปิดไฟล์จากแผ่นหรือสื่อบันทึกข้อมูลต่าง ๆ
- ใช้โปรแกรมเพื่อทำการตรวจหาไวรัสบนเครื่องคอมพิวเตอร์อย่างน้อย 1 ครั้ง ต่อสัปดาห์
3.จรรยาบรรการใช้ ICT
จรรยาบรรณในการใช้คอมพิวเตอร์
จริยธรรม (Ethics) เป็นเรื่องของการกำหนดความถูกต้องดีงามสิ่งที่ไม่ควรทำมีหลักปฏิบัติในระดับที่สูงกว่ามารยาทในสังคมเช่นคนที่ไม่ยอมเข้าแถวเพื่อขอรับบริการตามสิทธิ์ก่อนหลังอาจถือว่าไม่มีมารยาทหรือพนักงานคอมพิวเตอร์คนหนึ่งเอาข้อมูลทางการเงินของลูกค้าที่เขาจะต้องเห็นตามหน้าที่การงานไปหาผลประโยชน์แก่ตนเองเช่นขายรายชื่อนั้นให้ธุรกิจอื่นหรือบอกให้แก่คู่สมรสซึ่งเป็นพนักงานขายตรงไปเสนอขายสินค้าการกระทำเช่นนี้ถือว่าไม่ถูกต้องไม่มีจริยธรรมจริงอยู่แม้ว่าบริษัทที่พนักงานผู้นั้นทำงานอยู่จะไม่เสียหายแต่การนำเอาของบริษัทไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัวก็เป็นสิ่งที่ไม่อาจทำได้อย่างเปิดเผยหรือพนักงานขายสินค้าของทางบริการหนึ่งซึ่งลาออกจากบริษัทเพื่อไปทำงานกับบริษัทคู่แข่งแล้วใช้ประโยชน์จากความรู้ ในเรื่องข้อมูลราคาหรือความลับทางการค้าของบริษัทแรกไปให้บริษัทหลังก็อาจเรียกได้ว่าพนักงานคนนั้นไม่มีจริยธรรมเมื่อสังคมสลับซับซ้อนขึ้นมีการแบ่งหน้าที่กันออกเป็นหน้าที่ต่างๆจึงมีข้อกำหนดที่เรียกว่า“จรรยาวิชาชีพ

นางสาวสมฤดี สมคิด 56191960235
ค.บ.วิทยาศาสตร์ 5/1

Unknown กล่าวว่า...

2.การป้องกัน
-ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัส
-ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะกับตัวเอง
-ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสให้เป็น
-อัพเดตฐานข้อมูลไวรัส (Definition) อยู่เสมอ
-เปลี่ยนเวอร์ชันใหม่ทันทีที่มีโอกาส
-อย่ารับไฟล์แปลกหน้า และติดตามข่าวสารอยู่เสมอ
-ติดไวรัสแล้วอย่า

นางสาวปัทมา น่าชม ค.บ.ภาษาไทย 5/2 55191010237

Unknown กล่าวว่า...

3. จรรยาบรรณการใช้ ICT
จริยธรรม (Ethics) เป็นเรื่องของการกำหนดความถูกต้องดีงามสิ่งที่ไม่ควรทำมีหลักปฏิบัติในระดับที่สูงกว่ามารยาทในสังคม
บัญญัติ10 ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลก็จะเฉพาะสิทธิ์ที่ตนเองมีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงาน
1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

Unknown กล่าวว่า...

4. พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

พ.ร.บ.ฉบับนี้ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 18 มิ.ย 2550 และมีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 18 ก.ค. 2550 ป็นต้นไป
ความผิดที่เข้าข่ายตาม พ.ร.บ ฉบับนี้
- การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ
- การเปิดเผยข้อมูลมาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะ
- การดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลโดยมิชอบ
- การกระทำเพื่อใหการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
- การส่งข้อมูลรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การจำหน่ายชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นเพื่อนำไปเป็นเครื่องมือในการกระทำผิด
- การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ทำความผิดอื่น
- การตกแต่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นภาพของบุคคล

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ (Computer Virus) คือ โปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาแผ่นดิสก์หรือแฟลชไดร์ฟที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้กับอีกเครื่องหนึ่ง การที่คอมพิวเตอร์ใดติดไวรัส หมายความว่าไวรัสได้เข้าไปผังตัวอยู่ในหน่วยความจำคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นเรียบร้อยแล้ว การที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ในหน่วยความจำได้นั้นจะต้องมีการถูกเรียกใช้ให้ทำงาน ซึ่งโดยปกติแล้วผู้ใช้มักจะไม่รู้ตัวเลยว่า ขณะที่ตนเรียกใช้โปรแกรมหรือเปิดไฟล์ใดๆขึ้นมาทำงาน ก็ได้เรียกไวรัสขึ้นมาทำงานด้วย จุดประสงค์การทำงานของไวรัสแต่ละตัวขึ้นอยู่กับผู้เขียนโปรแกรมไวรัสนั้น เช่น อาจสร้างไวรัสให้ไปทำลายโปรแกรมหรือข้อมูลอื่นๆ ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือแสดงข้อความวิ่งไปมาบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
ประเภทของไวรัสคอมพิวเตอร์
1.บูตเซกเตอร์ไวรัส(boot sector virus) คือไวรัสคอมพิวเตอร์ที่แพร่เข้าสู่เป้าหมายในระหว่างเริ่มทำการบูตเครื่อง ส่วนมาก มันจะติดต่อเข้าสู่แผ่นฟลอปปี้ดิสก์ระหว่างกำลังสั่งปิดเครื่อง เมื่อนำแผ่นที่ติดไวรัสนี้ไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ ไวรัสก็จะเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ตอนเริ่มทำงานทันที
2.บูตไวรัสจะติดต่อเข้าไปอยู่ส่วนหัวสุดของฮาร์ดดิสก์ ที่มาสเตอร์บูตเรคคอร์ด (master boot record) และก็จะโหลดตัวเองเข้าไปสู่หน่วยความจำก่อนที่ระบบปฏิบัติการจะเริ่มทำงาน ทำให้เหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น
3.ไฟล์ไวรัส (file virus) ใช้เรียกไวรัสที่มีการแทรกตามไฟล์ที่นำมาให้บันทึกสู่คอมพิวเตอร์ของผู้ใช้
4.หนอน (Worm) เป็นรูปแบบหนึ่งของไวรัส มีความสามารถในการทำลายระบบในเครื่องคอมพิวเตอร์สูงที่สุดในบรรดาไวรัสทั้ง หมด สามารถกระจายตัวได้รวดเร็ว ผ่านทางระบบอินเทอร์เน็ต ซึ่งสาเหตุที่เรียกว่าหนอนนั้น คงจะเป็นลักษณะของการกระจายและทำลาย ที่คล้ายกับหนอนกินผลไม้ ที่สามารถกระจายตัวได้มากมาย รวดเร็ว และเมื่อยิ่งเพิ่มจำนวนมากขึ้น ระดับการทำลายล้างยิ่งเพิ่มมากขึ้น ไวรัสที่ไม่สามารถสแกนได้ วิธีการป้องกัน ไวรัสคอมพิวเตอร์
1.ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสและอัปเดตข้อมูลไวรัสอยู่เสมอ
2.ติดตั้งโปรแกรมอุดช่องโหว่(patch) โดยการอัปเดตซอฟต์แวร์และโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ ให้ใหม่อยู่เสมอ
3.ปรับแต่งให้ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานปลอดภัยสูงที่สุด
4.ระวังภัยจากการเปิดไฟล์จากสื่อบันทึกข้อมูล(Media) ต่าง ๆ
5.ตระหนักถึงความเสี่ยงของไฟล์ที่ดาวน์โหลด หรือได้รับจากทางอินเตอร์เน็ต

นางสาวนุสรา วันดี 55128040203 หมู่2 รปศ.(การปกครองท้องถิ่น)

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต
การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
ต้องให้ความร่วมมือจากทุกๆฝ่าย ไม่ว่าจะจากทางภาครัฐ ภาคเอกชน ตัวบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีสื่อสารและ ผู้ปกครองจะต้องดูแลบุตรหลานตัวเองในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่อยู่ในยุคไร้พรมแดนนี้ การสร้างจิตสำนึกต่อตนเองให้กับเด็กเยาวชนตั้งแต่ยังเล็กๆ และให้เด็กรู้ถึงโทษ ถึงปัญหา ให้เด็กรู้จักเลือกใช้โปรแกรมในทางที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ก็น่าจะเป็นทางป้องกันที่ดีต่อปัญหาเหล่านี้ได้ ทั้งนี้เพราะโปรแกรมประเภทนี้ ไม่ว่าจะเป็น Camfrog , MSN , ICQ , Yahoo ล้วนแต่เป็นโปรแกรมการสื่อสาร ที่มีทั้งคุณและโทษในการใช้ ข้อดีของโปรแกรมเหล่านี้ก็คือจะช่วยสร้างให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารมากขึ้น สามารถสื่อสารได้ทั้งทางสายตา เสียงพูด และมองเห็นหน้ากันได้ ส่วนข้อเสียส่วนใหญ่แล้วมักจะเกิดจากการใช้งานไปในทางที่ไม่ถูกไม่ควร ซึ่งตรงนี้ก็อยู่ที่ตัวของบุคคลแต่ละบุคคลในการที่จะเลือกทำเลือกใช้และเลือกที่จะนำสิ่งนั้นมาก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองค่ะ

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นางสาวพีรยา เพ็งน้ำคำ คบ.ฟิสิกส์ หมู่1
รหัส 56191430107

Unknown กล่าวว่า...

1. ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือโปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูลไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน

2. การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
มีเทคนิคอยู่มากมายหลายวิธี ดังนี้
-ทุกครั้งที่นำซอฟแวร์ที่ไม่ทราบแหล่งที่ผลิต หรือได้รับแจกฟรี ต้องตรวจสอบให้แน่ใจก่อนนำไปใช้
-ควรตรวจสอบทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์อย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง
- เตรียมแผ่นที่สะอาดไว้สำหรับบูตเครื่องเมื่อคราวจำเป็น
- ควรสำรองข้อมูลไว้เสมอ
- พยายามสังเกตุสิ่งผิดปกติที่เกิดขึ้นกับเครื่องอย่างสม่ำเสมอ เช่น การทำงานที่ช้าลง ขนาดไฟล์ หน้าจอแสดงผลแปลก ๆ ไดรฟ์มีเสียงผิดปกติ
-ไม่นำแผ่นดิสก์ไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ถ้ายังไม่ได้ปิดแถบป้องกันการบันทึก (Write Protect )
- ควรแยกแผ่นโปรแกรม และแผ่นข้อมูลออกจากกันโดยเด็ดขาด
-ไม่อนุญาตให้คนอื่นมาเล่นเครื่องคอมพิวเตอร์ของท่าน โดยปราศจากการควบคุมอย่างใกล้ชิด
-ควรมีโปรแกรมป้องกันไวรัสไว้ใช้ตรวจสอบและป้องกัน โดยเฉพาะโปรแกรมป้องกันไวรัสรุ่นใหม่ ๆ จะมีประสิทธิภาพในการป้องกันได้ดีขึ้นมาก ในที่นี้จะขอแนะนำโปรแกรม SCAN ของบริษัท McAfee Associates รุ่น V.2.5.1 หรือ Norton Antivirus

3. จริยธรรมในการใช้ ICT
1. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้าย หรือละเมิดผู้อื่น
2. ต้องไม่รบกวนการทำงานของผู้อื่น
3. ต้องไม่สอดแนม แก้ไข หรือเปิดดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร
5. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ
6. ต้องไม่คัดลอกโปรแกรมของผู้อื่นที่มีลิขสิทธิ์
7. ต้องไม่ละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีสิทธิ์
8. ต้องไม่นำเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. ต้องคำนึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคมอันติดตามมาจากการกระทำของท่าน
10. ต้องใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบียบ กติกา และมีมารยาท


4. พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถ เข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้า สิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นางสาวพรนิภา โกทา
สาขา วิทยาศาสตร์ คบ.5/1
รหัสนักศึกษา 56191960108

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ
ไวรัส คือ โปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูล ไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
7 ขั้นตอนในการช่วยป้องกันคุณไม่ให้ติดไวรัสคอมพิวเตอร์
1. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัส
2. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะกับตัวเอง
3. ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสให้เป็น
4. อัพเดตฐานข้อมูลไวรัส (Definition) อยู่เสมอ
5. เปลี่ยนเวอร์ชันใหม่ทันทีที่มีโอกาส
6. อย่ารับไฟล์แปลกหน้า และติดตามข่าวสารอยู่เสมอ
7. ติดไวรัสแล้วอย่ากลัว
จรรยาบรรณการใช้ ICT
จริยธรรม (Ethics) เป็นเรื่องของการกำหนดความถูกต้องดีงามสิ่งที่ไม่ควรทำมีหลักปฏิบัติในระดับที่สูงกว่ามารยาทในสังคม
บัญญัติ10 ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลก็จะเฉพาะสิทธิ์ที่ตนเองมีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงาน
1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติ
ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พ.ศ. ๒๕๕๐
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐
เป็นปีที่ ๖๒ ในรัชกาลปัจจุบัน
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พ.ร.บ.ฉบับนี้ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 18 มิ.ย 2550 และมีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 18 ก.ค. 2550 ป็นต้นไป
ความผิดที่เข้าข่ายตาม พ.ร.บ ฉบับนี้
- การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ
- การเปิดเผยข้อมูลมาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะ
- การดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลโดยมิชอบ
- การกระทำเพื่อใหการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
- การส่งข้อมูลรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การจำหน่ายชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นเพื่อนำไปเป็นเครื่องมือในการกระทำผิด
- การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ทำความผิดอื่น
- การตกแต่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นภาพของบุคคล


นางสาวรพีพร โพธิ์ทอง รปศ.หมู่2 (55128040232)

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ
ไวรัส คือ โปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูล ไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
7 ขั้นตอนในการช่วยป้องกันคุณไม่ให้ติดไวรัสคอมพิวเตอร์
1. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัส
2. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะกับตัวเอง
3. ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสให้เป็น
4. อัพเดตฐานข้อมูลไวรัส (Definition) อยู่เสมอ
5. เปลี่ยนเวอร์ชันใหม่ทันทีที่มีโอกาส
6. อย่ารับไฟล์แปลกหน้า และติดตามข่าวสารอยู่เสมอ
7. ติดไวรัสแล้วอย่ากลัว
จรรยาบรรณการใช้ ICT
จริยธรรม (Ethics) เป็นเรื่องของการกำหนดความถูกต้องดีงามสิ่งที่ไม่ควรทำมีหลักปฏิบัติในระดับที่สูงกว่ามารยาทในสังคม
บัญญัติ10 ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลก็จะเฉพาะสิทธิ์ที่ตนเองมีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงาน
1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติ
ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

นางสาวราตรี หวังสำราญ 55128040239 การปกครองท้องถิ่นหมู่2

เจตริน ศรีสรรงาม กล่าวว่า...

1.ไวรัสคอมพิวเตอร์ เป็นโปรแกรมพิเศษชนิดหนึ่งที่เขียนขึ้นมาเพื่อให้จัดการกับตัวมันเอง โดยมีลักษณะเลียบแบบสิ่งมีชีวิต คือ เจริญเติบโตเองได้ ขยายและแพร่กระจายเองได้ สามารถอยู่รอดได้ โปรแกรมนี้เข้าไปอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ โดยผ่านทาง แผ่นฟลอปปีดิสก์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
2.1 ทุกครั้งที่นำซอฟแวร์ที่ไม่ทราบแหล่งที่ผลิต หรือได้รับแจกฟรี ต้องตรวจสอบให้แน่ใจก่อนนำไปใช้
2.2ควรตรวจสอบทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์อย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง
2.3เตรียมแผ่นที่สะอาดไว้สำหรับบูตเครื่องเมื่อคราวจำเป็น
ควรสำรองข้อมูลไว้เสมอ
2.4พยายามสังเกตุสิ่งผิดปกติที่เกิดขึ้นกับเครื่องอย่างสม่ำเสมอ เช่น การทำงานที่ช้าลง ขนาดไฟล์ หน้าจอแสดงผลแปลก ๆ ไดรฟ์มีเสียงผิดปกติ
2.5ไม่นำแผ่นดิสก์ไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ถ้ายังไม่ได้ปิดแถบป้องกันการบันทึก
3.จรรยาบรรณการใช้ ICT
จรรยาบรรณเป็นสิ่งที่ทำให้สังคมอินเทอร์เน็ตเป็นระเบียบความรับผิดชอบต่อสังคมเป็นเรื่องที่จะต้องปลูกฝังกฎเกณฑ์ของแต่ละเครือข่ายจึงต้องมีการวางระเบียบเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีระบบและเอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกัน บางเครือข่ายมีบทลงโทษและจรรยาบรรณที่ชัดเจน เพื่อช่วยให้สังคมสงบสุขและหากการละเมิดรุนแรงกฎหมายก็จะเข้ามามีบทบาทได้เช่นกัน
4.พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
1. ฐานความผิดที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ (มาตรา 5-16)
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ (มาตรา 5)
การล่วงรู้ถึงมาตรการป้องกันการเข้าถึง (มาตรา 6)
การเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ (มาตรา 7)
การดักข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ (มาตรา 8)
การรบกวนข้อมูลคอมพิวเตอร์ (มาตรา 9)
การรบกวนระบบคอมพิวเตอร์ (มาตรา 10)
การส่งสแปมเมล์ Spam Mail (มาตรา 11)
การกระทำความผิดต่อความมั่นคง (มาตรา 12)
การจำหน่าย / เผยแพร่ชุดคำสั่ง เพื่อใช้กระทำความผิด (มาตรา 13)
การปลอมแปลงข้อมูลคอมพิวเตอร์ / เผยแพร่เนื้อหาอันไม่เหมาะสม (มาตรา 14)
ความรับผิดของผู้ให้บริการ (มาตรา 15)
การเผยแพร่ภาพจากการตัดต่อ / ดัดแปลง (มาตรา 16)
2. เขต (ประเทศ) อำนาจของศาลในการพิจารณาคดี (มาตรา 17)
3. อำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายใหม่ (มาตรา 18-21)
อำนาจของเจ้าพนักงานโดยเด็ดขาด
(1) มีหนังสือสอบถาม / ให้ส่งคำชี้แจง ให้ถ้อยคำ
(2) เรียกข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์
(3) สั่งให้ส่งมอบข้อมูลผู้ใช้บริการตามมาตรา 26
อำนาจของเจ้าพนักงานที่ต้องขออำนาจศาล
(4) ทำสำเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์
(5) สั่งให้บุคคลส่งมอบข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ที่ใช้จัดเก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์
(6) ตรวจสอบหรือเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูลคอมพิวเตอร์
(7) ถอดรหัสลับของข้อมูลคอมพิวเตอร์
(8) ยึดหรืออายัดระบบคอมพิวเตอร์
4. อำนาจของ รมต.ไอซีที ระงับการทำให้เผยแพร่.. (มาตรา 20)
5. บทกำหนดโทษสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ หากเปิดเผย หรือประมาท (มาตรา 22-24)
6. ข้อมูลที่ใช้เป็นพยายานหลักฐาน ต้องไม่เกิดจากการจูงใจ หรือข่มขู่ (มาตรา 25)
7. การจัดเก็บข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการ (มาตรา 26)
8. ข้อกำหนดให้ปฎิบัติตามพ.ร.บ.นี้ (มาตรา 27 - 30)

นายเจตริน ศรีสรรงาม 55191020106 สาขาภาษาอังกฤษ5/2 หมู่1

Unknown กล่าวว่า...

พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐
มีดังต่อไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้ “ระบบคอมพิวเตอร์” หมายความว่า อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมการทำงานเข้าด้วยกัน โดยได้มีการกำหนดคำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และแนวทางปฏิบัติงานให้อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลโดยอัตโนมัติ
(๑) ผู้ให้บริการแก่บุคคลอื่นในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต หรือให้สามารถติดต่อถึงกันโดยประการอื่น โดยผ่านทางระบบคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการให้บริการในนามของตนเอง หรือในนามหรือเพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น
(๒) ผู้ให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น
“ผู้ใช้บริการ” หมายความว่า ผู้ใช้บริการของผู้ให้บริการไม่ว่าต้องเสียค่าใช้บริการหรือไม่ก็ตาม
“พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
“รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจออกกฎกระทรวง เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
หมวด ๑
ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
มาตรา ๕ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้น มิได้มีไว้สำหรับตน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๖ ผู้ใดล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะถ้านำมาตรการดังกล่าวไปเปิดเผยโดยมิชอบ ในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๗ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้สำหรับตน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๘ ผู้ใดกระทำด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นมิได้มีไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคลทั่วไปใช้ประโยชน์ได้ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๙ ผู้ใดทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๑๐ ผู้ใดกระทำด้วยประการใดโดยมิชอบ เพื่อให้การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทำงานตามปกติได้ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๑๑ ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่นโดยปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มาของการส่งข้อมูลดังกล่าว อันเป็นการรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยปกติสุข ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
มาตรา ๑๒ ถ้าการกระทำความผิดตามมาตรา ๙ หรือมาตรา ๑๐ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสิบปี และปรับไม่เกินสองแสนบาทกระทำต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ที่มีไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะ ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่สามปีถึงสิบห้าปี และปรับตั้งแต่หกหมื่นบาทถึงสามแสนบาท
มาตรา ๑๓ ผู้ใดจำหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นโดยเฉพาะเพื่อนำไปใช้เป็นเครื่องมือในการกระทำความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ หรือมาตรา ๑๑ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๑๔ ผู้ใดกระทำความผิดที่ระบุไว้ดังต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๑๕ ผู้ให้บริการผู้ใดจงใจสนับสนุนหรือยินยอมให้มีการกระทำความผิดตามมาตรา ๑๔ ในระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในความควบคุมของตน ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับผู้กระทำความผิดตามมาตรา ๑๔
มาตรา ๑๖ ผู้ใดนำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่ประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏเป็นภาพของผู้อื่น ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
นาย ธนวัฒน์ ภาสดา พลศึกษา หมู่ 1
55191890151

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท
นางสาว ศุภักษร ทรงวาจา คหกรรมศาสตร์ คบ,5/2 55191600225

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัส คือโปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูลไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน

การป้องกันไวรัส
1. สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3. ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4. อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5. เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6. เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วง ๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จรรยาบรรณการใช้ ICT
บัญญัติ10 ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลก็จะเฉพาะสิทธิ์ที่ตนเองมีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงาน
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3.ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8.ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับึอมพิวเตอร์
1. ฐานความผิดที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ (มาตรา 5-16)
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ (มาตรา 5)
การล่วงรู้ถึงมาตรการป้องกันการเข้าถึง (มาตรา 6)
การเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ (มาตรา 7)
การดักข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ (มาตรา 8)
การรบกวนข้อมูลคอมพิวเตอร์ (มาตรา 9)
การรบกวนระบบคอมพิวเตอร์ (มาตรา 10)
การส่งสแปมเมล์ Spam Mail (มาตรา 11)
การกระทำความผิดต่อความมั่นคง (มาตรา 12)
การจำหน่าย / เผยแพร่ชุดคำสั่ง เพื่อใช้กระทำความผิด (มาตรา 13)
การปลอมแปลงข้อมูลคอมพิวเตอร์ / เผยแพร่เนื้อหาอันไม่เหมาะสม (มาตรา 14)
ความรับผิดของผู้ให้บริการ (มาตรา 15)
การเผยแพร่ภาพจากการตัดต่อ / ดัดแปลง (มาตรา 16)

2. เขต (ประเทศ) อำนาจของศาลในการพิจารณาคดี (มาตรา 17)
3. อำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายใหม่ (มาตรา 18-21)

อำนาจของเจ้าพนักงานโดยเด็ดขาด
(1) มีหนังสือสอบถาม / ให้ส่งคำชี้แจง ให้ถ้อยคำ
(2) เรียกข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์
(3) สั่งให้ส่งมอบข้อมูลผู้ใช้บริการตามมาตรา 26
อำนาจของเจ้าพนักงานที่ต้องขออำนาจศาล
(4) ทำสำเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์
(5) สั่งให้บุคคลส่งมอบข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ที่ใช้จัดเก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์
(6) ตรวจสอบหรือเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูลคอมพิวเตอร์
(7) ถอดรหัสลับของข้อมูลคอมพิวเตอร์
(8) ยึดหรืออายัดระบบคอมพิวเตอร์

4. อำนาจของ รมต.ไอซีที ระงับการทำให้เผยแพร่.. (มาตรา 20)
5. บทกำหนดโทษสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ หากเปิดเผย หรือประมาท (มาตรา 22-24)
6. ข้อมูลที่ใช้เป็นพยายานหลักฐาน ต้องไม่เกิดจากการจูงใจ หรือข่มขู่ (มาตรา 25)
7. การจัดเก็บข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการ (มาตรา 26)
8. ข้อกำหนดให้ปฎิบัติตามพ.ร.บ.นี้ (มาตรา 27 - 30)

นางสาวปาริชาติ ชัยรังษี ค.บ. 5/2 สาขาภาษาไทย รหัสนักศึกษา 55191010238

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ ที่บุกรุกเข้าไปในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยไม่ได้รับความยินยอมจากผู้ใช้ ส่วนมากมักจะมีประสงค์ร้ายและสร้างความเสียหายให้กับระบบของเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นๆ
ในเชิงเทคโนโลยีความมั่นคงของระบบคอมพิวเตอร์นั้น ไวรัสเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สามารถทำสำเนาของตัวเอง เพื่อแพร่ออกไปโดยการสอดแทรกตัวสำเนาไปในรหัสคอมพิวเตอร์ส่วนของข้อมูลเอกสารหรือส่วนที่สามารถปฏิบัติการได้ ดังนั้นไวรัสคอมพิวเตอร์จึงมีพฤติกรรมในลักษณะเดียวกับไวรัสในทางชีววิทยา ซึ่งสามารถแพร่กระจายไปในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตในลักษณะเดียวกันนี้ คำอื่นๆ ที่ใช้กับไวรัสในทางชีววิทยายังขยายขอบข่ายของความหมายครอบคลุมถึงไวรัสในทางคอมพิวเตอร์ เช่น การติดไวรัส (infection) แฟ้มข้อมูลที่ติดไวรัสนี้จะเรียกว่า โฮสต์ (host) ไวรัสนั้นเป็นประเภทหนึ่งของโปรแกรมประเภทมัลแวร์ (malware) หรือโปรแกรมที่มีประสงค์ร้าย ในความหมายที่ใช้กันทั่วไปนั้น ไวรัสยังใช้หมายรวมถึง เวิร์ม (worm) ซึ่งก็เป็นโปรแกรมอีกรูปแบบหนึ่งของมัลแวร์ ซึ่งบางครั้งก็ทำให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์นั้นสับสนเมื่อคำไวรัสนั้นใช้ในความหมายที่เฉพาะเจาะจง คอมพิวเตอร์ไวรัสนั้นโดยทั่วไปจะไม่ส่งผลก่อให้เกิดความเสียหายต่อฮาร์ดแวร์โดยตรง แต่จะทำความเสียหายต่อซอฟต์แวร์
ในขณะที่ไวรัสโดยทั่วไปนั้นก่อให้เกิดความเสียหาย (เช่น ทำลายข้อมูล) แต่ก็มีหลายชนิดที่ไม่ก่อให้เกิดความเสียหาย เพียงแต่ก่อให้เกิดความรำคาญเท่านั้น ไวรัสบางชนิดนั้นจะมีการตั้งเวลาให้ทำงานเฉพาะตามเงื่อนไข เช่น เมื่อถึงวันที่ที่กำหนด หรือเมื่อทำการขยายตัวได้ถึงระดับหนึ่ง ซึ่งไวรัสเหล่านี้จะเรียกว่า บอมบ์ (bomb) หรือระเบิด ระเบิดเวลาจะทำงานเมื่อถึงวันที่ที่กำหนด ส่วนระเบิดเงื่อนไขนั้นจะทำงานเมื่อผู้ใช้คอมพิวเตอร์มีการกระทำเฉพาะซึ่งเป็นตัวจุดชนวน ไม่ว่าจะเป็นไวรัสชนิดที่ก่อให้เกิดความเสียหายหรือไม่ก็ตาม ก็จะมีผลเสียที่เกิดจากการแพร่ขยายตัวของไวรัสอย่างไร้การควบคุม ซึ่งจะเป็นการบริโภคทรัพยากรคอมพิวเตอร์อย่างไร้ประโยชน์ หรืออาจจะบริโภคไปเป็นจำนวนมาก
ไวรัสคอมพิวเตอร์ (Computer Virus) คือ โปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาแผ่นดิสก์หรือแฟลชไดร์ฟที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้กับอีกเครื่องหนึ่ง การที่คอมพิวเตอร์ใดติดไวรัส หมายความว่าไวรัสได้เข้าไปผังตัวอยู่ในหน่วยความจำคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นเรียบร้อยแล้ว การที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ในหน่วยความจำได้นั้นจะต้องมีการถูกเรียกใช้ให้ทำงาน ซึ่งโดยปกติแล้วผู้ใช้มักจะไม่รู้ตัวเลยว่า ขณะที่ตนเรียกใช้โปรแกรมหรือเปิดไฟล์ใดๆขึ้นมาทำงาน ก็ได้เรียกไวรัสขึ้นมาทำงานด้วย จุดประสงค์การทำงานของไวรัสแต่ละตัวขึ้นอยู่กับผู้เขียนโปรแกรมไวรัสนั้น เช่น อาจสร้างไวรัสให้ไปทำลายโปรแกรมหรือข้อมูลอื่นๆ ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือแสดงข้อความวิ่งไปมาบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
ไวรัส (Virus) เป็นมัลแวร์ (Malware) ชนิดแรกที่เกิดขึ้นบนโลกนี้และอยู่มานาน ดังนั้นโดยทั่วไปตามข่าวหรือบทความต่างๆที่ไม่เน้นไปทางวิชาการมากเกินไป หรือเพื่อความง่ายและคุ้นเคยที่จะพูด ก็จะใช้คำว่า Virus แทนคำว่า Malware แต่ถ้าจะคิดถึงความจริงแล้วมันไม่ถูกต้อง อาจจะเป็นเพราะความเคยชินหรืออะไรก็ตาม จึงกลายเป็นว่าคนส่วนใหญ่ใช้คำว่า Virus แทนคำว่า Worm, Trojan, Spyware, Adware เป็นต้น ที่ถูกต้องควรใช้คำว่ามัลแวร์ (Malware) เพราะมัลแวร์มีหลายชนิด แต่ละชนิดก็ไม่เหมือนกัน

นางสาว ภัสราภรณ์ สินสอน 55128040222
รัฐประศาสนศาสตร์(การปกครองท้องถิ่น)หมู่2

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ ที่บุกรุกเข้าไปในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยไม่ได้รับความยินยอมจากผู้ใช้ ส่วนมากมักจะมีประสงค์ร้ายและสร้างความเสียหายให้กับระบบของเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นๆ
ในเชิงเทคโนโลยีความมั่นคงของระบบคอมพิวเตอร์นั้น ไวรัสเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สามารถทำสำเนาของตัวเอง เพื่อแพร่ออกไปโดยการสอดแทรกตัวสำเนาไปในรหัสคอมพิวเตอร์ส่วนของข้อมูลเอกสารหรือส่วนที่สามารถปฏิบัติการได้ ดังนั้นไวรัสคอมพิวเตอร์จึงมีพฤติกรรมในลักษณะเดียวกับไวรัสในทางชีววิทยา ซึ่งสามารถแพร่กระจายไปในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตในลักษณะเดียวกันนี้ คำอื่นๆ ที่ใช้กับไวรัสในทางชีววิทยายังขยายขอบข่ายของความหมายครอบคลุมถึงไวรัสในทางคอมพิวเตอร์ เช่น การติดไวรัส (infection) แฟ้มข้อมูลที่ติดไวรัสนี้จะเรียกว่า โฮสต์ (host) ไวรัสนั้นเป็นประเภทหนึ่งของโปรแกรมประเภทมัลแวร์ (malware) หรือโปรแกรมที่มีประสงค์ร้าย ในความหมายที่ใช้กันทั่วไปนั้น ไวรัสยังใช้หมายรวมถึง เวิร์ม (worm) ซึ่งก็เป็นโปรแกรมอีกรูปแบบหนึ่งของมัลแวร์ ซึ่งบางครั้งก็ทำให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์นั้นสับสนเมื่อคำไวรัสนั้นใช้ในความหมายที่เฉพาะเจาะจง คอมพิวเตอร์ไวรัสนั้นโดยทั่วไปจะไม่ส่งผลก่อให้เกิดความเสียหายต่อฮาร์ดแวร์โดยตรง แต่จะทำความเสียหายต่อซอฟต์แวร์
ในขณะที่ไวรัสโดยทั่วไปนั้นก่อให้เกิดความเสียหาย (เช่น ทำลายข้อมูล) แต่ก็มีหลายชนิดที่ไม่ก่อให้เกิดความเสียหาย เพียงแต่ก่อให้เกิดความรำคาญเท่านั้น ไวรัสบางชนิดนั้นจะมีการตั้งเวลาให้ทำงานเฉพาะตามเงื่อนไข เช่น เมื่อถึงวันที่ที่กำหนด หรือเมื่อทำการขยายตัวได้ถึงระดับหนึ่ง ซึ่งไวรัสเหล่านี้จะเรียกว่า บอมบ์ (bomb) หรือระเบิด ระเบิดเวลาจะทำงานเมื่อถึงวันที่ที่กำหนด ส่วนระเบิดเงื่อนไขนั้นจะทำงานเมื่อผู้ใช้คอมพิวเตอร์มีการกระทำเฉพาะซึ่งเป็นตัวจุดชนวน ไม่ว่าจะเป็นไวรัสชนิดที่ก่อให้เกิดความเสียหายหรือไม่ก็ตาม ก็จะมีผลเสียที่เกิดจากการแพร่ขยายตัวของไวรัสอย่างไร้การควบคุม ซึ่งจะเป็นการบริโภคทรัพยากรคอมพิวเตอร์อย่างไร้ประโยชน์ หรืออาจจะบริโภคไปเป็นจำนวนมาก
ไวรัสคอมพิวเตอร์ (Computer Virus) คือ โปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาแผ่นดิสก์หรือแฟลชไดร์ฟที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้กับอีกเครื่องหนึ่ง การที่คอมพิวเตอร์ใดติดไวรัส หมายความว่าไวรัสได้เข้าไปผังตัวอยู่ในหน่วยความจำคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นเรียบร้อยแล้ว การที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ในหน่วยความจำได้นั้นจะต้องมีการถูกเรียกใช้ให้ทำงาน ซึ่งโดยปกติแล้วผู้ใช้มักจะไม่รู้ตัวเลยว่า ขณะที่ตนเรียกใช้โปรแกรมหรือเปิดไฟล์ใดๆขึ้นมาทำงาน ก็ได้เรียกไวรัสขึ้นมาทำงานด้วย จุดประสงค์การทำงานของไวรัสแต่ละตัวขึ้นอยู่กับผู้เขียนโปรแกรมไวรัสนั้น เช่น อาจสร้างไวรัสให้ไปทำลายโปรแกรมหรือข้อมูลอื่นๆ ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือแสดงข้อความวิ่งไปมาบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
ไวรัส (Virus) เป็นมัลแวร์ (Malware) ชนิดแรกที่เกิดขึ้นบนโลกนี้และอยู่มานาน ดังนั้นโดยทั่วไปตามข่าวหรือบทความต่างๆที่ไม่เน้นไปทางวิชาการมากเกินไป หรือเพื่อความง่ายและคุ้นเคยที่จะพูด ก็จะใช้คำว่า Virus แทนคำว่า Malware แต่ถ้าจะคิดถึงความจริงแล้วมันไม่ถูกต้อง อาจจะเป็นเพราะความเคยชินหรืออะไรก็ตาม จึงกลายเป็นว่าคนส่วนใหญ่ใช้คำว่า Virus แทนคำว่า Worm, Trojan, Spyware, Adware เป็นต้น ที่ถูกต้องควรใช้คำว่ามัลแวร์ (Malware) เพราะมัลแวร์มีหลายชนิด แต่ละชนิดก็ไม่เหมือนกัน

นางสาว ภัสราภรณ์ สินสอน 55128040222
รัฐประศาสนศาสตร์(การปกครองท้องถิ่น)หมู่2

Unknown กล่าวว่า...
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
Unknown กล่าวว่า...

๑. ไวรัส คือโปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูลไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การที่คอมพิวเตอร์ใดติดไวรัส หมายถึงว่าไวรัสได้เข้าไปผังตัวอยู่ในหน่วยความจำ คอมพิวเตอร์ เรียบร้อยแล้ว เนื่องจากไวรัสก็เป็นแค่โปรแกรม ๆ หนึ่งการที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ ในหน่วยความจำได้นั้นจะต้องมีการถูกเรียกให้ทำงานได้นั้นยังขึ้นอยู่กับประเภทของไวรัส แต่ละตัวปกติผู้ใช้มักจะไม่รู้ตัวว่าได้ทำการปลุกคอมพิวเตอร์ไวรัสขึ้นมาทำงานแล้ว
จุดประสงค์ของการทำงานของไวรัสแต่ละตัวขึ้นอยู่กับตัวผู้เขียนโปรแกรมไวรัสนั้น เช่น อาจสร้างไวรัสให้ไปทำลายโปรแกรมหรือข้อมูลอื่น ๆ ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือ แสดงข้อความวิ่งไปมาบน หน้าจอ เป็นต้น
๒. การป้องกันไวรัส
- สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
- สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
- ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
- อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
- เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
- เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วง ๆ
- เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
- เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
- สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
- เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสขึ้นมาทำงานได้
- เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

นางสาวนริศรา จิตตโคตร ภาษาไทย ๕๕๑๙๑๐๑๐๒๒๙

Unknown กล่าวว่า...

๓. จรรยาบรรณการใช้ ICT
บัญญัติ10 ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์

การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลก็จะเฉพาะสิทธิ์ที่ตนเองมีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงาน

- ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
- ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
- ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
- ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
- ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
- ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
- ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
- คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
- ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

นางสาวนริศรา จิตตโคตร ภาษาไทย ๕๕๑๙๑๐๑๐๒๒๙

Unknown กล่าวว่า...

๔. พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
1. เจ้าของคอมไม่ให้เข้าระบบคอมพิวเตอร์ของเขา แล้วเราแอบเข้าไป … เจอคุก 6 เดือน
2. แอบไปรู้วิธีการเข้าระบบคอมพิวเตอร์ของชาวบ้าน แล้วเที่ยวไปบอกให้คนอื่นรู้ … เจอคุกไม่เกินปี
3. แอบไปล้วงข้อมูลส่วนบุคคลที่ถูกเก็บเอาไว้ในระบบคอมพิวเตอร์… เจอคุกไม่เกิน 2 ปี
4. ข้อมูลที่ถูกส่งหากันผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบส่วนตั๊วส่วนตัว แล้วเราทะลึ่งไปดักจับข้อมูลของเขา … เจอคุกไม่เกิน 3 ปี
5. ข้อมูลของเขาอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ของเขาดี ๆ ถ้าดันมือบอนไปโมดิฟรายมันซะงั้น … เจอคุกไม่เกิน 5 ปี
6. ระบบคอมพิวเตอร์ของชาวบ้านทำงานอยู่ดี ๆ ถ้าดันปล่อย packet หรือ message หรือ virus หรือ trojan หรือ worm หรือ (โอ๊ยเยอะ) เข้าไปก่อกวนจนระบบเขาเดี้ยง … เจอคุกไม่เกิน 5 ปี
7. ถ้าเขาไม่ได้อยากได้ข้อมูลจากเราเล้ย เช่นไม่อยากได้อีเมลล์จากเรา แล้วก็ทำตัวเป็นนัก Forward เซ้าซี้ส่งให้เขาซ้ำ ๆ อยู่นั่นแหล่ะ จนทำให้เขาเบื่อหน่ายรำคาญ … เจอปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
8. ถ้าเราทำผิดข้อ 5. กับ ข้อ 6. แล้วมันดันสร้างความพินาศใหญ่โตในระดับรากหญ้า(เช่น เข้าไปโมดิฟรายแก้ไข ทำลาย ก่อนกวน ระบบสาธารณูปโภค หรือระบบจราจร ที่ควบคุมโดยคอม) งานนี้มีซวยแน่ เจอคุกสิบปีขึ้น
9. ถ้าเราสร้างโปรแกรม หรือซอฟต์แวร์เพื่อช่วยให้ใคร ๆ ทำเรื่องแย่ ๆ ในข้อข้างบน ๆ ได้ … เจอคุกไม่เกินปีนึงเหมือนกัน
10. โป๊ก็โดน, โกหกก็โดน,ท้าทายอำนาจรัฐก็โดน … เจอคุกไม่เกิน 5 ปี
11. ใครเป็นเจ้าของเว็บ แล้วยอมให้เกิดข้อ 10. โดนเหมือนกัน … เจอคุกไม่เกิน 5 ปี
12. พวกชอบเอารูปชาวบ้านมาตัดต่อแล้วให้คนอื่นดู เตรียมใจไว้เลยมีโดน … เจอคุกไม่เกิน 3 ปี
13. เราทำผิดที่เว็บไซต์ซึ่งอยู่เมืองนอก แต่ถ้าเราเป็นคนไทย หึ ๆ อย่าคิดว่ารอด โดนแหง ๆ (แต่หลักฐานการกระทำผิดมันอยู่เมืองนอก ถ้าจะเอาผมเข้าคุก อาจต้องลำบากหน่อยล่ะงานนี้ อยากรู้เหมือนกันว่า กฎหมายเมืองนอกจะป้องกัน ข้อมูลบน server ที่อยู่เมืองนอกแบบไหนอย่างไร)
๕๕๑๙๑๐๑๐๒๒๙

Unknown กล่าวว่า...

1. ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัส คือ โปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูล ไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การที่คอมพิวเตอร์ใดติดไวรัส หมายถึงว่าไวรัสได้เข้าไปฝังตัวอยู่ในหน่วยความจำคอมพิวเตอร์เรียบร้อยแล้ว เนื่องจากไวรัสก็เป็นแค่โปรแกรมๆ หนึ่ง การที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ในหน่วยความจำได้นั้นจะต้องมีการถูกเรียกให้ทำงานได้นั้น ยังขึ้นอยู่กับประเภทของไวรัสแต่ละตัว ปกติผู้ใช้มักจะไม่รู้ัตัวว่าได้ทำการปลุกคอมพิวเตอร์ไวรัสขึ้นมาทำงานแ้้ล้ว
จุดประสงค์ของการทำงานของไวรัสแต่ละตัวขึ้นอยู่กับตัวผู้เขียนโปรแกรมไวรัสนั้น เช่น อาจสร้างไวรัสให้ไปทำลายโปรแกรมหรือข้อมูลอื่นๆ ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือแสดงข้อความวิ่งไปมาบนหน้าจอ เป็นต้น
2.การป้องกัน
-ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัส
-ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะกับตัวเอง
-ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสให้เป็น
-อัพเดตฐานข้อมูลไวรัส (Definition) อยู่เสมอ
-เปลี่ยนเวอร์ชันใหม่ทันทีที่มีโอกาส
-อย่ารับไฟล์แปลกหน้า และติดตามข่าวสารอยู่เสมอ
-ติดไวรัสแล้วอย่า
3. จรรยาบรรณการใช้ ICT
จริยธรรม (Ethics) เป็นเรื่องของการกำหนดความถูกต้องดีงามสิ่งที่ไม่ควรทำมีหลักปฏิบัติในระดับที่สูงกว่ามารยาทในสังคม
บัญญัติ10 ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลก็จะเฉพาะสิทธิ์ที่ตนเองมีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงาน
1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์
4. พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

พ.ร.บ.ฉบับนี้ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 18 มิ.ย 2550 และมีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 18 ก.ค. 2550 ป็นต้นไป
ความผิดที่เข้าข่ายตาม พ.ร.บ ฉบับนี้
- การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ
- การเปิดเผยข้อมูลมาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะ
- การดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลโดยมิชอบ
- การกระทำเพื่อใหการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
- การส่งข้อมูลรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การจำหน่ายชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นเพื่อนำไปเป็นเครื่องมือในการกระทำผิด
- การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ทำความผิดอื่น
- การตกแต่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นภาพของบุคคล
นาย สมภพ อุดหนุน สาขาเกษตรศาสตร์ ค.บ.5/1 รหัส 56191500104

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ
ไวรัส คือ โปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูล ไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
7 ขั้นตอนในการช่วยป้องกันคุณไม่ให้ติดไวรัสคอมพิวเตอร์
1. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัส
2. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะกับตัวเอง
3. ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสให้เป็น
4. อัพเดตฐานข้อมูลไวรัส (Definition) อยู่เสมอ
5. เปลี่ยนเวอร์ชันใหม่ทันทีที่มีโอกาส
6. อย่ารับไฟล์แปลกหน้า และติดตามข่าวสารอยู่เสมอ
7. ติดไวรัสแล้วอย่ากลัว
จรรยาบรรณการใช้ ICT
จริยธรรม (Ethics) เป็นเรื่องของการกำหนดความถูกต้องดีงามสิ่งที่ไม่ควรทำมีหลักปฏิบัติในระดับที่สูงกว่ามารยาทในสังคม
บัญญัติ10 ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลก็จะเฉพาะสิทธิ์ที่ตนเองมีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงาน
1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติ
ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พ.ศ. ๒๕๕๐
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐
เป็นปีที่ ๖๒ ในรัชกาลปัจจุบัน
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พ.ร.บ.ฉบับนี้ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 18 มิ.ย 2550 และมีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 18 ก.ค. 2550 ป็นต้นไป
ความผิดที่เข้าข่ายตาม พ.ร.บ ฉบับนี้
- การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ
- การเปิดเผยข้อมูลมาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะ
- การดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลโดยมิชอบ
- การกระทำเพื่อใหการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
- การส่งข้อมูลรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การจำหน่ายชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นเพื่อนำไปเป็นเครื่องมือในการกระทำผิด
- การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ทำความผิดอื่น
- การตกแต่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นภาพของบุคคล

นาย ปิยภูมิ สมเสร็จ
รหัส 56191500102
ค.บ.เกษตรศาสตร์ 5/1 หมู่1

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นายณัฐพล โลประโคน 55191809143 พลศึกษาหมู่ 1

Unknown กล่าวว่า...

1.ไวรัสคอมพิวเตอร
ไวรัสคอมพิวเตอร์ ที่บุกรุกเข้าไปในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยไม่ได้รับความยินยอมจากผู้ใช้ ส่วนมากมักจะมีประสงค์ร้ายและสร้างความเสียหายให้กับระบบของเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นๆ
ในเชิงเทคโนโลยีความมั่นคงของระบบคอมพิวเตอร์นั้น ไวรัสเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สามารถทำสำเนาของตัวเอง เพื่อแพร่ออกไปโดยการสอดแทรกตัวสำเนาไปในรหัสคอมพิวเตอร์ส่วนของข้อมูลเอกสารหรือส่วนที่สามารถปฏิบัติการได้ ดังนั้นไวรัสคอมพิวเตอร์จึงมีพฤติกรรมในลักษณะเดียวกับไวรัสในทางชีววิทยา ซึ่งสามารถแพร่กระจายไปในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตในลักษณะเดียวกันนี้ คำอื่นๆ ที่ใช้กับไวรัสในทางชีววิทยายังขยายขอบข่ายของความหมายครอบคลุมถึงไวรัสในทางคอมพิวเตอร์ เช่น การติดไวรัส (infection) แฟ้มข้อมูลที่ติดไวรัสนี้จะเรียกว่า โฮสต์ (host) ไวรัสนั้นเป็นประเภทหนึ่งของโปรแกรมประเภทมัลแวร์ (malware) หรือโปรแกรมที่มีประสงค์ร้าย ในความหมายที่ใช้กันทั่วไปนั้น ไวรัสยังใช้หมายรวมถึง เวิร์ม (worm) ซึ่งก็เป็นโปรแกรมอีกรูปแบบหนึ่งของมัลแวร์ ซึ่งบางครั้งก็ทำให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์นั้นสับสนเมื่อคำไวรัสนั้นใช้ในความหมายที่เฉพาะเจาะจง คอมพิวเตอร์ไวรัสนั้นโดยทั่วไปจะไม่ส่งผลก่อให้เกิดความเสียหายต่อฮาร์ดแวร์โดยตรง แต่จะทำความเสียหายต่อซอฟต์แวร์

2.การป้องกัน
ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสและอัปเดตข้อมูลไวรัสอยู่เสมอ
- ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะสม
- สร้างแผ่น Emergency Disk เพื่อใช้ในการกู้ระบบ
- อัปเดตข้อมูลไวรัสของโปรแกรมทุกวัน หรือ ทุกครั้งที่โปรแกรมแจ้งเตือนให้อัปเดต
- เปิดใช้งาน auto-protect ถ้าโปรแกรมสนับสนุน
- ตรวจสอบหาไวรัสทุกครั้งก่อนเปิดไฟล์จากแผ่นหรือสื่อบันทึกข้อมูลต่าง ๆ
- ใช้โปรแกรมเพื่อทำการตรวจหาไวรัสบนเครื่องคอมพิวเตอร์อย่างน้อย 1 ครั้ง ต่อสัปดาห์

3.จรรยาบรรณการใช้ict
จรรยาบรรณในการใช้คอมพิวเตอร์
จริยธรรม (Ethics) เป็นเรื่องของการกำหนดความถูกต้องดีงามสิ่งที่ไม่ควรทำมีหลักปฏิบัติในระดับที่สูงกว่ามารยาทในสังคมเช่นคนที่ไม่ยอมเข้าแถวเพื่อขอรับบริการตามสิทธิ์ก่อนหลังอาจถือว่าไม่มีมารยาทหรือพนักงานคอมพิวเตอร์คนหนึ่งเอาข้อมูลทางการเงินของลูกค้าที่เขาจะต้องเห็นตามหน้าที่การงานไปหาผลประโยชน์แก่ตนเองเช่นขายรายชื่อนั้นให้ธุรกิจอื่นหรือบอกให้แก่คู่สมรสซึ่งเป็นพนักงานขายตรงไปเสนอขายสินค้าการกระทำเช่นนี้ถือว่าไม่ถูกต้องไม่มีจริยธรรมจริงอยู่แม้ว่าบริษัทที่พนักงานผู้นั้นทำงานอยู่จะไม่เสียหายแต่การนำเอาของบริษัทไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัวก็เป็นสิ่งที่ไม่อาจทำได้อย่างเปิดเผยหรือพนักงานขายสินค้าของทางบริการหนึ่งซึ่งลาออกจากบริษัทเพื่อไปทำงานกับบริษัทคู่แข่งแล้วใช้ประโยชน์จากความรู้ ในเรื่องข้อมูลราคาหรือความลับทางการค้าของบริษัทแรกไปให้บริษัทหลังก็อาจเรียกได้ว่าพนักงานคนนั้นไม่มีจริยธรรมเมื่อสังคมสลับซับซ้อนขึ้นมีการแบ่งหน้าที่กันออกเป็นหน้าที่ต่างๆจึงมีข้อกำหนดที่เรียกว่า“จรรยาวิชาชีพ

4.พรบ.ว่าการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พ.ศ. ๒๕๕๐
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐
เป็นปีที่ ๖๒ ในรัชกาลปัจจุบัน
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พ.ร.บ.ฉบับนี้ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 18 มิ.ย 2550 และมีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 18 ก.ค. 2550 ป็นต้นไป
ความผิดที่เข้าข่ายตาม พ.ร.บ ฉบับนี้
- การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ
- การเปิดเผยข้อมูลมาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะ
- การดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลโดยมิชอบ
- การกระทำเพื่อใหการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
- การส่งข้อมูลรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การจำหน่ายชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นเพื่อนำไปเป็นเครื่องมือในการกระทำผิด
- การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ทำความผิดอื่น
- การตกแต่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นภาพของบุคคล

นายชัยยศ ทรงชาติ พลศึกษา 55191890133

Unknown กล่าวว่า...

1. ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัส คือ โปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูล ไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การที่คอมพิวเตอร์ใดติดไวรัส หมายถึงว่าไวรัสได้เข้าไปฝังตัวอยู่ในหน่วยความจำคอมพิวเตอร์เรียบร้อยแล้ว เนื่องจากไวรัสก็เป็นแค่โปรแกรมๆ หนึ่ง การที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ในหน่วยความจำได้นั้นจะต้องมีการถูกเรียกให้ทำงานได้นั้น ยังขึ้นอยู่กับประเภทของไวรัสแต่ละตัว ปกติผู้ใช้มักจะไม่รู้ัตัวว่าได้ทำการปลุกคอมพิวเตอร์ไวรัสขึ้นมาทำงานแ้้ล้ว
จุดประสงค์ของการทำงานของไวรัสแต่ละตัวขึ้นอยู่กับตัวผู้เขียนโปรแกรมไวรัสนั้น เช่น อาจสร้างไวรัสให้ไปทำลายโปรแกรมหรือข้อมูลอื่นๆ ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือแสดงข้อความวิ่งไปมาบนหน้าจอ เป็นต้น
2.การป้องกัน
-ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัส
-ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะกับตัวเอง
-ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสให้เป็น
-อัพเดตฐานข้อมูลไวรัส (Definition) อยู่เสมอ
-เปลี่ยนเวอร์ชันใหม่ทันทีที่มีโอกาส
-อย่ารับไฟล์แปลกหน้า และติดตามข่าวสารอยู่เสมอ
-ติดไวรัสแล้วอย่า
3. จรรยาบรรณการใช้ ICT
จริยธรรม (Ethics) เป็นเรื่องของการกำหนดความถูกต้องดีงามสิ่งที่ไม่ควรทำมีหลักปฏิบัติในระดับที่สูงกว่ามารยาทในสังคม
บัญญัติ10 ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลก็จะเฉพาะสิทธิ์ที่ตนเองมีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงาน
1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์
4. พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

พ.ร.บ.ฉบับนี้ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 18 มิ.ย 2550 และมีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 18 ก.ค. 2550 ป็นต้นไป
ความผิดที่เข้าข่ายตาม พ.ร.บ ฉบับนี้
- การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ
- การเปิดเผยข้อมูลมาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะ
- การดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลโดยมิชอบ
- การกระทำเพื่อใหการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
- การส่งข้อมูลรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การจำหน่ายชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นเพื่อนำไปเป็นเครื่องมือในการกระทำผิด
- การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ทำความผิดอื่น
- การตกแต่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นภาพของบุคคล
นาย สมภพ อุดหนุน สาขาเกษตรศาสตร์ ค.บ.5/1 รหัส 56191500104

Unknown กล่าวว่า...

พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐<<<
มีดังต่อไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้ “ระบบคอมพิวเตอร์” หมายความว่า อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมการทำงานเข้าด้วยกัน โดยได้มีการกำหนดคำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และแนวทางปฏิบัติงานให้อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลโดยอัตโนมัติ
“ข้อมูลคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูล ข้อความ คำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใดบรรดาที่อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้ และให้หมายความรวมถึงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ด้วย
“ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงถึงแหล่งกำเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลาชนิดของบริการ หรืออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์นั้น
“ผู้ให้บริการ” หมายความว่า
(๑) ผู้ให้บริการแก่บุคคลอื่นในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต หรือให้สามารถติดต่อถึงกันโดยประการอื่น โดยผ่านทางระบบคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการให้บริการในนามของตนเอง หรือในนามหรือเพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น
(๒) ผู้ให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น
“ผู้ใช้บริการ” หมายความว่า ผู้ใช้บริการของผู้ให้บริการไม่ว่าต้องเสียค่าใช้บริการหรือไม่ก็ตาม
“พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
“รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจออกกฎกระทรวง เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
หมวด ๑
ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
มาตรา ๕ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้น มิได้มีไว้สำหรับตน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๖ ผู้ใดล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะถ้านำมาตรการดังกล่าวไปเปิดเผยโดยมิชอบ ในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๗ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้สำหรับตน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๘ ผู้ใดกระทำด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นมิได้มีไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคลทั่วไปใช้ประโยชน์ได้ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๙ ผู้ใดทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๑๐ ผู้ใดกระทำด้วยประการใดโดยมิชอบ เพื่อให้การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทำงานตามปกติได้ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

นาย ปิยภูมิ สมเสร็จ
รหัส 56191500102
ค.บ.เกษตรศาสตร์

Unknown กล่าวว่า...

การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์คือโปรแกรมซอฟต์แวร์ขนาดเล็กที่แพร่ขยายจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งและรบกวนการทำงานของคอมพิวเตอร์ไวรัสคอมพิวเตอร์อาจทำความเสียหายหรือลบข้อมูลในคอมพิวเตอร์ ใช้โปรแกรมอีเมลเพื่อแพร่กระจายไวรัสไปยังคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น หรือแม้กระทั่งลบทุกสิ่งทุกอย่างบนฮาร์ดดิสก์
ไวรัสคอมพิวเตอร์มักแพร่กระจายด้วยสิ่งที่แนบมาในข้อความอีเมลหรือข้อความที่ส่งข้อความโต้ตอบแบบทันทีดังนั้น คุณต้องไม่เปิดสิ่งที่แนบมาในข้อความอีเมล เว้นแต่คุณจะรู้ว่าใครเป็นผู้ส่งข้อความนั้น หรือคุณคาดหวังจะได้รับสิ่งที่แนบมานั้นไวรัสสามารถปลอมแปลงเป็นสิ่งแนบในรูปแบบภาพตลก บัตรอวยพร หรือแฟ้มเสียงและวิดีโอไวรัสคอมพิวเตอร์ยังแพร่กระจายได้ผ่านการดาวน์โหลดบนอินเทอร์เน็ตซึ่งอาจซ่อนอยู่ในซอฟต์แวร์ที่ผิดกฎหมายหรือแฟ้มหรือโปรแกรมอื่นที่คุณอาจดาวน์โหลดมา
จริยธรรมในการใช้ ICT
1. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายหรือละเมิดผู้อื่น
2. ต้องไม่รบกวนการทำงานของผู้อื่น
3. ต้องไม่สอดแนม แก้ไข หรือเปิดดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร
5. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ
6. ต้องมีจรรยาบรรณการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์
7. ให้ระมัดระวังในการละเมิดหรือสร้างความเสียหายให้ผู้อื่น
8. ให้แหล่งที่มาของข้อความ ควรอ้างอิงแหล่งข่าวได้
9. ไม่กระทำการรบกวนผู้อื่นด้วยการโฆษณาเกินความจำเป็น
10. ดูแลและแก้ไขหากตกเป็นเหยื่อจากโปรแกรมอันไม่พึงประสงค์ เพื่อป้องกันมิให้คนอื่นเป็นเหยื่อ

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท



นางสาวพิมลแข สุนเสียง 55128040220 รัฐประศาสนศาสตร์ การปกครองท้องถิ่น หมู่ 2

Unknown กล่าวว่า...

พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐<<<
มีดังต่อไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้ “ระบบคอมพิวเตอร์” หมายความว่า อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมการทำงานเข้าด้วยกัน โดยได้มีการกำหนดคำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และแนวทางปฏิบัติงานให้อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลโดยอัตโนมัติ
“ข้อมูลคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูล ข้อความ คำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใดบรรดาที่อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้ และให้หมายความรวมถึงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ด้วย
“ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงถึงแหล่งกำเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลาชนิดของบริการ หรืออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์นั้น
“ผู้ให้บริการ” หมายความว่า
(๑) ผู้ให้บริการแก่บุคคลอื่นในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต หรือให้สามารถติดต่อถึงกันโดยประการอื่น โดยผ่านทางระบบคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการให้บริการในนามของตนเอง หรือในนามหรือเพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น
(๒) ผู้ให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น
“ผู้ใช้บริการ” หมายความว่า ผู้ใช้บริการของผู้ให้บริการไม่ว่าต้องเสียค่าใช้บริการหรือไม่ก็ตาม
“พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
“รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจออกกฎกระทรวง เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
หมวด ๑
ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
มาตรา ๕ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้น มิได้มีไว้สำหรับตน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๖ ผู้ใดล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะถ้านำมาตรการดังกล่าวไปเปิดเผยโดยมิชอบ ในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๗ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้สำหรับตน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๘ ผู้ใดกระทำด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นมิได้มีไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคลทั่วไปใช้ประโยชน์ได้ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๙ ผู้ใดทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๑๐ ผู้ใดกระทำด้วยประการใดโดยมิชอบ เพื่อให้การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทำงานตามปกติได้ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้ำทั้งปรับ

นาย ปิยภูมิ สมเสร็จ
รหัส 56191500102
ค.บ.เกษตรศาสตร์

Unknown กล่าวว่า...

พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐<<<
มีดังต่อไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้ “ระบบคอมพิวเตอร์” หมายความว่า อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมการทำงานเข้าด้วยกัน โดยได้มีการกำหนดคำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และแนวทางปฏิบัติงานให้อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลโดยอัตโนมัติ
“ข้อมูลคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูล ข้อความ คำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใดบรรดาที่อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้ และให้หมายความรวมถึงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ด้วย
“ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงถึงแหล่งกำเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลาชนิดของบริการ หรืออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์นั้น
“ผู้ให้บริการ” หมายความว่า
(๑) ผู้ให้บริการแก่บุคคลอื่นในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต หรือให้สามารถติดต่อถึงกันโดยประการอื่น โดยผ่านทางระบบคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการให้บริการในนามของตนเอง หรือในนามหรือเพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น
(๒) ผู้ให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น
“ผู้ใช้บริการ” หมายความว่า ผู้ใช้บริการของผู้ให้บริการไม่ว่าต้องเสียค่าใช้บริการหรือไม่ก็ตาม
“พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
“รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจออกกฎกระทรวง เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
หมวด ๑
ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
มาตรา ๕ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้น มิได้มีไว้สำหรับตน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๖ ผู้ใดล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะถ้านำมาตรการดังกล่าวไปเปิดเผยโดยมิชอบ ในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๗ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้สำหรับตน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๘ ผู้ใดกระทำด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นมิได้มีไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคลทั่วไปใช้ประโยชน์ได้ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๙ ผู้ใดทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๑๐ ผู้ใดกระทำด้วยประการใดโดยมิชอบ เพื่อให้การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทำงานตามปกติได้ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้ำทั้งปรับ

นาย ปิยภูมิ สมเสร็จ
รหัส 56191500102
ค.บ.เกษตรศาสตร์

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท
นาย สมภพ อุดหนุน สาขาเกษตรศาสตร์ รหัส56191500104

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

1.ไวรัสคอมพิวเตอร์ เป็นโปรแกรมพิเศษชนิดหนึ่งที่เขียนขึ้นมาเพื่อให้จัดการกับตัวมันเอง โดยมีลักษณะเลียบแบบสิ่งมีชีวิต คือ เจริญเติบโตเองได้ ขยายและแพร่กระจายเองได้ สามารถอยู่รอดได้ โปรแกรมนี้เข้าไปอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ โดยผ่านทาง
-แผ่นฟลอปปีดิสก์
-เครือข่ายคอมพิวเตอร์
จากการที่ไวรัสคอมพิวเตอร์ ทำงานได้ด้วยเงื่อนไขลักษณะใดลักษณะหนึ่งหลายลักษณะ จึงทำให้ผู้ใช้ไม่รู้ว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ของตนติดไวรัสหรือไม่ พอเปิดเครื่องใช้ก็อาจพบว่าระบบคอมพิวเตอร์ของตนถูกไวรัสทำลายเสียแล้ว ไวรัสบางตัวไม่เพียงทำลาย ลบ ล้าง ย้ายข้อมูลของเรา โดยไม่ได้รับอนุญาตเท่านั้น แต่ยังสามารถทำลายโปรแกรมอื่น ๆได้อีกด้วยโดยสังเกตได้จากการที่หน้าจอแสดงผลโดยอาการแปลก ๆ

2.การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
-ทุกครั้งที่นำซอฟแวร์ที่ไม่ทราบแหล่งที่ผลิต หรือได้รับแจกฟรี ต้องตรวจสอบให้แน่ใจก่อนนำไปใช้
-ควรตรวจสอบทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์อย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง
-เตรียมแผ่นที่สะอาดไว้สำหรับบูตเครื่องเมื่อคราวจำเป็น
-ควรสำรองข้อมูลไว้เสมอ
-พยายามสังเกตุสิ่งผิดปกติที่เกิดขึ้นกับเครื่องอย่างสม่ำเสมอ เช่น การทำงานที่ช้าลง ขนาดไฟล์ หน้าจอแสดงผลแปลก ๆ ไดรฟ์มีเสียงผิดปกติ
-ไม่นำแผ่นดิสก์ไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ถ้ายังไม่ได้ปิดแถบป้องกันการบันทึก (Write Protect )
-ควรแยกแผ่นโปรแกรม และแผ่นข้อมูลออกจากกันโดยเด็ดขาด
-ไม่อนุญาตให้คนอื่นมาเล่นเครื่องคอมพิวเตอร์ของท่าน โดยปราศจากการควบคุมอย่างใกล้ชิด
-ควรมีโปรแกรมป้องกันไวรัสไว้ใช้ตรวจสอบและป้องกัน โดยเฉพาะโปรแกรมป้องกันไวรัสรุ่นใหม่ ๆ จะมีประสิทธิภาพในการป้องกันได้ดีขึ้นมาก ในที่นี้จะขอแนะนำโปรแกรม SCAN ของบริษัท McAfee Associates รุ่น V.2.5.1 หรือ Norton Antivirus

นางสาวราตรี เนียมมูล 55191600214
นางสาววิชญาพร แสงสว่าง 55191600217
นายสุทธิศักดิ์ เสียงเพราะ 55191600230
นางสาวศิริลักษณ์ ดาวไสย์ 55191600223
นางสาวศิวิมล เรืองฉาย 55191600224
สาขาคหกรรมศาสตร์ หมู่ 2

Unknown กล่าวว่า...

พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐<<<
มีดังต่อไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้ “ระบบคอมพิวเตอร์” หมายความว่า อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมการทำงานเข้าด้วยกัน โดยได้มีการกำหนดคำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และแนวทางปฏิบัติงานให้อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลโดยอัตโนมัติ
“ข้อมูลคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูล ข้อความ คำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใดบรรดาที่อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้ และให้หมายความรวมถึงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ด้วย
“ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงถึงแหล่งกำเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลาชนิดของบริการ หรืออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์นั้น
“ผู้ให้บริการ” หมายความว่า
(๑) ผู้ให้บริการแก่บุคคลอื่นในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต หรือให้สามารถติดต่อถึงกันโดยประการอื่น โดยผ่านทางระบบคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการให้บริการในนามของตนเอง หรือในนามหรือเพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น
(๒) ผู้ให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น
“ผู้ใช้บริการ” หมายความว่า ผู้ใช้บริการของผู้ให้บริการไม่ว่าต้องเสียค่าใช้บริการหรือไม่ก็ตาม
“พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
“รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจออกกฎกระทรวง เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
หมวด ๑
ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
มาตรา ๕ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้น มิได้มีไว้สำหรับตน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๖ ผู้ใดล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะถ้านำมาตรการดังกล่าวไปเปิดเผยโดยมิชอบ ในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๗ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้สำหรับตน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๘ ผู้ใดกระทำด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นมิได้มีไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคลทั่วไปใช้ประโยชน์ได้ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๙ ผู้ใดทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๑๐ ผู้ใดกระทำด้วยประการใดโดยมิชอบ เพื่อให้การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทำงานตามปกติได้ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้ำทั้งปรับ

นาย ปิยภูมิ สมเสร็จ
รหัส 56191500102
ค.บ.เกษตรศาสตร์

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ (computer virus) ซึ่งเรียกชื่อเลียนแบบ ไวรัส ที่เป็นสิ่งมีชีวิต แต่เป็นคำเรียกแบบย่อของ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่มีชุดคำสั่งระบบปฏิบัติการใดๆก็ตามเท่าที่โปรแกรมถูกเขียนขึ้นมาเพื่อการใดการหนึ่งทั้งที่มีประโยนช์ทางการทำงานตามผู้เขียนโปรแกรมนั้นขึ้นมา


การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
ต้องให้ความร่วมมือจากทุกๆฝ่าย ไม่ว่าจะจากทางภาครัฐ ภาคเอกชน ตัวบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีสื่อสารและ ผู้ปกครองจะต้องดูแลบุตรหลานตัวเองในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่อยู่ในยุคไร้พรมแดนนี้ การสร้างจิตสำนึกต่อตนเองให้กับเด็กเยาวชนตั้งแต่ยังเล็กๆ และให้เด็กรู้ถึงโทษ ถึงปัญหา ให้เด็กรู้จักเลือกใช้โปรแกรมในทางที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ก็น่าจะเป็นทางป้องกันที่ดีต่อปัญหาเหล่านี้ได้ ทั้งนี้เพราะโปรแกรมประเภทนี้ ไม่ว่าจะเป็น Camfrog , MSN , ICQ , Yahoo ล้วนแต่เป็นโปรแกรมการสื่อสาร ที่มีทั้งคุณและโทษในการใช้ ข้อดีของโปรแกรมเหล่านี้ก็คือจะช่วยสร้างให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารมากขึ้น สามารถสื่อสารได้ทั้งทางสายตา เสียงพูด และมองเห็นหน้ากันได้ ส่วนข้อเสียส่วนใหญ่แล้วมักจะเกิดจากการใช้งานไปในทางที่ไม่ถูกไม่ควร ซึ่งตรงนี้ก็อยู่ที่ตัวของบุคคลแต่ละบุคคลในการที่จะเลือกทำเลือกใช้และเลือกที่จะนำสิ่งนั้นมาก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองค่ะ

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท



นายชัยรัตน์บุญมาก พลศึกษา55191890134

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ (computer virus) ซึ่งเรียกชื่อเลียนแบบ ไวรัส ที่เป็นสิ่งมีชีวิต แต่เป็นคำเรียกแบบย่อของ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่มีชุดคำสั่งระบบปฏิบัติการใดๆก็ตามเท่าที่โปรแกรมถูกเขียนขึ้นมาเพื่อการใดการหนึ่งทั้งที่มีประโยนช์ทางการทำงานตามผู้เขียนโปรแกรมนั้นขึ้นมา ไวรัสคอมพิวเตอร์ ที่บุกรุกเข้าไปในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยไม่ได้รับความยินยอมจากผู้ใช้ ส่วนมากมักจะมีประสงค์ร้ายและสร้างความเสียหายให้กับระบบของเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นๆ

วิธีการป้องกัน
1. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัส
2. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะกับตัวเอง
3. ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสให้เป็น
4. อัพเดตฐานข้อมูลไวรัส (Definition) อยู่เสมอ
5. เปลี่ยนเวอร์ชันใหม่ทันทีที่มีโอกาส
6. อย่ารับไฟล์แปลกหน้า และติดตามข่าวสารอยู่เสมอ
7. ติดไวรัสแล้วอย่ากลัว

จรรยาบรรณการใช้ ICT
1. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้าย หรือละเมิดผู้อื่น
2. ต้องไม่รบกวนการทำงานของผู้อื่น
3. ต้องไม่สอดแนม แก้ไข หรือเปิดดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร
5. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ
6. ต้องไม่คัดลอกโปรแกรมของผู้อื่นที่มีลิขสิทธิ์
7. ต้องไม่ละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีสิทธิ์
8. ต้องไม่นำเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. ต้องคำนึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคมอันติดตามมาจากการกระทำของท่าน
10. ต้องใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบียบ กติกา และมีมารยาท

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
มาตรา5 ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง โดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้สำหรับตน
มาตรา6 ผู้ใดล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะ ถ้านำมาตรการดังกล่าวไปเปิดเผยโดยมิชอบในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น
มาตรา7 ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะ และมาตรการนั้น มิได้มีไว้สำหรับตน จำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา8 ผู้ใดกระทำด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้ ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นมิได้มีไว้ เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคลทั่วไปใช้ประโยชน์ใด


นางสาว พิณทิพย์ หวังสำราญ 55128040219
รปศ หมู่02

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เป็นโปรแกรมพิเศษชนิดหนึ่งที่เขียนขึ้นมาเพื่อให้จัดการกับตัวมันเอง โดยมีลักษณะเลียบแบบสิ่งมีชีวิต คือ เจริญเติบโตเองได้ ขยายและแพร่กระจายเองได้ สามารถอยู่รอดได้ โปรแกรมนี้เข้าไปอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ โดยผ่านทาง
- แผ่นฟลอปปีดิสก์
- เครือข่ายคอมพิวเตอร์
จากการที่ไวรัสคอมพิวเตอร์ ทำงานได้ด้วยเงื่อนไขลักษณะใดลักษณะหนึ่งหลายลักษณะ จึงทำให้ผู้ใช้ไม่รู้ว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ของตนติดไวรัสหรือไม่ พอเปิดเครื่องใช้ก็อาจพบว่าระบบคอมพิวเตอร์ของตนถูกไวรัสทำลายเสียแล้ว ไวรัสบางตัวไม่เพียงทำลาย ลบ ล้าง ย้ายข้อมูลของเรา โดยไม่ได้รับอนุญาตเท่านั้น แต่ยังสามารถทำลายโปรแกรมอื่น ๆได้อีกด้วยโดยสังเกตได้จากการที่หน้าจอแสดงผลโดยอาการแปลก ๆ
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
มีเทคนิคอยู่มากมายหลายวิธี ดังนี้
-ทุกครั้งที่นำซอฟแวร์ที่ไม่ทราบแหล่งที่ผลิต หรือได้รับแจกฟรี ต้องตรวจสอบให้แน่ใจก่อนนำไปใช้
-ควรตรวจสอบทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์อย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง
- เตรียมแผ่นที่สะอาดไว้สำหรับบูตเครื่องเมื่อคราวจำเป็น
- ควรสำรองข้อมูลไว้เสมอ
- พยายามสังเกตุสิ่งผิดปกติที่เกิดขึ้นกับเครื่องอย่างสม่ำเสมอ เช่น การทำงานที่ช้าลง ขนาดไฟล์ หน้าจอแสดงผลแปลก ๆ ไดรฟ์มีเสียงผิดปกติ
-ไม่นำแผ่นดิสก์ไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ถ้ายังไม่ได้ปิดแถบป้องกันการบันทึก (Write Protect )
- ควรแยกแผ่นโปรแกรม และแผ่นข้อมูลออกจากกันโดยเด็ดขาด
-ไม่อนุญาตให้คนอื่นมาเล่นเครื่องคอมพิวเตอร์ของท่าน โดยปราศจากการควบคุมอย่างใกล้ชิด
-ควรมีโปรแกรมป้องกันไวรัสไว้ใช้ตรวจสอบและป้องกัน โดยเฉพาะโปรแกรมป้องกันไวรัสรุ่นใหม่ ๆ จะมีประสิทธิภาพในการป้องกันได้ดีขึ้นมาก ในที่นี้จะขอแนะนำโปรแกรม SCAN ของบริษัท McAfee Associates รุ่น V.2.5.1 หรือ Norton Antivirus
จรรยาบรรณในการใช้คอมพิวเตอร์
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8.ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9.คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10.ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
สรุปมาตราที่ควรทราบ

(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

ชื่อ นายสมศักดิ์ พะเนิกรัมย์ รหัส55122220139 lสาขาวิศวกรรมโยธาและสถาปัตยกกรม

Unknown กล่าวว่า...

Unknown กล่าวว่า...

คำแนะนำและการป้องกันไวรัส

สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วง ๆ
เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสขึ้นมาทำงานได้
เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

Unknown กล่าวว่า...
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
Unknown กล่าวว่า...

3. จรรยาบรรณการใช้ ICT
1. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายหรือละเมิดผู้อื่น
2. ต้องไม่รบกวนการทำงานของผู้อื่น
3. ต้องไม่สอดแนมหรือแก้ไขเปิดดูในแฟ้มของผู้อื่น
4. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร
5. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ
6. ต้องไม่คัดลอกโปรแกรมผู้อื่นที่มีลิขสิทธิ์
7. ต้องไม่ละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีสิทธิ์
8. ต้องไม่นำเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. ต้องคำนึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคมอันติดตามมาจากการกระทำ
10.ต้องใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบียบ กติกามารยา
สาขา รปศ. ปี 2 รหัส 55128030129

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัส คือโปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูลไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การที่คอมพิวเตอร์ใดติดไวรัส หมายถึงว่าไวรัสได้เข้าไปผังตัวอยู่ในหน่วยความจำ คอมพิวเตอร์ เรียบร้อยแล้ว เนื่องจากไวรัสก็เป็นแค่โปรแกรม ๆ หนึ่งการที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ ในหน่วยความจำได้นั้นจะต้องมีการถูกเรียกให้ทำงานได้นั้นยังขึ้นอยู่กับประเภทของไวรัส แต่ละตัวปกติผู้ใช้มักจะไม่รู้ตัวว่าได้ทำการปลุกคอมพิวเตอร์ไวรัสขึ้นมาทำงานแล้ว
จุดประสงค์ของการทำงานของไวรัสแต่ละตัวขึ้นอยู่กับตัวผู้เขียนโปรแกรมไวรัสนั้น เช่น อาจสร้างไวรัสให้ไปทำลายโปรแกรมหรือข้อมูลอื่น ๆ ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือ แสดงข้อความวิ่งไปมาบน หน้าจอ เป็นต้น

สาขา รปศ. ปี 2 รหัส 55128030129

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ประเภทหนึ่งที่ถูกออกแบบมาให้แพร่กระจายตัวเองจากไฟล์หนึ่งไปยังไฟล์อื่นๆในอดีต คำว่า "ไวรัสคอมพิวเตอร์" เป็นนิยามของโปรแกรมที่สร้างปัญหาและก่อให้เกิดความเสียหายต่างๆ กับเครื่องคอมพิวเตอร์เมื่อเวลาผ่านไปไวรัสคอมพิวเตอร์ได้รับการพัฒนารูปแบบ เทคนิคการแพร่กระจาย ความสามารถ ไวรัสคอมพิวเตอร์" จึงมีความหมายที่กว้างขึ้นซึ่งหมายถึงชุดคำสั่งทางคอมพิวเตอร์ โปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ใดๆ ที่ได้รับการจัดทำขึ้นมาโดยมีจุดมุ่งหมาย
การป้องกันไวรัส
•สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
•สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
•ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
•อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
•เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
•เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วง ๆ
•เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
•เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
•สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
•เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสขึ้นมาทำงานได้
•เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น
จรรยาบรรณการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3.ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8.ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9.คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10.ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พ.ร.บ.ฉบับนี้ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 18 มิ.ย 2550 และมีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 18 ก.ค. 2550 ป็นต้นไป

ความผิดที่เข้าข่ายตาม พ.ร.บ ฉบับนี้

- การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ
- การเปิดเผยข้อมูลมาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะ
- การดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลโดยมิชอบ
- การกระทำเพื่อใหการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
- การส่งข้อมูลรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การจำหน่ายชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นเพื่อนำไปเป็นเครื่องมือในการกระทำผิด
- การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ทำความผิดอื่น
- การตกแต่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นภาพของบุคคล

นางสาวปิยะภรณ์ ไวยาประโคน
56191860110 สาขาปฐมวัย คบ.5/1

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นายศราวุธ สายดวง 55122220133 เทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและสถาปัตยกรรม

หนุ่มตามฝัน ลูกชาวนา กล่าวว่า...
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
หนุ่มตามฝัน ลูกชาวนา กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นายจตุรงค์ ผดุงรัตน์ 56191470117
สาขาวิชาดนตรีศึกษา

หนุ่มตามฝัน ลูกชาวนา กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นายจตุรงค์ ผดุงรัตน์ 56191470117
lสาขาวิชาดนตรีศึกษา

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นายปิชรวิทย์ วงศ์หินกอง 56191470118
สาขาวิชาดนตรีศึกษา

procom กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ (computer virus) ซึ่งเรียกชื่อเลียนแบบ ไวรัส ที่เป็นสิ่งมีชีวิต แต่เป็นคำเรียกแบบย่อของ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่มีชุดคำสั่งระบบปฏิบัติการใดๆก็ตามเท่าที่โปรแกรมถูกเขียนขึ้นมาเพื่อการใดการหนึ่งทั้งที่มีประโยนช์ทางการทำงานตามผู้เขียนโปรแกรมนั้นขึ้นมา


การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
ต้องให้ความร่วมมือจากทุกๆฝ่าย ไม่ว่าจะจากทางภาครัฐ ภาคเอกชน ตัวบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีสื่อสารและ ผู้ปกครองจะต้องดูแลบุตรหลานตัวเองในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่อยู่ในยุคไร้พรมแดนนี้ การสร้างจิตสำนึกต่อตนเองให้กับเด็กเยาวชนตั้งแต่ยังเล็กๆ และให้เด็กรู้ถึงโทษ ถึงปัญหา ให้เด็กรู้จักเลือกใช้โปรแกรมในทางที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ก็น่าจะเป็นทางป้องกันที่ดีต่อปัญหาเหล่านี้ได้ ทั้งนี้เพราะโปรแกรมประเภทนี้ ไม่ว่าจะเป็น Camfrog , MSN , ICQ , Yahoo ล้วนแต่เป็นโปรแกรมการสื่อสาร ที่มีทั้งคุณและโทษในการใช้ ข้อดีของโปรแกรมเหล่านี้ก็คือจะช่วยสร้างให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารมากขึ้น สามารถสื่อสารได้ทั้งทางสายตา เสียงพูด และมองเห็นหน้ากันได้ ส่วนข้อเสียส่วนใหญ่แล้วมักจะเกิดจากการใช้งานไปในทางที่ไม่ถูกไม่ควร ซึ่งตรงนี้ก็อยู่ที่ตัวของบุคคลแต่ละบุคคลในการที่จะเลือกทำเลือกใช้และเลือกที่จะนำสิ่งนั้นมาก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองค่ะ

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท
นายเกียรติศักดิ์ แก้วจรัญ 56191470116 ค.บ ดนตรีศึกษา ระดับ ค.บ5/1ครับผม

procom กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ (computer virus) ซึ่งเรียกชื่อเลียนแบบ ไวรัส ที่เป็นสิ่งมีชีวิต แต่เป็นคำเรียกแบบย่อของ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่มีชุดคำสั่งระบบปฏิบัติการใดๆก็ตามเท่าที่โปรแกรมถูกเขียนขึ้นมาเพื่อการใดการหนึ่งทั้งที่มีประโยนช์ทางการทำงานตามผู้เขียนโปรแกรมนั้นขึ้นมา


การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
ต้องให้ความร่วมมือจากทุกๆฝ่าย ไม่ว่าจะจากทางภาครัฐ ภาคเอกชน ตัวบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีสื่อสารและ ผู้ปกครองจะต้องดูแลบุตรหลานตัวเองในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่อยู่ในยุคไร้พรมแดนนี้ การสร้างจิตสำนึกต่อตนเองให้กับเด็กเยาวชนตั้งแต่ยังเล็กๆ และให้เด็กรู้ถึงโทษ ถึงปัญหา ให้เด็กรู้จักเลือกใช้โปรแกรมในทางที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ก็น่าจะเป็นทางป้องกันที่ดีต่อปัญหาเหล่านี้ได้ ทั้งนี้เพราะโปรแกรมประเภทนี้ ไม่ว่าจะเป็น Camfrog , MSN , ICQ , Yahoo ล้วนแต่เป็นโปรแกรมการสื่อสาร ที่มีทั้งคุณและโทษในการใช้ ข้อดีของโปรแกรมเหล่านี้ก็คือจะช่วยสร้างให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารมากขึ้น สามารถสื่อสารได้ทั้งทางสายตา เสียงพูด และมองเห็นหน้ากันได้ ส่วนข้อเสียส่วนใหญ่แล้วมักจะเกิดจากการใช้งานไปในทางที่ไม่ถูกไม่ควร ซึ่งตรงนี้ก็อยู่ที่ตัวของบุคคลแต่ละบุคคลในการที่จะเลือกทำเลือกใช้และเลือกที่จะนำสิ่งนั้นมาก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองค่ะ

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท
นายเกียรติศักดิ์ แก้วจรัญ 56191470116 ค.บ ดนตรีศึกษา ระดับ ค.บ5/1ครับผม

ภรณ์ทิพย์ อินทร์พ็ง กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นายภรณ์ทิพย์ อินทร์เพ็ง 55191600207 สาขาคหกรรมศาสตร์

pornthip inpheng กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นางสาวภรณ์ทิพย์ อินทร์เพ็ง 55191600207 สาขาคหกรรมศาสตร์ คบ.5/2

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นางสาวทิพรัตน์ แสวงมี
สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์
รหัส 56122420108

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ไวรัส คือ โปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูล ไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การที่คอมพิวเตอร์ใดติดไวรัส หมายถึงว่าไวรัสได้เข้าไปฝังตัวอยู่ในหน่วยความจำคอมพิวเตอร์เรียบร้อยแล้ว เนื่องจากไวรัสก็เป็นแค่โปรแกรมๆ หนึ่ง การที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ในหน่วยความจำได้นั้นจะต้องมีการถูกเรียกให้ทำงานได้นั้น ยังขึ้นอยู่กับประเภทของไวรัสแต่ละตัว ปกติผู้ใช้มักจะไม่รู้ัตัวว่าได้ทำการปลุกคอมพิวเตอร์ไวรัสขึ้นมาทำงานแ้้ล้ว
จุดประสงค์ของการทำงานของไวรัสแต่ละตัวขึ้นอยู่กับตัวผู้เขียนโปรแกรมไวรัสนั้น เช่น อาจสร้างไวรัสให้ไปทำลายโปรแกรมหรือข้อมูลอื่นๆ ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือแสดงข้อความวิ่งไปมาบนหน้าจอ เป็นต้น
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
1. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัส
2. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะกับตัวเอง
3. ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสให้เป็น
4. อัพเดตฐานข้อมูลไวรัส (Definition) อยู่เสมอ
5. เปลี่ยนเวอร์ชันใหม่ทันทีที่มีโอกาส
6. อย่ารับไฟล์แปลกหน้า และติดตามข่าวสารอยู่เสมอ
7. ติดไวรัสแล้วอย่ากลัว
จรรยาบรรณในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3.ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8.ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9.คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10.ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
1.มาตรา 5 การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์
2.มาตรา 6 การล่วงรู้มาตรการการเข้าถึง
3.มาตรา 7 การเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์
4.มาตรา 8 การดักข้อมูลคอมพิวเตอร์
5.มาตรา 9 การรบกวนข้อมูลคอมพิวเตอร์
6.มาตรา 10 การรบกวนระบบคอมพิวเตอร์
7.มาตรา 11 สแปมเมล์
8.มาตรา 12 การกระทำความผิดต่อความมั่นคง
9.มาตรา 13 การจำหน่าย เผยแพร่ชุดคำสั่งเพื่อใช้กระทำความผิด
10.มาตรา 14 การปลอมแปลงข้อมูลคอมพิวเตอร์ เผยแพร่เนื้อหาอันไม่เหมาะสม
11.มาตรา 15 ความรับผิดของผู้ให้บริการ
12.มาตรา 16 การเผยแพร่ภาพจากการตัดต่อ ดัดแปลง
13.มาตรา 17 การกระทำผิดตามพระราชบัญญัตินี้นอกราชอาณาจักร
นายอณุชา นันตะชัย สาขา ค.บ ฟิสิกส์ ระดับ 5/1
วันที่ 22 สิงหาคม 2556

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ นางสาวจับจิต สำเภา คบ.วิทยาศาสตร์ 5/1 รหัส 56191960124
1.ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เป็นโปรแกรมพิเศษชนิดหนึ่งที่เขียนขึ้นมาเพื่อให้จัดการกับตัวมันเอง โดยมีลักษณะเลียบแบบสิ่งมีชีวิต คือ เจริญเติบโตเองได้ ขยายและแพร่กระจายเองได้ สามารถอยู่รอดได้ โปรแกรมนี้เข้าไปอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ โดยผ่านทาง
แผ่นฟลอปปีดิสก์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
จากการที่ไวรัสคอมพิวเตอร์ ทำงานได้ด้วยเงื่อนไขลักษณะใดลักษณะหนึ่งหลายลักษณะ จึงทำให้ผู้ใช้ไม่รู้ว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ของตนติดไวรัสหรือไม่ พอเปิดเครื่องใช้ก็อาจพบว่าระบบคอมพิวเตอร์ของตนถูกไวรัสทำลายเสียแล้ว ไวรัสบางตัวไม่เพียงทำลาย ลบ ล้าง ย้ายข้อมูลของเรา โดยไม่ได้รับอนุญาตเท่านั้น แต่ยังสามารถทำลายโปรแกรมอื่น ๆได้อีกด้วยโดยสังเกตได้จากการที่หน้าจอแสดงผลโดยอาการแปลก ๆ

2.การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
มีเทคนิคอยู่มากมายหลายวิธี ดังนี้
ทุกครั้งที่นำซอฟแวร์ที่ไม่ทราบแหล่งที่ผลิต หรือได้รับแจกฟรี ต้องตรวจสอบให้แน่ใจก่อนนำไปใช้
ควรตรวจสอบทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์อย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง
เตรียมแผ่นที่สะอาดไว้สำหรับบูตเครื่องเมื่อคราวจำเป็น
ควรสำรองข้อมูลไว้เสมอ
พยายามสังเกตุสิ่งผิดปกติที่เกิดขึ้นกับเครื่องอย่างสม่ำเสมอ เช่น การทำงานที่ช้าลง ขนาดไฟล์ หน้าจอแสดงผลแปลก ๆ ไดรฟ์มีเสียงผิดปกติ
ไม่นำแผ่นดิสก์ไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ถ้ายังไม่ได้ปิดแถบป้องกันการบันทึก (Write Protect )
ควรแยกแผ่นโปรแกรม และแผ่นข้อมูลออกจากกันโดยเด็ดขาด
ไม่อนุญาตให้คนอื่นมาเล่นเครื่องคอมพิวเตอร์ของท่าน โดยปราศจากการควบคุมอย่าง
ใกล้ชิด
ควรมีโปรแกรมป้องกันไวรัสไว้ใช้ตรวจสอบและป้องกัน โดยเฉพาะโปรแกรมป้องกันไวรัสรุ่นใหม่ ๆ จะมีประสิทธิภาพในการป้องกันได้ดีขึ้นมาก ในที่นี้จะขอแนะนำโปรแกรม SCAN ของบริษัท McAfee Associates รุ่น V.2.5.1 หรือ Norton Antivirus

3.จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์
4.พรบ ว่าด้วยการกระทำผิดทางคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
สรุปมาตราที่ควรทราบ
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อนางสาวจับจิต สำเภา คบ.วิทยาศาสตร์ 5/1รหัส 191960124
1ไวรัสคอมพิวเตอร์ (Computer Virus) คือ โปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาแผ่นดิสก์หรือแฟลชไดร์ฟที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้กับอีกเครื่องหนึ่ง การที่คอมพิวเตอร์ใดติดไวรัส หมายความว่าไวรัสได้เข้าไปผังตัวอยู่ในหน่วยความจำคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นเรียบร้อยแล้ว การที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ในหน่วยความจำได้นั้นจะต้องมีการถูกเรียกใช้ให้ทำงาน ซึ่งโดยปกติแล้วผู้ใช้มักจะไม่รู้ตัวเลยว่า ขณะที่ตนเรียกใช้โปรแกรมหรือเปิดไฟล์ใดๆขึ้นมาทำงาน ก็ได้เรียกไวรัสขึ้นมาทำงานด้วย จุดประสงค์การทำงานของไวรัสแต่ละตัวขึ้นอยู่กับผู้เขียนโปรแกรมไวรัสนั้น เช่น อาจสร้างไวรัสให้ไปทำลายโปรแกรมหรือข้อมูลอื่นๆ ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือแสดงข้อความวิ่งไปมาบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ เป็นต้น

2.การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

3.จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

4.พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

Mr.Tinnapat Choenban กล่าวว่า...

ไวรัส คือ โปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูล ไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน

การป้องกัน
สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
เืมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
1. เข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่เจ้าของเครื่องคอมพิวเตอร์ไม่อนุญาตให้เข้าระบบคอมพิวเตอร์
บทลงโทษ… จําคุก 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 1 หมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ (มาตรา 5)
2. แอบเข้าระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น และนําไปบอกผู้อื่นต่อ
บทลงโทษ… จําคุกไม่หนึ่งปี หรือปรับไม่เกิน 2 หมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ (มาตรา 6)
3. แอบเข้าไปล้วงข้อมูลส่วนบุคคลที่ถูกเก็บเอาไว้ในระบบคอมพิวเตอร์
บทลงโทษ… จําคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 4 หมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ (มาตรา 7)
4. แอบดักจับข้อมูลข้อมูลที่ผู้อื่นส่งให้กันผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทลงโทษ … จําคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 6 หมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ (มาตรา 8)
5. แอบเข้าไปดัดแปลง แก้ไข ทําลายข้อมูลของผู้อื่นในระบบคอมพิวเตอร์
บทลงโทษ … จําคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 1 แสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ (มาตรา 9)
6. ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ทํางาน แต่ถ้ามีการปล่อย packet, message,
virus, trojan หรือ worm เป็นต้น เข้าไปก่อกวนจนระบบผู้อื่นเสียหาย
บทลงโทษ ....จําคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 1 แสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ (มาตรา 10)
7. ส่งข้อมูลหรืออีเมลให้ผู้อื่นโดยคนผู้นั้นไม่อยากรับ แต่ก็ยังมีการส่ง จนทําให้ผู้รับรําคาญ
บทลงโทษ… ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท (มาตรา 11)
8. ถ้ามีการทําผิด ในข้อ 5. กับ ข้อ 6. แล้วทําให้เกิดความเสียหายร้ายแรง โดยเกิดความเสียหายต่อผู้อื่น ไม่ว่าจะเกิดทันทีหรือในภายหลัง
บทลงโทษ … จําคุกไม่เกิน 10 ปี และปรับไม่เกิน 2 แสนบาท เกิดความเสียหายต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์ เช่น เข้าไปแก้ไข ทําลาย ก่อนกวน ระบบ
สาธารณูปโภค หรือระบบจราจร ที่ควบคุมโดยระบบคอมพิวเตอร์
บทลงโทษ … จําคุกตั้งแต่ 3-15 ปี และปรับตั้งแต่ 6 หมื่นถึง 3 แสนบาท และหากการกระทําดังกล่าวเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย บทลงโทษ … จําคุกตั้งแต่ 10-20 ปี
9. ถ้าผู้ใดเขียนโปรแกรม หรือซอร์ฟแวร์ เพื่อให้ช่วยให้ผู้อื่นกระทําความผิดในข้อที่ 1-8
บทลงโทษ … จําคุกไม่เกิน1 ปี หรือปรับไม่เกิน 2 หมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ (มาตรา 13)
10. ถ้ามีการเผยแพร่ภาพลามกอนาจาร ว่ากล่าวให้ร้ายผู้อื่น หรือท้าทายอํานาจรัฐ
บทลงโทษ… จําคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 1 แสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ (มาตรา 14)
ขอบเขตการใช้งานระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ของสป.กษ. ผู้ใช้งานจะต้องไม่ใช้

ชื่อ นายทินภัทร ชื่นบาน
รหัสนักศึกษา 56122420113
สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์

Unknown กล่าวว่า...

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เป็นโปรแกรมพิเศษชนิดหนึ่งที่เขียนขึ้นมาเพื่อให้จัดการกับตัวมันเอง โดยมีลักษณะเลียบแบบสิ่งมีชีวิต คือ เจริญเติบโตเองได้ ขยายและแพร่กระจายเองได้ สามารถอยู่รอดได้ โปรแกรมนี้เข้าไปอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ โดยผ่านทาง แผ่นฟลอปปีดิสก์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ประเภทของไวรัสคอมพิวเตอร์
1.ไวรัสที่ฝังตัวอยู่ตามบูตเซ็กเตอร์ของแผ่นดิสก์และตารางพาร์ติชัน
2.ไวรัสที่เกาะตามไฟล์ ส่วนมากจะเกาะติดไฟล์ที่มีสกุล .COM และ .EXE
3.ไวรัสที่ฝังตัวอยู่ในไฟล์ COMMAND.COM
4.ไวรัสที่แฝงตัวอยู่ในหน่วยความจำ
5.ไวรัสประเภททำลายเฉพาะไฟล์
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
1.ทุกครั้งที่นำซอฟแวร์ที่ไม่ทราบแหล่งที่ผลิต หรือได้รับแจกฟรี ต้องตรวจสอบให้แน่ใจก่อนนำไปใช้
2.ควรตรวจสอบทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์อย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง
3.เตรียมแผ่นที่สะอาดไว้สำหรับบูตเครื่องเมื่อคราวจำเป็น
4.ควรสำรองข้อมูลไว้เสมอ
5.พยายามสังเกตสิ่งผิดปกติที่เกิดขึ้นกับเครื่องอย่างสม่ำเสมอ เช่น การทำงานที่ช้าลง ขนาดไฟล์ หน้าจอแสดงผลแปลก ๆ ไดรฟ์มีเสียงผิดปกติ
6.ไม่นำแผ่นดิสก์ไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ถ้ายังไม่ได้ปิดแถบป้องกันการบันทึก (Write Protect )
7.ควรแยกแผ่นโปรแกรม และแผ่นข้อมูลออกจากกันโดยเด็ดขาด
8.ไม่อนุญาตให้คนอื่นมาเล่นเครื่องคอมพิวเตอร์ของท่าน โดยปราศจากการควบคุมอย่าง
ใกล้ชิด
9.ควรมีโปรแกรมป้องกันไวรัสไว้ใช้ตรวจสอบและป้องกัน โดยเฉพาะโปรแกรมป้องกันไวรัสรุ่นใหม่ ๆ จะมีประสิทธิภาพในการป้องกันได้ดีขึ้นมาก ในที่นี้จะขอแนะนำโปรแกรม SCAN ของบริษัท McAfee Associates รุ่น V.2.5.1 หรือ Norton Antivirus
จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท
นางสาวปิยพร สุระ ค.บ.วิทยาศาสตร์ 5/1 รหัส 56191960109

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัส คือโปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูลไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การที่คอมพิวเตอร์ใดติดไวรัส หมายถึงว่าไวรัสได้เข้าไปผังตัวอยู่ในหน่วยความจำ คอมพิวเตอร์ เรียบร้อยแล้ว เนื่องจากไวรัสก็เป็นแค่โปรแกรม ๆ หนึ่งการที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ ในหน่วยความจำได้นั้นจะต้องมีการถูกเรียกให้ทำงานได้นั้นยังขึ้นอยู่กับประเภทของไวรัส แต่ละตัวปกติผู้ใช้มักจะไม่รู้ตัวว่าได้ทำการปลุกคอมพิวเตอร์ไวรัสขึ้นมาทำงานแล้ว
จุดประสงค์ของการทำงานของไวรัสแต่ละตัวขึ้นอยู่กับตัวผู้เขียนโปรแกรมไวรัสนั้น เช่น อาจสร้างไวรัสให้ไปทำลายโปรแกรมหรือข้อมูลอื่น ๆ ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือ แสดงข้อความวิ่งไปมาบน หน้าจอ เป็นต้น

การป้องกันไวรัส
• สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
• สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
• ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
• อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
• เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
• เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วง ๆ
• เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
• เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
• สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
• เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสขึ้นมาทำงานได้
• เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
ต้องให้ความร่วมมือจากทุกๆฝ่าย ไม่ว่าจะจากทางภาครัฐ ภาคเอกชน ตัวบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีสื่อสารและ ผู้ปกครองจะต้องดูแลบุตรหลานตัวเองในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่อยู่ในยุค ไร้พรมแดนนี้ การสร้างจิตสำนึกต่อตนเองให้กับเด็กเยาวชนตั้งแต่ยังเล็กๆ และให้เด็กรู้ถึงโทษ ถึงปัญหา ให้เด็กรู้จักเลือกใช้โปรแกรมในทางที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ก็น่าจะเป็นทางป้องกันที่ดีต่อปัญหาเหล่านี้ได้ ทั้งนี้เพราะโปรแกรมประเภทนี้ ไม่ว่าจะเป็น Camfrog , MSN , ICQ , Yahoo ล้วนแต่เป็นโปรแกรมการสื่อสาร ที่มีทั้งคุณและโทษในการใช้ ข้อดีของโปรแกรมเหล่านี้ก็คือจะช่วยสร้างให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารมาก ขึ้น สามารถสื่อสารได้ทั้งทางสายตา เสียงพูด และมองเห็นหน้ากันได้ ส่วนข้อเสียส่วนใหญ่แล้วมักจะเกิดจากการใช้งานไปในทางที่ไม่ถูกไม่ควร ซึ่งตรงนี้ก็อยู่ที่ตัวของบุคคลแต่ละบุคคลในการที่จะเลือกทำเลือกใช้และ เลือกที่จะนำสิ่งนั้นมาก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองค่ะ

ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
มาตรา ๕ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่ มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะ และมาตรการนั้นมิได้มีไว้สําหรับตน ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๖ ผู้ใดล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ ผู้อื่นจัดทําขึ้นเป็นการเฉพาะ ถ้านํามาตรการดังกล่าวไปเปิดเผยโดยมิชอบในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ ผู้อื่น ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๗ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะ และมาตรการนั้นมิได้มีไว้สําหรับตน ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๘ ผู้ใดกระทําด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของ ผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้น มิได้มีไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคลทั่วไปใช้ประโยชน์ได้ต้อง ระวางโทษจําคุกไม่เกิน สามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๙ ผู้ใดทําให้เสียหาย ทําลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไม่ว่าทั้งหมด หรือบางส่วน ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกิน หนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

นางสาวเจนจิรา พอกพูน รหัสนักศึกษา 56191430101 ค.บ.ฟิสิกส์ 5/1
นางสาวมณีรัตน์ กล้าหาญ รหัสนักศึกษา 56191430104 ค.บ.ฟิสิกส์ 5/1
นางสาวมิตรา ภูมิสิทธิ์ รหัสนักศึกษา 56191430106 ค.บ.ฟิสิกส์ 5/1
นางสาวทนอดา อรคบาล รหัสนักศึกษา 56191430134 ค.บ.ฟิสิกส์ 5/1

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ
ไวรัส คือ โปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูล ไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
7 ขั้นตอนในการช่วยป้องกันคุณไม่ให้ติดไวรัสคอมพิวเตอร์
1. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัส
2. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะกับตัวเอง
3. ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสให้เป็น
4. อัพเดตฐานข้อมูลไวรัส (Definition) อยู่เสมอ
5. เปลี่ยนเวอร์ชันใหม่ทันทีที่มีโอกาส
6. อย่ารับไฟล์แปลกหน้า และติดตามข่าวสารอยู่เสมอ
7. ติดไวรัสแล้วอย่ากลัว
จรรยาบรรณการใช้ ICT
จริยธรรม (Ethics) เป็นเรื่องของการกำหนดความถูกต้องดีงามสิ่งที่ไม่ควรทำมีหลักปฏิบัติในระดับที่สูงกว่ามารยาทในสังคม
บัญญัติ10 ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลก็จะเฉพาะสิทธิ์ที่ตนเองมีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงาน
1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติ
ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พ.ศ. ๒๕๕๐
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐
เป็นปีที่ ๖๒ ในรัชกาลปัจจุบัน
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พ.ร.บ.ฉบับนี้ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 18 มิ.ย 2550 และมีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 18 ก.ค. 2550 ป็นต้นไป
ความผิดที่เข้าข่ายตาม พ.ร.บ ฉบับนี้
- การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ
- การเปิดเผยข้อมูลมาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะ
- การดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลโดยมิชอบ
- การกระทำเพื่อใหการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
- การส่งข้อมูลรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การจำหน่ายชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นเพื่อนำไปเป็นเครื่องมือในการกระทำผิด
- การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ทำความผิดอื่น
- การตกแต่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นภาพของบุคคล

นางสาว ปนัดดา งามเลิศ
56122420122
สาขา วิทยาการคอมพิวเตอร์

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัส คือโปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูลไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การที่คอมพิวเตอร์ใดติดไวรัส หมายถึงว่าไวรัสได้เข้าไปผังตัวอยู่ในหน่วยความจำ คอมพิวเตอร์ เรียบร้อยแล้ว เนื่องจากไวรัสก็เป็นแค่โปรแกรม ๆ หนึ่งการที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ ในหน่วยความจำได้นั้นจะต้องมีการถูกเรียกให้ทำงานได้นั้นยังขึ้นอยู่กับประเภทของไวรัส แต่ละตัวปกติผู้ใช้มักจะไม่รู้ตัวว่าได้ทำการปลุกคอมพิวเตอร์ไวรัสขึ้นมาทำงานแล้ว
จุดประสงค์ของการทำงานของไวรัสแต่ละตัวขึ้นอยู่กับตัวผู้เขียนโปรแกรมไวรัสนั้น เช่น อาจสร้างไวรัสให้ไปทำลายโปรแกรมหรือข้อมูลอื่น ๆ ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือ แสดงข้อความวิ่งไปมาบน หน้าจอ เป็นต้น

การป้องกันไวรัส
• สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
• สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
• ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
• อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
• เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
• เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วง ๆ
• เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
• เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
• สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
• เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสขึ้นมาทำงานได้
• เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
ต้องให้ความร่วมมือจากทุกๆฝ่าย ไม่ว่าจะจากทางภาครัฐ ภาคเอกชน ตัวบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีสื่อสารและ ผู้ปกครองจะต้องดูแลบุตรหลานตัวเองในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่อยู่ในยุค ไร้พรมแดนนี้ การสร้างจิตสำนึกต่อตนเองให้กับเด็กเยาวชนตั้งแต่ยังเล็กๆ และให้เด็กรู้ถึงโทษ ถึงปัญหา ให้เด็กรู้จักเลือกใช้โปรแกรมในทางที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ก็น่าจะเป็นทางป้องกันที่ดีต่อปัญหาเหล่านี้ได้ ทั้งนี้เพราะโปรแกรมประเภทนี้ ไม่ว่าจะเป็น Camfrog , MSN , ICQ , Yahoo ล้วนแต่เป็นโปรแกรมการสื่อสาร ที่มีทั้งคุณและโทษในการใช้ ข้อดีของโปรแกรมเหล่านี้ก็คือจะช่วยสร้างให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารมาก ขึ้น สามารถสื่อสารได้ทั้งทางสายตา เสียงพูด และมองเห็นหน้ากันได้ ส่วนข้อเสียส่วนใหญ่แล้วมักจะเกิดจากการใช้งานไปในทางที่ไม่ถูกไม่ควร ซึ่งตรงนี้ก็อยู่ที่ตัวของบุคคลแต่ละบุคคลในการที่จะเลือกทำเลือกใช้และ เลือกที่จะนำสิ่งนั้นมาก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองค่ะ

ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
มาตรา ๕ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่ มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะ และมาตรการนั้นมิได้มีไว้สําหรับตน ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๖ ผู้ใดล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ ผู้อื่นจัดทําขึ้นเป็นการเฉพาะ ถ้านํามาตรการดังกล่าวไปเปิดเผยโดยมิชอบในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ ผู้อื่น ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๗ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะ และมาตรการนั้นมิได้มีไว้สําหรับตน ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๘ ผู้ใดกระทําด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของ ผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้น มิได้มีไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคลทั่วไปใช้ประโยชน์ได้ต้อง ระวางโทษจําคุกไม่เกิน สามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๙ ผู้ใดทําให้เสียหาย ทําลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไม่ว่าทั้งหมด หรือบางส่วน ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกิน หนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

นางสาวเจนจิรา พอกพูน รหัสนักศึกษา 56191430101 ค.บ.ฟิสิกส์ 5/1
นางสาวมณีรัตน์ กล้าหาญ รหัสนักศึกษา 56191430104 ค.บ.ฟิสิกส์ 5/1
นางสาวมิตรา ภูมิสิทธิ์ รหัสนักศึกษา 56191430106 ค.บ.ฟิสิกส์ 5/1
นางสาวทนอดา อรคบาล รหัสนักศึกษา 56191430134 ค.บ.ฟิสิกส์ 5/1

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ ที่บุกรุกเข้าไปในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยไม่ได้รับความยินยอมจากผู้ใช้ ส่วนมากมักจะมีประสงค์ร้ายและสร้างความเสียหายให้กับระบบของเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นๆ
ในเชิงเทคโนโลยีความมั่นคงของระบบคอมพิวเตอร์นั้น ไวรัสเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สามารถทำสำเนาของตัวเอง เพื่อแพร่ออกไปโดยการสอดแทรกตัวสำเนาไปในรหัสคอมพิวเตอร์ส่วนของข้อมูลเอกสารหรือส่วนที่สามารถปฏิบัติการได้ ดังนั้นไวรัสคอมพิวเตอร์จึงมีพฤติกรรมในลักษณะเดียวกับไวรัสในทางชีววิทยา ซึ่งสามารถแพร่กระจายไปในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตในลักษณะเดียวกันนี้ คำอื่นๆ ที่ใช้กับไวรัสในทางชีววิทยายังขยายขอบข่ายของความหมายครอบคลุมถึงไวรัสในทางคอมพิวเตอร์ เช่น การติดไวรัส (infection) แฟ้มข้อมูลที่ติดไวรัสนี้จะเรียกว่า โฮสต์ (host) ไวรัสนั้นเป็นประเภทหนึ่งของโปรแกรมประเภทมัลแวร์ (malware) หรือโปรแกรมที่มีประสงค์ร้าย ในความหมายที่ใช้กันทั่วไปนั้น ไวรัสยังใช้หมายรวมถึง เวิร์ม (worm) ซึ่งก็เป็นโปรแกรมอีกรูปแบบหนึ่งของมัลแวร์ ซึ่งบางครั้งก็ทำให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์นั้นสับสนเมื่อคำไวรัสนั้นใช้ในความหมายที่เฉพาะเจาะจง คอมพิวเตอร์ไวรัสนั้นโดยทั่วไปจะไม่ส่งผลก่อให้เกิดความเสียหายต่อฮาร์ดแวร์โดยตรง แต่จะทำความเสียหายต่อซอฟต์แวร์
ในขณะที่ไวรัสโดยทั่วไปนั้นก่อให้เกิดความเสียหาย (เช่น ทำลายข้อมูล) แต่ก็มีหลายชนิดที่ไม่ก่อให้เกิดความเสียหาย เพียงแต่ก่อให้เกิดความรำคาญเท่านั้น ไวรัสบางชนิดนั้นจะมีการตั้งเวลาให้ทำงานเฉพาะตามเงื่อนไข เช่น เมื่อถึงวันที่ที่กำหนด หรือเมื่อทำการขยายตัวได้ถึงระดับหนึ่ง ซึ่งไวรัสเหล่านี้จะเรียกว่า บอมบ์ (bomb) หรือระเบิด ระเบิดเวลาจะทำงานเมื่อถึงวันที่ที่กำหนด ส่วนระเบิดเงื่อนไขนั้นจะทำงานเมื่อผู้ใช้คอมพิวเตอร์มีการกระทำเฉพาะซึ่งเป็นตัวจุดชนวน ไม่ว่าจะเป็นไวรัสชนิดที่ก่อให้เกิดความเสียหายหรือไม่ก็ตาม ก็จะมีผลเสียที่เกิดจากการแพร่ขยายตัวของไวรัสอย่างไร้การควบคุม ซึ่งจะเป็นการบริโภคทรัพยากรคอมพิวเตอร์อย่างไร้ประโยชน์ หรืออาจจะบริโภคไปเป็นจำนวนมาก
ไวรัสคอมพิวเตอร์ (Computer Virus) คือ โปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาแผ่นดิสก์หรือแฟลชไดร์ฟที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้กับอีกเครื่องหนึ่ง การที่คอมพิวเตอร์ใดติดไวรัส หมายความว่าไวรัสได้เข้าไปผังตัวอยู่ในหน่วยความจำคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นเรียบร้อยแล้ว การที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ในหน่วยความจำได้นั้นจะต้องมีการถูกเรียกใช้ให้ทำงาน ซึ่งโดยปกติแล้วผู้ใช้มักจะไม่รู้ตัวเลยว่า ขณะที่ตนเรียกใช้โปรแกรมหรือเปิดไฟล์ใดๆขึ้นมาทำงาน ก็ได้เรียกไวรัสขึ้นมาทำงานด้วย จุดประสงค์การทำงานของไวรัสแต่ละตัวขึ้นอยู่กับผู้เขียนโปรแกรมไวรัสนั้น เช่น อาจสร้างไวรัสให้ไปทำลายโปรแกรมหรือข้อมูลอื่นๆ ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือแสดงข้อความวิ่งไปมาบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
ไวรัส (Virus) เป็นมัลแวร์ (Malware) ชนิดแรกที่เกิดขึ้นบนโลกนี้และอยู่มานาน ดังนั้นโดยทั่วไปตามข่าวหรือบทความต่างๆที่ไม่เน้นไปทางวิชาการมากเกินไป หรือเพื่อความง่ายและคุ้นเคยที่จะพูด ก็จะใช้คำว่า Virus แทนคำว่า Malware แต่ถ้าจะคิดถึงความจริงแล้วมันไม่ถูกต้อง อาจจะเป็นเพราะความเคยชินหรืออะไรก็ตาม จึงกลายเป็นว่าคนส่วนใหญ่ใช้คำว่า Virus แทนคำว่า Worm, Trojan, Spyware, Adware เป็นต้น ที่ถูกต้องควรใช้คำว่ามัลแวร์ (Malware) เพราะมัลแวร์มีหลายชนิด แต่ละชนิดก็ไม่เหมือนกัน

นายสานิตย์ ประจบดี 55122220142
สาขา เทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและสถาปัตยกรรม

Unknown กล่าวว่า...

1.ไวรัสคอมพิวเตอร์เป็นรัสได้เข้าไปผังตัวอยู่ในหน่วยความจำ คอมพิวเตอร์ เรียบร้อยแล้ว เนื่องจากไวรัสก็เป็นแค่โปรแกรม ๆ หนึ่งการที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ ในหน่วยความจำได้นั้นจะต้องมีการถูกเรียกให้ทำงานได้นั้นยังขึ้นอยู่กับประเภทของไวรัส แต่ละตัวปกติผู้ใช้มักจะไม่รู้ตัวว่าได้ทำการปลุกคอมพิวเตอร์ไวรัสขึ้นมาทำงานแล้ว
2.การป้องกันไวรัส
- สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
-สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจาก ฟลอปปีดิสก์
-ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
-อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
-เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่ง โปรแกรมจากคนละบริษัท
-เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วง ๆ
-เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
-เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
-สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
-เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสขึ้นมาทำงานได้
-เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น
3.จรรยาบรรณ
1. จะต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อก่ออาชญากรรมหรือละเมิดสิทธิของผู้อื่น

2. จะต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์รบกวนผู้อื่น

3. จะต้องไม่ทำการสอดแนม แก้ไข หรือเปิดดูไฟล์เอกสารของผู้อื่นก่อนได้รับอนุญาต

4. จะต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ในการโจรกรรมข้อมูล ข่าวสาร

5. จะต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานเท็จ

6. จะต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ในการคัดลอกโปรแกรมที่มีลิขสิทธิ์

7. จะต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ในการละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีสิทธิ์

8. จะต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อนำเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง

9. จะต้องคำนึงถึงสิ่งที่เกิดขึ้นกับสังคม ที่จะตามมาจากการกระทำนั้น

10. จะต้องใช้คอมพิวเตอร์ โดยเคารพกฎ ระเบียบ กติกา และมารยาท
4.พรบ.คอมพิวเตอร์
- มาตรา ๕ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
- มาตรา ๖ ผู้ใดล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่น จำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
- มาตรา ๗ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
- มาตรา ๘ ผู้ใดกระทำด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
- มาตรา ๙ ผู้ใดทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไม่ว่าทั้งหมฃจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
- มาตรา ๑๐ ผู้ใดกระทำด้วยประการใดโดยมิชอบ เพื่อให้การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้ปรับ
-มาตรา ๑๑ ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่นโดยปกปิด ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบ
- มาตรา ๑๒ ถ้าการกระทำความผิดตามมาตรา ๙ หรือมาตรา ๑๐
นางสาว วรรณนภา พงษ์สุวรรณ์ คบ.วิทยาศาสตร์
56191960211 หมู่2

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ
--->ไวรัส คือ โปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูล ไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์ 7 ขั้นตอนในการช่วยป้องกันคุณไม่ให้ติดไวรัสคอมพิวเตอร์
-->>1. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัส
2. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะกับตัวเอง
3. ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสให้เป็น
4. อัพเดตฐานข้อมูลไวรัส (Definition) อยู่เสมอ
5. เปลี่ยนเวอร์ชันใหม่ทันทีที่มีโอกาส
6. อย่ารับไฟล์แปลกหน้า และติดตามข่าวสารอยู่เสมอ
7. ติดไวรัสแล้วอย่ากลัว

จรรยาบรรณการใช้ ICT
จริยธรรม (Ethics) เป็นเรื่องของการกำหนดความถูกต้องดีงามสิ่งที่ไม่ควรทำมีหลักปฏิบัติในระดับที่สูงกว่ามารยาทในสังคม
บัญญัติ10 ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลก็จะเฉพาะสิทธิ์ที่ตนเองมีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงาน
-->> 1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติ
ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พ.ศ. ๒๕๕๐
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐
เป็นปีที่ ๖๒ ในรัชกาลปัจจุบัน
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พ.ร.บ.ฉบับนี้ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 18 มิ.ย 2550 และมีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 18 ก.ค. 2550 ป็นต้นไป
ความผิดที่เข้าข่ายตาม พ.ร.บ ฉบับนี้
- การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ
- การเปิดเผยข้อมูลมาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะ
- การดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลโดยมิชอบ
- การกระทำเพื่อใหการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
- การส่งข้อมูลรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การจำหน่ายชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นเพื่อนำไปเป็นเครื่องมือในการกระทำผิด
- การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ทำความผิดอื่น
- การตกแต่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นภาพของบุคคล

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ
ไวรัส คือ โปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูล ไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
7 ขั้นตอนในการช่วยป้องกันคุณไม่ให้ติดไวรัสคอมพิวเตอร์
1. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัส
2. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะกับตัวเอง
3. ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสให้เป็น
4. อัพเดตฐานข้อมูลไวรัส (Definition) อยู่เสมอ
5. เปลี่ยนเวอร์ชันใหม่ทันทีที่มีโอกาส
6. อย่ารับไฟล์แปลกหน้า และติดตามข่าวสารอยู่เสมอ
7. ติดไวรัสแล้วอย่ากลัว
จรรยาบรรณการใช้ ICT
จริยธรรม (Ethics) เป็นเรื่องของการกำหนดความถูกต้องดีงามสิ่งที่ไม่ควรทำมีหลักปฏิบัติในระดับที่สูงกว่ามารยาทในสังคม
บัญญัติ10 ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลก็จะเฉพาะสิทธิ์ที่ตนเองมีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงาน
1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติ
ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พ.ศ. ๒๕๕๐
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐
เป็นปีที่ ๖๒ ในรัชกาลปัจจุบัน
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พ.ร.บ.ฉบับนี้ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 18 มิ.ย 2550 และมีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 18 ก.ค. 2550 ป็นต้นไป
ความผิดที่เข้าข่ายตาม พ.ร.บ ฉบับนี้
- การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ
- การเปิดเผยข้อมูลมาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะ
- การดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลโดยมิชอบ
- การกระทำเพื่อใหการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
- การส่งข้อมูลรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การจำหน่ายชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นเพื่อนำไปเป็นเครื่องมือในการกระทำผิด
- การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ทำความผิดอื่น
- การตกแต่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นภาพของบุคคล

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท
นายวัชรพงษ์ ทองลอย 55128040250 รัฐประศาสนศาสตร์ (การปกครองท้องถิ่น) หมู่2

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท
นาย รังสรรค์ กระจ่างจิต 55128040233 รปศ (การปกครองท้องถิ่น)หมู่2

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นางสาวสถิตย์ภรณ์ วงค์เมือง
นางสาวประภาวดี บุญคลี่
นางสาววันวิภา แพนไฮ
นางสาวอลิษา สีสันงาม
คบ.คหกรรมศาสตร์

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นางสาวสถิตย์ภรณ์ วงค์เมือง
นางสาวประภาวดี บุญคลี่
นางสาววันวิภา แพนไฮ
นางสาวอลิษา สีสันงาม
คบ.คหกรรมศาสตร์

นางสาวศิรินภา มะลิงาม 55191600221 คหกรรมศาสตร์ หมู่ 2 กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เป็นโปรแกรมพิเศษชนิดหนึ่งที่เขียนขึ้นมาเพื่อให้จัดการกับตัวมันเอง โดยมีลักษณะเลียบแบบสิ่งมีชีวิต คือ เจริญเติบโตเองได้ ขยายและแพร่กระจายเองได้ สามารถอยู่รอดได้ โปรแกรมนี้เข้าไปอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ โดยผ่านทาง
- แผ่นฟลอปปีดิสก์
- เครือข่ายคอมพิวเตอร์
จากการที่ไวรัสคอมพิวเตอร์ ทำงานได้ด้วยเงื่อนไขลักษณะใดลักษณะหนึ่งหลายลักษณะ จึงทำให้ผู้ใช้ไม่รู้ว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ของตนติดไวรัสหรือไม่ พอเปิดเครื่องใช้ก็อาจพบว่าระบบคอมพิวเตอร์ของตนถูกไวรัสทำลายเสียแล้ว ไวรัสบางตัวไม่เพียงทำลาย ลบ ล้าง ย้ายข้อมูลของเรา โดยไม่ได้รับอนุญาตเท่านั้น แต่ยังสามารถทำลายโปรแกรมอื่น ๆได้อีกด้วยโดยสังเกตได้จากการที่หน้าจอแสดงผลโดยอาการแปลก ๆ
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
มีเทคนิคอยู่มากมายหลายวิธี ดังนี้
-ทุกครั้งที่นำซอฟแวร์ที่ไม่ทราบแหล่งที่ผลิต หรือได้รับแจกฟรี ต้องตรวจสอบให้แน่ใจก่อนนำไปใช้
-ควรตรวจสอบทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์อย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง
- เตรียมแผ่นที่สะอาดไว้สำหรับบูตเครื่องเมื่อคราวจำเป็น
- ควรสำรองข้อมูลไว้เสมอ
- พยายามสังเกตุสิ่งผิดปกติที่เกิดขึ้นกับเครื่องอย่างสม่ำเสมอ เช่น การทำงานที่ช้าลง ขนาดไฟล์ หน้าจอแสดงผลแปลก ๆ ไดรฟ์มีเสียงผิดปกติ
-ไม่นำแผ่นดิสก์ไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ถ้ายังไม่ได้ปิดแถบป้องกันการบันทึก (Write Protect )
- ควรแยกแผ่นโปรแกรม และแผ่นข้อมูลออกจากกันโดยเด็ดขาด
-ไม่อนุญาตให้คนอื่นมาเล่นเครื่องคอมพิวเตอร์ของท่าน โดยปราศจากการควบคุมอย่างใกล้ชิด
-ควรมีโปรแกรมป้องกันไวรัสไว้ใช้ตรวจสอบและป้องกัน โดยเฉพาะโปรแกรมป้องกันไวรัสรุ่นใหม่ ๆ จะมีประสิทธิภาพในการป้องกันได้ดีขึ้นมาก ในที่นี้จะขอแนะนำโปรแกรม SCAN ของบริษัท McAfee Associates รุ่น V.2.5.1 หรือ Norton Antivirus
จรรยาบรรณในการใช้คอมพิวเตอร์
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8.ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9.คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10.ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
สรุปมาตราที่ควรทราบ

(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นางสาวผกาวดี อยู่เย็น 55191600203
สาขา คหกรรมศาสตร์ หมู่ 2

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นางสาวผกาวดี อยู่เย็น 55191600203
สาขา คหกรรมศาสตตร์ หมู่ 2

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ
ไวรัส คือ โปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูล ไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
7 ขั้นตอนในการช่วยป้องกันคุณไม่ให้ติดไวรัสคอมพิวเตอร์
1. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัส
2. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะกับตัวเอง
3. ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสให้เป็น
4. อัพเดตฐานข้อมูลไวรัส (Definition) อยู่เสมอ
5. เปลี่ยนเวอร์ชันใหม่ทันทีที่มีโอกาส
6. อย่ารับไฟล์แปลกหน้า และติดตามข่าวสารอยู่เสมอ
7. ติดไวรัสแล้วอย่ากลัว
จรรยาบรรณการใช้ ICT
จริยธรรม (Ethics) เป็นเรื่องของการกำหนดความถูกต้องดีงามสิ่งที่ไม่ควรทำมีหลักปฏิบัติในระดับที่สูงกว่ามารยาทในสังคม
บัญญัติ10 ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลก็จะเฉพาะสิทธิ์ที่ตนเองมีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงาน
1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติ
ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พ.ศ. ๒๕๕๐
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐
เป็นปีที่ ๖๒ ในรัชกาลปัจจุบัน
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พ.ร.บ.ฉบับนี้ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 18 มิ.ย 2550 และมีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 18 ก.ค. 2550 ป็นต้นไป
ความผิดที่เข้าข่ายตาม พ.ร.บ ฉบับนี้
- การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ
- การเปิดเผยข้อมูลมาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะ
- การดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลโดยมิชอบ
- การกระทำเพื่อใหการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
- การส่งข้อมูลรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การจำหน่ายชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นเพื่อนำไปเป็นเครื่องมือในการกระทำผิด
- การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ทำความผิดอื่น
- การตกแต่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นภาพของบุคคล

นางสาวผกาวดี อยู่เย็น 55191600203
สาขา คหกรรมศาสตร์ หมู่ 2

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์เป็นชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
ต้องให้ความร่วมมือจากทุกๆฝ่าย ไม่ว่าจะจากทางภาครัฐ ภาคเอกชน ตัวบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีสื่อสารและ ผู้ปกครองจะต้องดูแลบุตรหลานตัวเองในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่อยู่ในยุคไร้พรมแดนนี้ การสร้างจิตสำนึกต่อตนเองให้กับเด็กเยาวชนตั้งแต่ยังเล็กๆ และให้เด็กรู้ถึงโทษ ถึงปัญหา ให้เด็กรู้จักเลือกใช้โปรแกรมในทางที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ก็น่าจะเป็นทางป้องกันที่ดีต่อปัญหาเหล่านี้ได้ ทั้งนี้เพราะโปรแกรมประเภทนี้ ไม่ว่าจะเป็น Camfrog , MSN , ICQ , Yahoo ล้วนแต่เป็นโปรแกรมการสื่อสาร ที่มีทั้งคุณและโทษในการใช้ ข้อดีของโปรแกรมเหล่านี้ก็คือจะช่วยสร้างให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารมากขึ้น สามารถสื่อสารได้ทั้งทางสายตา เสียงพูด และมองเห็นหน้ากันได้ ส่วนข้อเสียส่วนใหญ่แล้วมักจะเกิดจากการใช้งานไปในทางที่ไม่ถูกไม่ควร ซึ่งตรงนี้ก็อยู่ที่ตัวของบุคคลแต่ละบุคคลในการที่จะเลือกทำเลือกใช้และเลือกที่จะนำสิ่งนั้นมาก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองค่ะ

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นายนีรนาท ส้มสาย วิทยาการคอมพิวเตอร์ 56122420103

นางสาวปรียาภรณ์ หนองบัว กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัส คือโปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูลไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกันการที่คอมพิวเตอร์ใดติดไวรัส หมายถึงว่าไวรัสได้เข้าไปผังตัวอยู่ในหน่วยความจำ คอมพิวเตอร์ เรียบร้อยแล้ว เนื่องจากไวรัสก็เป็นแค่โปรแกรม ๆ หนึ่งการที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ ในหน่วยความจำได้นั้นจะต้องมีการถูกเรียกให้ทำงานได้นั้นยังขึ้นอยู่กับประเภทของไวรัส แต่ละตัวปกติผู้ใช้มักจะไม่รู้ตัวว่าได้ทำการปลุกคอมพิวเตอร์ไวรัสขึ้นมาทำงานแล้ว

การป้องกัน
การสแกน
โปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใช้วิธีการสแกน (Scanning) เรียกว่า สแกนเนอร์ (Scanner) โดยจะมีการดึงเอาโปรแกรมบางส่วนของตัวไวรัสมาเก็บไว้เป็นฐานข้อมูล ส่วนที่ดึงมานั้นเราเรียกว่า ไวรัสซิกเนเจอร์ (VirusSignature)และเมื่อสแกนเนอร์ถูกเรียกขึ้นมาทำงานก็จะเข้าตรวจหาไวรัสในหน่วยความจำ บูตเซกเตอร์และไฟล์โดยใช้ ไวรัสซิกเนเจอร์ที่มีอยู่
ข้อดีของวิธีการนี้ก็คือ เราสามารถตรวจสอบซอฟแวร์ที่มาใหม่ได้ทันทีเลยว่าติดไวรัสหรือไม่ เพื่อป้องกันไม่ให้ไวรัสถูกเรียกขึ้นมาทำงานตั้งแต่เริ่มแรก แต่วิธีนี้มีจุดอ่อนอยู่หลายข้อ คือ ฐานข้อมูลที่เก็บไวรัสซิกเนเจอร์จะต้องทันสมัยอยู่เสมอ แลครอบคลุมไวรัสทุกตัว มากที่สุดเท่าที่จะทำได้เพราะสแกนเนอร์จะไม่สามารถตรวจจับไวรัสที่ยังไม่มี ซิกเนเจอร์ของไวรัสนั้นเก็บอยู่ในฐานข้อมูลได้ยากที่จะตรวจจับไวรัสประเภทโพลีมอร์ฟิก เนื่องจากไวรัสประเภทนี้เปลี่ยนแปลง ตัวเองได้จึงทำให้ไวรัสซิกเนเจอร์ที่ใช้สามารถนำมาตรวจสอบได้ก่อนที่ไวรัส จะเปลี่ยนตัวเองเท่านั้นถ้ามีไวรัสประเภทสทีลต์ไวรัสติดอยู่ในเครื่องตัวสแกนเนอร์อาจจะไม่สามารถ ตรวจหาไวรัสนี้ได้ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความฉลาดและเทคนิคที่ใช้ของตัวไวรัสและ ของตัวสแกนเนอร์เองว่าใครเก่งกว่าเนื่องจากไวรัสมีตัวใหม่ ๆ ออกมาอยู่เสมอ ๆ ผู้ใช้จึงจำเป็นจะต้องหาสแกนเนอร์ ตัวที่ใหม่ที่สุดมาใช้มีไวรัสบางตัวจะเข้าไปติดในโปรแกรมทันทีที่โปรแกรมนั้นถูกอ่าน และถ้าสมมติว่าสแกนเนอร์ที่ใช้ไม่สามารถตรวจจับได้ และถ้าเครื่องมีไวรัสนี้ติดอยู่ เมื่อมีการเรียกสแกนเนอร์ขึ้นมาทำงาน สแกนเนอร์จะเข้าไปอ่านโปรแกรมทีละโปรแกรม เพื่อตรวจสอบผลก็คือจะทำให้ไวรัสตัวนี้เข้าไปติดอยู่ในโปรแกรมทุกตัวที่ถูก สแกนเนอร์นั้นอ่านได้สแกนเนอร์รายงานผิดพลาดได้ คือ ไวรัสซิกเนเจอร์ที่ใช้บังเอิญไปตรงกับที่มีอยู่ในโปรแกรมธรรมดาที่ไม่ได้ติดไวรัส ซึ่งมักจะเกิดขึ้นในกรณีที่ไวรัสซิกเนเจอร์ ที่ใช้มีขนาดสั้นไปก็จะทำให้โปรแกรมดังกล่าวใช้งานไม่ได้อีกต่อไป

จรรยาบรรณการใช้ ICT และ พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
1. ฐานความผิดที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ (มาตรา 5-16)
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ (มาตรา 5)
การล่วงรู้ถึงมาตรการป้องกันการเข้าถึง (มาตรา 6)
การเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ (มาตรา 7)
การดักข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ (มาตรา 8)
การรบกวนข้อมูลคอมพิวเตอร์ (มาตรา 9)
การรบกวนระบบคอมพิวเตอร์ (มาตรา 10)
การส่งสแปมเมล์ Spam Mail (มาตรา 11)
การกระทำความผิดต่อความมั่นคง (มาตรา 12)
การจำหน่าย / เผยแพร่ชุดคำสั่ง เพื่อใช้กระทำความผิด (มาตรา 13)
การปลอมแปลงข้อมูลคอมพิวเตอร์ / เผยแพร่เนื้อหาอันไม่เหมาะสม (มาตรา 14)
ความรับผิดของผู้ให้บริการ (มาตรา 15)
การเผยแพร่ภาพจากการตัดต่อ / ดัดแปลง (มาตรา 16)
2. เขต (ประเทศ) อำนาจของศาลในการพิจารณาคดี (มาตรา 17)
3. อำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายใหม่ (มาตรา 18-21)
อำนาจของเจ้าพนักงานโดยเด็ดขาด
(1) มีหนังสือสอบถาม / ให้ส่งคำชี้แจง ให้ถ้อยคำ
(2) เรียกข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์
(3) สั่งให้ส่งมอบข้อมูลผู้ใช้บริการตามมาตรา 26
อำนาจของเจ้าพนักงานที่ต้องขออำนาจศาล
(4) ทำสำเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์
(5) สั่งให้บุคคลส่งมอบข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ที่ใช้จัดเก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์
(6) ตรวจสอบหรือเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูลคอมพิวเตอร์
(7) ถอดรหัสลับของข้อมูลคอมพิวเตอร์
(8) ยึดหรืออายัดระบบคอมพิวเตอร์
4. อำนาจของ รมต.ไอซีที ระงับการทำให้เผยแพร่.. (มาตรา 20)
5. บทกำหนดโทษสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ หากเปิดเผย หรือประมาท (มาตรา 22-24)
6. ข้อมูลที่ใช้เป็นพยายานหลักฐาน ต้องไม่เกิดจากการจูงใจ หรือข่มขู่ (มาตรา 25)
7. การจัดเก็บข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการ (มาตรา 26)
8. ข้อกำหนดให้ปฎิบัติตามพ.ร.บ.นี้ (มาตรา 27 - 30)

นางสาวปรียาภรณ์ หนองบัว รหัสนักศึกษา 56191860103 สาขาการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัส คือโปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไปบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูลไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน

ประเภทของไวรัส
1.บูตเซกเตอร์ไวรัส
2.โปรแกรมไวรัส
3.ม้าโทรจัน
4.โพลีมอร์ฟิกไวรัส
5.สทีลต์ไวรัส
คำแนะนำและการป้องกันไวรัส

1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญสำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
2.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
3.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
4.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่า หนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
5.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วง ๆ
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
7.เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
8.สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
9.เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสขึ้นมาทำงานได้
10.เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น
จรรยาบรรณการใช้คอมพิวเตอร์
บัญญัติ 10 ประการ (ยืน ภู่วรวรรณ) คือ
1. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อทำร้าย หรือละเมิดผู้อื่น
2. ต้องไม่รบกวนการทำงานของผู้อื่น
3. ต้องไม่สอดแนม หรือมาแก้ไขเปิดดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร
5. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ
6. ต้องไม่คัดลอกโปรแกรม ที่ผู้อื่นมีลิขสิทธิ์ และไม่ได้รับการอนุญาต
7. ต้องไม่ละเมิด การใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ โดยที่ตนเองไม่มีสิทธิ์
8. ต้องไม่นำเอาผลงานของผู้อื่น มาเป็นของตน
9. ต้องคำนึงถึง สิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคม อันติดตามมาจาก การกระทำของตน
10. ต้องใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพ กฎระเบียบ กติกา มารยาท
จรรยาบรรณ เกี่ยวกับการใช้ ระบบสนทนาแบบ Online
1. ควรเรียกสนทนาจากผู้ที่เรารู้จัก และต้องการจะสนทนาด้วย หรือมีเรื่องสำคัญที่จะติดต่อด้วย
2. ควรระลึกเสมอว่าการขัดจังหวะผู้อื่น ที่กำลังทำงานอยู่อาจจะสร้างปัญหาได้
3. ก่อนการเรียกคู่สนทนา ควรตรวจสอบสถานะ การใช้งานของคู่สนทนา ที่ต้องการเรียก เสียก่อนเพราะการเรียกแต่ละครั้ง จะมีข้อความไปปรากฏที่หน้าจอ ของฝ่ายที่ถูกเรียก ซึ่งก็สร้างปัญหาในการทำงานได้ เช่น ขณะกำลังทำงานค้าง FTP อยู่ ซึ่งไม่สามารถหยุดได้
4. หลังจากเรียกไปชั่วขณะ คู่ที่ถูกเรียกไม่ตอยกลับ แสดงว่าคู่สนทนาอาจติดงานสำคัญ ขอให้หยุดการเรียก เพราะข้อความที่เรียกไป ปรากฏบนจออย่างแน่นอนแล้ว
5. ควรใช้วาจาสุภาพ และให้เกียรติซึ่งกันและกัน
นางสาวนัยนา สีสมงาม คบ.วิทยาศาสตร์ หมู่ 2 56191960237

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต
การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
ต้องให้ความร่วมมือจากทุกๆฝ่าย ไม่ว่าจะจากทางภาครัฐ ภาคเอกชน ตัวบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีสื่อสารและ ผู้ปกครองจะต้องดูแลบุตรหลานตัวเองในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่อยู่ในยุคไร้พรมแดนนี้ การสร้างจิตสำนึกต่อตนเองให้กับเด็กเยาวชนตั้งแต่ยังเล็กๆ และให้เด็กรู้ถึงโทษ ถึงปัญหา ให้เด็กรู้จักเลือกใช้โปรแกรมในทางที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ก็น่าจะเป็นทางป้องกันที่ดีต่อปัญหาเหล่านี้ได้ ทั้งนี้เพราะโปรแกรมประเภทนี้ ไม่ว่าจะเป็น Camfrog , MSN , ICQ , Yahoo ล้วนแต่เป็นโปรแกรมการสื่อสาร ที่มีทั้งคุณและโทษในการใช้ ข้อดีของโปรแกรมเหล่านี้ก็คือจะช่วยสร้างให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารมากขึ้น สามารถสื่อสารได้ทั้งทางสายตา เสียงพูด และมองเห็นหน้ากันได้ ส่วนข้อเสียส่วนใหญ่แล้วมักจะเกิดจากการใช้งานไปในทางที่ไม่ถูกไม่ควร ซึ่งตรงนี้ก็อยู่ที่ตัวของบุคคลแต่ละบุคคลในการที่จะเลือกทำเลือกใช้และเลือกที่จะนำสิ่งนั้นมาก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองค่ะ

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้า

นางสาวเสาวลักษณ์ มะยา
รหัสนักศึกษา 55191010148
สาขาภาษาไทย

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต
การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
ต้องให้ความร่วมมือจากทุกๆฝ่าย ไม่ว่าจะจากทางภาครัฐ ภาคเอกชน ตัวบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีสื่อสารและ ผู้ปกครองจะต้องดูแลบุตรหลานตัวเองในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่อยู่ในยุคไร้พรมแดนนี้ การสร้างจิตสำนึกต่อตนเองให้กับเด็กเยาวชนตั้งแต่ยังเล็กๆ และให้เด็กรู้ถึงโทษ ถึงปัญหา ให้เด็กรู้จักเลือกใช้โปรแกรมในทางที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ก็น่าจะเป็นทางป้องกันที่ดีต่อปัญหาเหล่านี้ได้ ทั้งนี้เพราะโปรแกรมประเภทนี้ ไม่ว่าจะเป็น Camfrog , MSN , ICQ , Yahoo ล้วนแต่เป็นโปรแกรมการสื่อสาร ที่มีทั้งคุณและโทษในการใช้ ข้อดีของโปรแกรมเหล่านี้ก็คือจะช่วยสร้างให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารมากขึ้น สามารถสื่อสารได้ทั้งทางสายตา เสียงพูด และมองเห็นหน้ากันได้ ส่วนข้อเสียส่วนใหญ่แล้วมักจะเกิดจากการใช้งานไปในทางที่ไม่ถูกไม่ควร ซึ่งตรงนี้ก็อยู่ที่ตัวของบุคคลแต่ละบุคคลในการที่จะเลือกทำเลือกใช้และเลือกที่จะนำสิ่งนั้นมาก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองค่ะ

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้า

นางสาวเสาวลักษณ์ มะยา
รหัสนักศึกษา 55191010148
สาขาภาษาไทย

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต
การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
ต้องให้ความร่วมมือจากทุกๆฝ่าย ไม่ว่าจะจากทางภาครัฐ ภาคเอกชน ตัวบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีสื่อสารและ ผู้ปกครองจะต้องดูแลบุตรหลานตัวเองในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่อยู่ในยุคไร้พรมแดนนี้ การสร้างจิตสำนึกต่อตนเองให้กับเด็กเยาวชนตั้งแต่ยังเล็กๆ และให้เด็กรู้ถึงโทษ ถึงปัญหา ให้เด็กรู้จักเลือกใช้โปรแกรมในทางที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ก็น่าจะเป็นทางป้องกันที่ดีต่อปัญหาเหล่านี้ได้ ทั้งนี้เพราะโปรแกรมประเภทนี้ ไม่ว่าจะเป็น Camfrog , MSN , ICQ , Yahoo ล้วนแต่เป็นโปรแกรมการสื่อสาร ที่มีทั้งคุณและโทษในการใช้ ข้อดีของโปรแกรมเหล่านี้ก็คือจะช่วยสร้างให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารมากขึ้น สามารถสื่อสารได้ทั้งทางสายตา เสียงพูด และมองเห็นหน้ากันได้ ส่วนข้อเสียส่วนใหญ่แล้วมักจะเกิดจากการใช้งานไปในทางที่ไม่ถูกไม่ควร ซึ่งตรงนี้ก็อยู่ที่ตัวของบุคคลแต่ละบุคคลในการที่จะเลือกทำเลือกใช้และเลือกที่จะนำสิ่งนั้นมาก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองค่ะ

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้า

นางสาวเสาวลักษณ์ มะยา
รหัสนักศึกษา 55191010148
สาขาภาษาไทย

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ เป็นโปรแกรมพิเศษชนิดหนึ่งที่เขียนขึ้นมาเพื่อให้จัดการกับตัวมันเอง โดยมีลักษณะเลียบแบบสิ่งมีชีวิต คือ เจริญเติบโตเองได้ ขยายและแพร่กระจายเองได้ สามารถอยู่รอดได้ โปรแกรมนี้เข้าไปอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ โดยผ่านทางแผ่นฟลอปปีดิสก์ และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ตอบ การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
1.ทุกครั้งที่นำซอฟแวร์ที่ไม่ทราบแหล่งที่ผลิต หรือได้รับแจกฟรี ต้องตรวจสอบให้แน่ใจก่อนนำไปใช้
2.ควรตรวจสอบทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์อย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง
3.เตรียมแผ่นที่สะอาดไว้สำหรับบูตเครื่องเมื่อคราวจำเป็น
4.ควรสำรองข้อมูลไว้เสมอ
5.พยายามสังเกตุสิ่งผิดปกติที่เกิดขึ้นกับเครื่องอย่างสม่ำเสมอ เช่น การทำงานที่ช้าลง ขนาดไฟล์ หน้าจอแสดงผลแปลก ๆ ไดรฟ์มีเสียงผิดปกติ
6.ไม่นำแผ่นดิสก์ไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ถ้ายังไม่ได้ปิดแถบป้องกันการบันทึก (Write Protect )
7.ควรแยกแผ่นโปรแกรม และแผ่นข้อมูลออกจากกันโดยเด็ดขาด
8.ไม่อนุญาตให้คนอื่นมาเล่นเครื่องคอมพิวเตอร์ของท่าน โดยปราศจากการควบคุมอย่าง ใกล้ชิด
9.ควรมีโปรแกรมป้องกันไวรัสไว้ใช้ตรวจสอบและป้องกัน โดยเฉพาะโปรแกรมป้องกันไวรัสรุ่นใหม่ ๆ จะมีประสิทธิภาพในการป้องกันได้ดีขึ้นมาก ในที่นี้จะขอแนะนำโปรแกรม SCAN ของบริษัท McAfee Associates รุ่น V.2.5.1 หรือ Norton Antivirus ปานงาม 46112380105
ตอบ จริยธรรมและจรรยาบรรณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
จริยธรรมและจรรยาบรรณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นสิ่งที่ผู้ประกอบการ นักคอมพิวเตอร์และผู้ใช้ ต้องตระหนักถึงร่วมกัน เพื่อความสงบสุขในสังคมสารสนเทศ สารสนเทศส่วนบุคคล ( Personal Information ) ปัจจุบันนี้มีความเสี่ยงในเรื่องของความปลอดภัยเพราะอาจมีผู้แอบเปิดจดหมายหรือข้อความส่วนตัวบนระบบเครือข่ายได้ บางกรณีอาจเป็นการใช้สารสนเทศในการทำลายชื่อเสียงหรือหาผลประโยชน์ในทางมิชอบ จะเห็นได้ว่าเรื่องของสารสนเทศส่วนบุคคล สามารถนำไปใช้ได้ทั้งในทางที่ดีและไม่ดี ดังนั้นผู้เกี่ยวข้องจะต้องตระหนักถึงบทบาทและจรรยาบรรณ ในการประกอบอาชีพของตนที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลส่วนบุคคลของผู้อื่นอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ( Computer Crime ) อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์เกิดขึ้นได้ในหลายรูปแบบ เช่น การลักลอบทำสำเนาซอฟต์แวร์เพื่อจำหน่าย การแอบใช้รหัสผ่านของผู้มีอำนาจเพื่อเข้าถึงและเรียกใช้ข้อมูลที่เป็นความลับของหน่วยงาน การแอบใช้อุปกรณ์ เช่น CPU ของระบบเมนเฟรมเพื่องานส่วนตัว การขโมยฮาร์ดแวร์ การทำลายระบบข้อมูล รวมทั้งการปฏิบัติการของกลุ่มที่เรียกว่า hacker ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นการพยายามเข้าใช้ระบบสารสนเทศของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต โดยเฉพาะการเข้าสู่ระบบเครือข่ายสารสนเทศของผู้อื่นโดยใช้รหัสปลอม
ตอบ พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550
มาตรา 5. เจ้าของไม่ให้เข้าระบบคอมพิวเตอร์ของเขา แล้วเราแอบเข้าไป ... เจอคุก 6 เดือน
มาตรา 6. แอบไปรู้วิธีการเข้าระบบคอมพิวเตอร์ของเขา แล้วเที่ยวไปโพนทะนาให้คนอื่นรู้ ... เจอคุกไม่เกินปี
มาตรา 7. ข้อมูลของเขา เขาเก็บไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ดี ๆ แล้วแอบไปล้วงของเขา ... เจอคุกไม่เกิน 2 ปี
มาตรา 8. เขาส่งข้อมูลหากันผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบส่วนตั๊วส่วนตัว แล้วเราทะลึ่งไปดักจับข้อมูลของเขา ... เจอคุกไม่เกิน 3 ปี
มาตรา 9. ข้อมูลของเขาอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ของเขาดี ๆ เราดันมือบอนไปโมมันซะงั้น ... เจอคุกไม่เกิน 5 ปี
มาตรา 10. ระบบคอมพิวเตอร์ของชาวบ้านทำงานอยู่ดี ๆ เราดันยิง packet, message, virus, trojan, worm ... เข้าไปก่อกวนจนระบบเขาเดี้ยง ... เจอคุกไม่เกิน 5 ปี
มาตรา 11. เขาไม่ได้อยากได้ข้อมูลหรืออีเมลล์จากเราเล้ย เราก็ทำตัวเป็นอีแอบเซ้าซี้ส่งให้เขาซ้ำ ๆ อยู่นั่นแหล่ะ จนทำให้เขาเบื่อหน่ายรำคาญ ... เจอปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
มาตรา 12. ถ้าเราทำผิดข้อ 5. กับ ข้อ 6. แล้วมันสร้างความพินาศใหญ่โตในระดับรากหญ้า งานนี้มีซวยแน่ เจอคุกสิบปีขึ้น
มาตรา 13. ถ้าเราสร้างซอฟต์แวร์ เพื่อช่วยให้ใคร ๆ ทำเรื่องแย่ ๆ ในข้อข้างบน ๆ ได้ ... เจอคุกไม่เกินปีนึงเหมือนกัน
มาตรา 14. โป๊ก็โดน, โกหกก็โดน, เบนโลก็โดน, ท้าทายอำนาจรัฐก็โดน ... เจอคุกไม่เกิน 5 ปี
มาตรา 15. ใครเป็นเจ้าของเว็บ แล้วยอมให้เกิดข้อ 10. โดนเหมือนกัน ... เจอคุกไม่เกิน 5 ปี
มาตรา 16. ถ้าเราเรียกให้ชาวบ้านเข้ามาดูงานของศิลปินข้างถนน ซึ่งชอบเอารูปชาวบ้านมาตัดต่อ เตรียมใจไว้เลยมีโดน ... เจอคุกไม่เกิน 3 ปี
มาตรา 17(1). เราทำผิดที่เว็บไซต์ซึ่งอยู่เมืองนอก แต่ถ้าเราเป็นคนไทย หึ ๆ อย่าคิดว่ารอด โดนแหง ๆ
มาตรา 17(2). ฝรั่งทำผิดกับเรา แล้วมันอยู่เมืองนอกอีกต่างหาก เราเป็นคนไทย

นางสาว ภัสราภรณ์ สินสอน 55128040222
รัฐประศาสนศาสตร์(การปกครองท้องถิ่น)หมู่2

Unknown กล่าวว่า...

dgไวรัสคอมพิวเตอร์ เป็นโปรแกรมพิเศษชนิดหนึ่งที่เขียนขึ้นมาเพื่อให้จัดการกับตัวมันเอง โดยมีลักษณะเลียบแบบสิ่งมีชีวิต คือ เจริญเติบโตเองได้ ขยายและแพร่กระจายเองได้ สามารถอยู่รอดได้ โปรแกรมนี้เข้าไปอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ โดยผ่านทางแผ่นฟลอปปีดิสก์ และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ตอบ การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
1.ทุกครั้งที่นำซอฟแวร์ที่ไม่ทราบแหล่งที่ผลิต หรือได้รับแจกฟรี ต้องตรวจสอบให้แน่ใจก่อนนำไปใช้
2.ควรตรวจสอบทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์อย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง
3.เตรียมแผ่นที่สะอาดไว้สำหรับบูตเครื่องเมื่อคราวจำเป็น
4.ควรสำรองข้อมูลไว้เสมอ
5.พยายามสังเกตุสิ่งผิดปกติที่เกิดขึ้นกับเครื่องอย่างสม่ำเสมอ เช่น การทำงานที่ช้าลง ขนาดไฟล์ หน้าจอแสดงผลแปลก ๆ ไดรฟ์มีเสียงผิดปกติ
6.ไม่นำแผ่นดิสก์ไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ถ้ายังไม่ได้ปิดแถบป้องกันการบันทึก (Write Protect )
7.ควรแยกแผ่นโปรแกรม และแผ่นข้อมูลออกจากกันโดยเด็ดขาด
8.ไม่อนุญาตให้คนอื่นมาเล่นเครื่องคอมพิวเตอร์ของท่าน โดยปราศจากการควบคุมอย่าง ใกล้ชิด
9.ควรมีโปรแกรมป้องกันไวรัสไว้ใช้ตรวจสอบและป้องกัน โดยเฉพาะโปรแกรมป้องกันไวรัสรุ่นใหม่ ๆ จะมีประสิทธิภาพในการป้องกันได้ดีขึ้นมาก ในที่นี้จะขอแนะนำโปรแกรม SCAN ของบริษัท McAfee Associates รุ่น V.2.5.1 หรือ Norton Antivirus ปานงาม 46112380105
ตอบ จริยธรรมและจรรยาบรรณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
จริยธรรมและจรรยาบรรณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นสิ่งที่ผู้ประกอบการ นักคอมพิวเตอร์และผู้ใช้ ต้องตระหนักถึงร่วมกัน เพื่อความสงบสุขในสังคมสารสนเทศ สารสนเทศส่วนบุคคล ( Personal Information ) ปัจจุบันนี้มีความเสี่ยงในเรื่องของความปลอดภัยเพราะอาจมีผู้แอบเปิดจดหมายหรือข้อความส่วนตัวบนระบบเครือข่ายได้ บางกรณีอาจเป็นการใช้สารสนเทศในการทำลายชื่อเสียงหรือหาผลประโยชน์ในทางมิชอบ จะเห็นได้ว่าเรื่องของสารสนเทศส่วนบุคคล สามารถนำไปใช้ได้ทั้งในทางที่ดีและไม่ดี ดังนั้นผู้เกี่ยวข้องจะต้องตระหนักถึงบทบาทและจรรยาบรรณ ในการประกอบอาชีพของตนที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลส่วนบุคคลของผู้อื่นอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ( Computer Crime ) อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์เกิดขึ้นได้ในหลายรูปแบบ เช่น การลักลอบทำสำเนาซอฟต์แวร์เพื่อจำหน่าย การแอบใช้รหัสผ่านของผู้มีอำนาจเพื่อเข้าถึงและเรียกใช้ข้อมูลที่เป็นความลับของหน่วยงาน การแอบใช้อุปกรณ์ เช่น CPU ของระบบเมนเฟรมเพื่องานส่วนตัว การขโมยฮาร์ดแวร์ การทำลายระบบข้อมูล รวมทั้งการปฏิบัติการของกลุ่มที่เรียกว่า hacker ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นการพยายามเข้าใช้ระบบสารสนเทศของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต โดยเฉพาะการเข้าสู่ระบบเครือข่ายสารสนเทศของผู้อื่นโดยใช้รหัสปลอม
ตอบ พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550
มาตรา 5. เจ้าของไม่ให้เข้าระบบคอมพิวเตอร์ของเขา แล้วเราแอบเข้าไป ... เจอคุก 6 เดือน
มาตรา 6. แอบไปรู้วิธีการเข้าระบบคอมพิวเตอร์ของเขา แล้วเที่ยวไปโพนทะนาให้คนอื่นรู้ ... เจอคุกไม่เกินปี
มาตรา 7. ข้อมูลของเขา เขาเก็บไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ดี ๆ แล้วแอบไปล้วงของเขา ... เจอคุกไม่เกิน 2 ปี
มาตรา 8. เขาส่งข้อมูลหากันผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบส่วนตั๊วส่วนตัว แล้วเราทะลึ่งไปดักจับข้อมูลของเขา ... เจอคุกไม่เกิน 3 ปี
มาตรา 9. ข้อมูลของเขาอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ของเขาดี ๆ เราดันมือบอนไปโมมันซะงั้น ... เจอคุกไม่เกิน 5 ปี
มาตรา 10. ระบบคอมพิวเตอร์ของชาวบ้านทำงานอยู่ดี ๆ เราดันยิง packet, message, virus, trojan, worm ... เข้าไปก่อกวนจนระบบเขาเดี้ยง ... เจอคุกไม่เกิน 5 ปี
มาตรา 11. เขาไม่ได้อยากได้ข้อมูลหรืออีเมลล์จากเราเล้ย เราก็ทำตัวเป็นอีแอบเซ้าซี้ส่งให้เขาซ้ำ ๆ อยู่นั่นแหล่ะ จนทำให้เขาเบื่อหน่ายรำคาญ ... เจอปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
มาตรา 12. ถ้าเราทำผิดข้อ 5. กับ ข้อ 6. แล้วมันสร้างความพินาศใหญ่โตในระดับรากหญ้า งานนี้มีซวยแน่ เจอคุกสิบปีขึ้น
มาตรา 13. ถ้าเราสร้างซอฟต์แวร์ เพื่อช่วยให้ใคร ๆ ทำเรื่องแย่ ๆ ในข้อข้างบน ๆ ได้ ... เจอคุกไม่เกินปีนึงเหมือนกัน
มาตรา 14. โป๊ก็โดน, โกหกก็โดน, เบนโลก็โดน, ท้าทายอำนาจรัฐก็โดน ... เจอคุกไม่เกิน 5 ปี
มาตรา 15. ใครเป็นเจ้าของเว็บ แล้วยอมให้เกิดข้อ 10. โดนเหมือนกัน ... เจอคุกไม่เกิน 5 ปี
มาตรา 16. ถ้าเราเรียกให้ชาวบ้านเข้ามาดูงานของศิลปินข้างถนน ซึ่งชอบเอารูปชาวบ้านมาตัดต่อ เตรียมใจไว้เลยมีโดน ... เจอคุกไม่เกิน 3 ปี
มาตรา 17(1). เราทำผิดที่เว็บไซต์ซึ่งอยู่เมืองนอก แต่ถ้าเราเป็นคนไทย หึ ๆ อย่าคิดว่ารอด โดนแหง ๆ
มาตรา 17(2). ฝรั่งทำผิดกับเรา แล้วมันอยู่เมืองนอกอีกต่างหาก เราเป็นคนไทย

นางสาว ภัสราภรณ์ สินสอน 55128040222
รัฐประศาสนศาสตร์(การปกครองท้องถิ่น)หมู่2

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ เป็นโปรแกรมพิเศษชนิดหนึ่งที่เขียนขึ้นมาเพื่อให้จัดการกับตัวมันเอง โดยมีลักษณะเลียบแบบสิ่งมีชีวิต คือ เจริญเติบโตเองได้ ขยายและแพร่กระจายเองได้ สามารถอยู่รอดได้ โปรแกรมนี้เข้าไปอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ โดยผ่านทางแผ่นฟลอปปีดิสก์ และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ตอบ การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
1.ทุกครั้งที่นำซอฟแวร์ที่ไม่ทราบแหล่งที่ผลิต หรือได้รับแจกฟรี ต้องตรวจสอบให้แน่ใจก่อนนำไปใช้
2.ควรตรวจสอบทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์อย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง
3.เตรียมแผ่นที่สะอาดไว้สำหรับบูตเครื่องเมื่อคราวจำเป็น
4.ควรสำรองข้อมูลไว้เสมอ
5.พยายามสังเกตุสิ่งผิดปกติที่เกิดขึ้นกับเครื่องอย่างสม่ำเสมอ เช่น การทำงานที่ช้าลง ขนาดไฟล์ หน้าจอแสดงผลแปลก ๆ ไดรฟ์มีเสียงผิดปกติ
6.ไม่นำแผ่นดิสก์ไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ถ้ายังไม่ได้ปิดแถบป้องกันการบันทึก (Write Protect )
7.ควรแยกแผ่นโปรแกรม และแผ่นข้อมูลออกจากกันโดยเด็ดขาด
8.ไม่อนุญาตให้คนอื่นมาเล่นเครื่องคอมพิวเตอร์ของท่าน โดยปราศจากการควบคุมอย่าง ใกล้ชิด
9.ควรมีโปรแกรมป้องกันไวรัสไว้ใช้ตรวจสอบและป้องกัน โดยเฉพาะโปรแกรมป้องกันไวรัสรุ่นใหม่ ๆ จะมีประสิทธิภาพในการป้องกันได้ดีขึ้นมาก ในที่นี้จะขอแนะนำโปรแกรม SCAN ของบริษัท McAfee Associates รุ่น V.2.5.1 หรือ Norton Antivirus ปานงาม 46112380105
ตอบ จริยธรรมและจรรยาบรรณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
จริยธรรมและจรรยาบรรณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นสิ่งที่ผู้ประกอบการ นักคอมพิวเตอร์และผู้ใช้ ต้องตระหนักถึงร่วมกัน เพื่อความสงบสุขในสังคมสารสนเทศ สารสนเทศส่วนบุคคล ( Personal Information ) ปัจจุบันนี้มีความเสี่ยงในเรื่องของความปลอดภัยเพราะอาจมีผู้แอบเปิดจดหมายหรือข้อความส่วนตัวบนระบบเครือข่ายได้ บางกรณีอาจเป็นการใช้สารสนเทศในการทำลายชื่อเสียงหรือหาผลประโยชน์ในทางมิชอบ จะเห็นได้ว่าเรื่องของสารสนเทศส่วนบุคคล สามารถนำไปใช้ได้ทั้งในทางที่ดีและไม่ดี ดังนั้นผู้เกี่ยวข้องจะต้องตระหนักถึงบทบาทและจรรยาบรรณ ในการประกอบอาชีพของตนที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลส่วนบุคคลของผู้อื่นอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ( Computer Crime ) อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์เกิดขึ้นได้ในหลายรูปแบบ เช่น การลักลอบทำสำเนาซอฟต์แวร์เพื่อจำหน่าย การแอบใช้รหัสผ่านของผู้มีอำนาจเพื่อเข้าถึงและเรียกใช้ข้อมูลที่เป็นความลับของหน่วยงาน การแอบใช้อุปกรณ์ เช่น CPU ของระบบเมนเฟรมเพื่องานส่วนตัว การขโมยฮาร์ดแวร์ การทำลายระบบข้อมูล รวมทั้งการปฏิบัติการของกลุ่มที่เรียกว่า hacker ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นการพยายามเข้าใช้ระบบสารสนเทศของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต โดยเฉพาะการเข้าสู่ระบบเครือข่ายสารสนเทศของผู้อื่นโดยใช้รหัสปลอม
ตอบ พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550
มาตรา 5. เจ้าของไม่ให้เข้าระบบคอมพิวเตอร์ของเขา แล้วเราแอบเข้าไป ... เจอคุก 6 เดือน
มาตรา 6. แอบไปรู้วิธีการเข้าระบบคอมพิวเตอร์ของเขา แล้วเที่ยวไปโพนทะนาให้คนอื่นรู้ ... เจอคุกไม่เกินปี
มาตรา 7. ข้อมูลของเขา เขาเก็บไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ดี ๆ แล้วแอบไปล้วงของเขา ... เจอคุกไม่เกิน 2 ปี
มาตรา 8. เขาส่งข้อมูลหากันผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบส่วนตั๊วส่วนตัว แล้วเราทะลึ่งไปดักจับข้อมูลของเขา ... เจอคุกไม่เกิน 3 ปี
มาตรา 9. ข้อมูลของเขาอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ของเขาดี ๆ เราดันมือบอนไปโมมันซะงั้น ... เจอคุกไม่เกิน 5 ปี
มาตรา 10. ระบบคอมพิวเตอร์ของชาวบ้านทำงานอยู่ดี ๆ เราดันยิง packet, message, virus, trojan, worm ... เข้าไปก่อกวนจนระบบเขาเดี้ยง ... เจอคุกไม่เกิน 5 ปี
มาตรา 11. เขาไม่ได้อยากได้ข้อมูลหรืออีเมลล์จากเราเล้ย เราก็ทำตัวเป็นอีแอบเซ้าซี้ส่งให้เขาซ้ำ ๆ อยู่นั่นแหล่ะ จนทำให้เขาเบื่อหน่ายรำคาญ ... เจอปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
มาตรา 12. ถ้าเราทำผิดข้อ 5. กับ ข้อ 6. แล้วมันสร้างความพินาศใหญ่โตในระดับรากหญ้า งานนี้มีซวยแน่ เจอคุกสิบปีขึ้น
มาตรา 13. ถ้าเราสร้างซอฟต์แวร์ เพื่อช่วยให้ใคร ๆ ทำเรื่องแย่ ๆ ในข้อข้างบน ๆ ได้ ... เจอคุกไม่เกินปีนึงเหมือนกัน
มาตรา 14. โป๊ก็โดน, โกหกก็โดน, เบนโลก็โดน, ท้าทายอำนาจรัฐก็โดน ... เจอคุกไม่เกิน 5 ปี
มาตรา 15. ใครเป็นเจ้าของเว็บ แล้วยอมให้เกิดข้อ 10. โดนเหมือนกัน ... เจอคุกไม่เกิน 5 ปี
มาตรา 16. ถ้าเราเรียกให้ชาวบ้านเข้ามาดูงานของศิลปินข้างถนน ซึ่งชอบเอารูปชาวบ้านมาตัดต่อ เตรียมใจไว้เลยมีโดน ... เจอคุกไม่เกิน 3 ปี
มาตรา 17(1). เราทำผิดที่เว็บไซต์ซึ่งอยู่เมืองนอก แต่ถ้าเราเป็นคนไทย หึ ๆ อย่าคิดว่ารอด โดนแหง ๆ
มาตรา 17(2). ฝรั่งทำผิดกับเรา แล้วมันอยู่เมืองนอกอีกต่างหาก เราเป็นคนไทย

นางสาว ภัสราภรณ์ สินสอน 55128040222
รัฐประศาสนศาสตร์(การปกครองท้องถิ่น)หมู่2

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ เป็นโปรแกรมพิเศษชนิดหนึ่งที่เขียนขึ้นมาเพื่อให้จัดการกับตัวมันเอง โดยมีลักษณะเลียบแบบสิ่งมีชีวิต คือ เจริญเติบโตเองได้ ขยายและแพร่กระจายเองได้ สามารถอยู่รอดได้ โปรแกรมนี้เข้าไปอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ โดยผ่านทางแผ่นฟลอปปีดิสก์ และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ตอบ การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
1.ทุกครั้งที่นำซอฟแวร์ที่ไม่ทราบแหล่งที่ผลิต หรือได้รับแจกฟรี ต้องตรวจสอบให้แน่ใจก่อนนำไปใช้
2.ควรตรวจสอบทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์อย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง
3.เตรียมแผ่นที่สะอาดไว้สำหรับบูตเครื่องเมื่อคราวจำเป็น
4.ควรสำรองข้อมูลไว้เสมอ
5.พยายามสังเกตุสิ่งผิดปกติที่เกิดขึ้นกับเครื่องอย่างสม่ำเสมอ เช่น การทำงานที่ช้าลง ขนาดไฟล์ หน้าจอแสดงผลแปลก ๆ ไดรฟ์มีเสียงผิดปกติ
6.ไม่นำแผ่นดิสก์ไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ถ้ายังไม่ได้ปิดแถบป้องกันการบันทึก (Write Protect )
7.ควรแยกแผ่นโปรแกรม และแผ่นข้อมูลออกจากกันโดยเด็ดขาด
8.ไม่อนุญาตให้คนอื่นมาเล่นเครื่องคอมพิวเตอร์ของท่าน โดยปราศจากการควบคุมอย่าง ใกล้ชิด
9.ควรมีโปรแกรมป้องกันไวรัสไว้ใช้ตรวจสอบและป้องกัน โดยเฉพาะโปรแกรมป้องกันไวรัสรุ่นใหม่ ๆ จะมีประสิทธิภาพในการป้องกันได้ดีขึ้นมาก ในที่นี้จะขอแนะนำโปรแกรม SCAN ของบริษัท McAfee Associates รุ่น V.2.5.1 หรือ Norton Antivirus ปานงาม 46112380105
ตอบ จริยธรรมและจรรยาบรรณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
จริยธรรมและจรรยาบรรณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นสิ่งที่ผู้ประกอบการ นักคอมพิวเตอร์และผู้ใช้ ต้องตระหนักถึงร่วมกัน เพื่อความสงบสุขในสังคมสารสนเทศ สารสนเทศส่วนบุคคล ( Personal Information ) ปัจจุบันนี้มีความเสี่ยงในเรื่องของความปลอดภัยเพราะอาจมีผู้แอบเปิดจดหมายหรือข้อความส่วนตัวบนระบบเครือข่ายได้ บางกรณีอาจเป็นการใช้สารสนเทศในการทำลายชื่อเสียงหรือหาผลประโยชน์ในทางมิชอบ จะเห็นได้ว่าเรื่องของสารสนเทศส่วนบุคคล สามารถนำไปใช้ได้ทั้งในทางที่ดีและไม่ดี ดังนั้นผู้เกี่ยวข้องจะต้องตระหนักถึงบทบาทและจรรยาบรรณ ในการประกอบอาชีพของตนที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลส่วนบุคคลของผู้อื่นอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ( Computer Crime ) อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์เกิดขึ้นได้ในหลายรูปแบบ เช่น การลักลอบทำสำเนาซอฟต์แวร์เพื่อจำหน่าย การแอบใช้รหัสผ่านของผู้มีอำนาจเพื่อเข้าถึงและเรียกใช้ข้อมูลที่เป็นความลับของหน่วยงาน การแอบใช้อุปกรณ์ เช่น CPU ของระบบเมนเฟรมเพื่องานส่วนตัว การขโมยฮาร์ดแวร์ การทำลายระบบข้อมูล รวมทั้งการปฏิบัติการของกลุ่มที่เรียกว่า hacker ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นการพยายามเข้าใช้ระบบสารสนเทศของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต โดยเฉพาะการเข้าสู่ระบบเครือข่ายสารสนเทศของผู้อื่นโดยใช้รหัสปลอม
ตอบ พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550
มาตรา 5. เจ้าของไม่ให้เข้าระบบคอมพิวเตอร์ของเขา แล้วเราแอบเข้าไป ... เจอคุก 6 เดือน
มาตรา 6. แอบไปรู้วิธีการเข้าระบบคอมพิวเตอร์ของเขา แล้วเที่ยวไปโพนทะนาให้คนอื่นรู้ ... เจอคุกไม่เกินปี
มาตรา 7. ข้อมูลของเขา เขาเก็บไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ดี ๆ แล้วแอบไปล้วงของเขา ... เจอคุกไม่เกิน 2 ปี
มาตรา 8. เขาส่งข้อมูลหากันผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบส่วนตั๊วส่วนตัว แล้วเราทะลึ่งไปดักจับข้อมูลของเขา ... เจอคุกไม่เกิน 3 ปี
มาตรา 9. ข้อมูลของเขาอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ของเขาดี ๆ เราดันมือบอนไปโมมันซะงั้น ... เจอคุกไม่เกิน 5 ปี
มาตรา 10. ระบบคอมพิวเตอร์ของชาวบ้านทำงานอยู่ดี ๆ เราดันยิง packet, message, virus, trojan, worm ... เข้าไปก่อกวนจนระบบเขาเดี้ยง ... เจอคุกไม่เกิน 5 ปี
มาตรา 11. เขาไม่ได้อยากได้ข้อมูลหรืออีเมลล์จากเราเล้ย เราก็ทำตัวเป็นอีแอบเซ้าซี้ส่งให้เขาซ้ำ ๆ อยู่นั่นแหล่ะ จนทำให้เขาเบื่อหน่ายรำคาญ ... เจอปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
มาตรา 12. ถ้าเราทำผิดข้อ 5. กับ ข้อ 6. แล้วมันสร้างความพินาศใหญ่โตในระดับรากหญ้า งานนี้มีซวยแน่ เจอคุกสิบปีขึ้น
มาตรา 13. ถ้าเราสร้างซอฟต์แวร์ เพื่อช่วยให้ใคร ๆ ทำเรื่องแย่ ๆ ในข้อข้างบน ๆ ได้ ... เจอคุกไม่เกินปีนึงเหมือนกัน
มาตรา 14. โป๊ก็โดน, โกหกก็โดน, เบนโลก็โดน, ท้าทายอำนาจรัฐก็โดน ... เจอคุกไม่เกิน 5 ปี
มาตรา 15. ใครเป็นเจ้าของเว็บ แล้วยอมให้เกิดข้อ 10. โดนเหมือนกัน ... เจอคุกไม่เกิน 5 ปี
มาตรา 16. ถ้าเราเรียกให้ชาวบ้านเข้ามาดูงานของศิลปินข้างถนน ซึ่งชอบเอารูปชาวบ้านมาตัดต่อ เตรียมใจไว้เลยมีโดน ... เจอคุกไม่เกิน 3 ปี
มาตรา 17(1). เราทำผิดที่เว็บไซต์ซึ่งอยู่เมืองนอก แต่ถ้าเราเป็นคนไทย หึ ๆ อย่าคิดว่ารอด โดนแหง ๆ
มาตรา 17(2). ฝรั่งทำผิดกับเรา แล้วมันอยู่เมืองนอกอีกต่างหาก เราเป็นคนไทย

นางสาว ภัสราภรณ์ สินสอน 55128040222
รัฐประศาสนศาสตร์(การปกครองท้องถิ่น)หมู่2

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นางสาวพัชราภรณ์ ผาผล 55191010131 สาขาภาษาไทย

Unknown กล่าวว่า...


ไวรัส คือ โปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูล ไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การที่คอมพิวเตอร์ใดติดไวรัส หมายถึงว่าไวรัสได้เข้าไปฝังตัวอยู่ในหน่วยความจำคอมพิวเตอร์เรียบร้อยแล้ว เนื่องจากไวรัสก็เป็นแค่โปรแกรมๆ หนึ่ง การที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ในหน่วยความจำได้นั้นจะต้องมีการถูกเรียกให้ทำงานได้นั้น ยังขึ้นอยู่กับประเภทของไวรัสแต่ละตัว ปกติผู้ใช้มักจะไม่รู้ัตัวว่าได้ทำการปลุกคอมพิวเตอร์ไวรัสขึ้นมาทำงานแ้้ล้ว
จุดประสงค์ของการทำงานของไวรัสแต่ละตัวขึ้นอยู่กับตัวผู้เขียนโปรแกรมไวรัสนั้น เช่น อาจสร้างไวรัสให้ไปทำลายโปรแกรมหรือข้อมูลอื่นๆ ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือแสดงข้อความวิ่งไปมาบนหน้าจอ เป็นต้น
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
1. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัส
2. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะกับตัวเอง
3. ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสให้เป็น
4. อัพเดตฐานข้อมูลไวรัส (Definition) อยู่เสมอ
5. เปลี่ยนเวอร์ชันใหม่ทันทีที่มีโอกาส
6. อย่ารับไฟล์แปลกหน้า และติดตามข่าวสารอยู่เสมอ
7. ติดไวรัสแล้วอย่ากลัว
จรรยาบรรณในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3.ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8.ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9.คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10.ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
1.มาตรา 5 การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์
2.มาตรา 6 การล่วงรู้มาตรการการเข้าถึง
3.มาตรา 7 การเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์
4.มาตรา 8 การดักข้อมูลคอมพิวเตอร์
5.มาตรา 9 การรบกวนข้อมูลคอมพิวเตอร์
6.มาตรา 10 การรบกวนระบบคอมพิวเตอร์
7.มาตรา 11 สแปมเมล์
8.มาตรา 12 การกระทำความผิดต่อความมั่นคง
9.มาตรา 13 การจำหน่าย เผยแพร่ชุดคำสั่งเพื่อใช้กระทำความผิด
10.มาตรา 14 การปลอมแปลงข้อมูลคอมพิวเตอร์ เผยแพร่เนื้อหาอันไม่เหมาะสม
11.มาตรา 15 ความรับผิดของผู้ให้บริการ
12.มาตรา 16 การเผยแพร่ภาพจากการตัดต่อ ดัดแปลง
13.มาตรา 17 การกระทำผิดตามพระราชบัญญัตินี้นอกราชอาณาจักร

นางสาวจิราภรณ์ สุวงษ์
55191890159 พลศึกษา

Unknown กล่าวว่า...



ไวรัสคอมพิวเตอร์

ไวรัส คือโปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูลไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การที่คอมพิวเตอร์ใดติดไวรัส หมายถึงว่าไวรัสได้เข้าไปผังตัวอยู่ในหน่วยความจำ คอมพิวเตอร์ เรียบร้อยแล้ว เนื่องจากไวรัสก็เป็นแค่โปรแกรม ๆ หนึ่งการที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ ในหน่วยความจำได้นั้นจะต้องมีการถูกเรียกให้ทำงานได้นั้นยังขึ้นอยู่กับประเภทของไวรัส แต่ละตัวปกติผู้ใช้มักจะไม่รู้ตัวว่าได้ทำการปลุกคอมพิวเตอร์ไวรัสขึ้นมาทำงานแล้ว

การป้องกัน
1. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัส
2. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะกับตัวเอง
3. ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสให้เป็น
4.อัพเดตฐานข้อมูลไวรัส (Definition) อยู่เสมอ
5. เปลี่ยนเวอร์ชันใหม่ทันทีที่มีโอกาส
6. อย่ารับไฟล์แปลกหน้า และติดตามข่าวสารอยู่เสมอ
7. ติดไวรัสแล้วอย่ากลัว

จรรยาบรรณการใช้ ICT
จรรยาบรรณการใช้ ICT 10 ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์
1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้
“ระบบคอมพิวเตอร์”หมายความว่า อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมการทำงานเข้าด้วยกัน โดยได้มีการกำหนดคำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และแนวทางปฏิบัติงานให้อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลโดยอัตโนมัติ
“ข้อมูลคอมพิวเตอร์”หมายความว่า ข้อมูล ข้อความ คำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใดบรรดาที่อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้
“ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์”หมายความว่า ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงถึงแหล่งกำเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลาชนิดของบริการ หรืออื่นๆ
“ผู้ให้บริการ”หมายความว่า
- ผู้ให้บริการแก่บุคคลอื่นในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต หรือให้สามารถติดต่อถึงกันโดยประการอื่น
- ผู้ให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น
“ผู้ใช้บริการ”หมายความว่า ผู้ใช้บริการของผู้ให้บริการไม่ว่าต้องเสียค่าใช้บริการหรือไม่ก็ตาม
“พนักงานเจ้าหน้าที่”หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
“รัฐมนตรี”หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้












































Unknown กล่าวว่า...



ไวรัสคอมพิวเตอร์

ไวรัส คือโปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูลไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การที่คอมพิวเตอร์ใดติดไวรัส หมายถึงว่าไวรัสได้เข้าไปผังตัวอยู่ในหน่วยความจำ คอมพิวเตอร์ เรียบร้อยแล้ว เนื่องจากไวรัสก็เป็นแค่โปรแกรม ๆ หนึ่งการที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ ในหน่วยความจำได้นั้นจะต้องมีการถูกเรียกให้ทำงานได้นั้นยังขึ้นอยู่กับประเภทของไวรัส แต่ละตัวปกติผู้ใช้มักจะไม่รู้ตัวว่าได้ทำการปลุกคอมพิวเตอร์ไวรัสขึ้นมาทำงานแล้ว

การป้องกัน
1. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัส
2. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะกับตัวเอง
3. ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสให้เป็น
4.อัพเดตฐานข้อมูลไวรัส (Definition) อยู่เสมอ
5. เปลี่ยนเวอร์ชันใหม่ทันทีที่มีโอกาส
6. อย่ารับไฟล์แปลกหน้า และติดตามข่าวสารอยู่เสมอ
7. ติดไวรัสแล้วอย่ากลัว

จรรยาบรรณการใช้ ICT
จรรยาบรรณการใช้ ICT 10 ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์
1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้
“ระบบคอมพิวเตอร์”หมายความว่า อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมการทำงานเข้าด้วยกัน โดยได้มีการกำหนดคำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และแนวทางปฏิบัติงานให้อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลโดยอัตโนมัติ
“ข้อมูลคอมพิวเตอร์”หมายความว่า ข้อมูล ข้อความ คำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใดบรรดาที่อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้
“ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์”หมายความว่า ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงถึงแหล่งกำเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลาชนิดของบริการ หรืออื่นๆ
“ผู้ให้บริการ”หมายความว่า
- ผู้ให้บริการแก่บุคคลอื่นในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต หรือให้สามารถติดต่อถึงกันโดยประการอื่น
- ผู้ให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น
“ผู้ใช้บริการ”หมายความว่า ผู้ใช้บริการของผู้ให้บริการไม่ว่าต้องเสียค่าใช้บริการหรือไม่ก็ตาม
“พนักงานเจ้าหน้าที่”หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
“รัฐมนตรี”หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้












































Unknown กล่าวว่า...



ไวรัสคอมพิวเตอร์

ไวรัส คือโปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูลไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การที่คอมพิวเตอร์ใดติดไวรัส หมายถึงว่าไวรัสได้เข้าไปผังตัวอยู่ในหน่วยความจำ คอมพิวเตอร์ เรียบร้อยแล้ว เนื่องจากไวรัสก็เป็นแค่โปรแกรม ๆ หนึ่งการที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ ในหน่วยความจำได้นั้นจะต้องมีการถูกเรียกให้ทำงานได้นั้นยังขึ้นอยู่กับประเภทของไวรัส แต่ละตัวปกติผู้ใช้มักจะไม่รู้ตัวว่าได้ทำการปลุกคอมพิวเตอร์ไวรัสขึ้นมาทำงานแล้ว

การป้องกัน
1. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัส
2. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะกับตัวเอง
3. ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสให้เป็น
4.อัพเดตฐานข้อมูลไวรัส (Definition) อยู่เสมอ
5. เปลี่ยนเวอร์ชันใหม่ทันทีที่มีโอกาส
6. อย่ารับไฟล์แปลกหน้า และติดตามข่าวสารอยู่เสมอ
7. ติดไวรัสแล้วอย่ากลัว

จรรยาบรรณการใช้ ICT
จรรยาบรรณการใช้ ICT 10 ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์
1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้
“ระบบคอมพิวเตอร์”หมายความว่า อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมการทำงานเข้าด้วยกัน โดยได้มีการกำหนดคำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และแนวทางปฏิบัติงานให้อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลโดยอัตโนมัติ
“ข้อมูลคอมพิวเตอร์”หมายความว่า ข้อมูล ข้อความ คำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใดบรรดาที่อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้
“ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์”หมายความว่า ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงถึงแหล่งกำเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลาชนิดของบริการ หรืออื่นๆ
“ผู้ให้บริการ”หมายความว่า
- ผู้ให้บริการแก่บุคคลอื่นในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต หรือให้สามารถติดต่อถึงกันโดยประการอื่น
- ผู้ให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น
“ผู้ใช้บริการ”หมายความว่า ผู้ใช้บริการของผู้ให้บริการไม่ว่าต้องเสียค่าใช้บริการหรือไม่ก็ตาม
“พนักงานเจ้าหน้าที่”หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
“รัฐมนตรี”หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้












































Unknown กล่าวว่า...



ไวรัสคอมพิวเตอร์

ไวรัส คือโปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูลไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การที่คอมพิวเตอร์ใดติดไวรัส หมายถึงว่าไวรัสได้เข้าไปผังตัวอยู่ในหน่วยความจำ คอมพิวเตอร์ เรียบร้อยแล้ว เนื่องจากไวรัสก็เป็นแค่โปรแกรม ๆ หนึ่งการที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ ในหน่วยความจำได้นั้นจะต้องมีการถูกเรียกให้ทำงานได้นั้นยังขึ้นอยู่กับประเภทของไวรัส แต่ละตัวปกติผู้ใช้มักจะไม่รู้ตัวว่าได้ทำการปลุกคอมพิวเตอร์ไวรัสขึ้นมาทำงานแล้ว

การป้องกัน
1. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัส
2. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะกับตัวเอง
3. ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสให้เป็น
4.อัพเดตฐานข้อมูลไวรัส (Definition) อยู่เสมอ
5. เปลี่ยนเวอร์ชันใหม่ทันทีที่มีโอกาส
6. อย่ารับไฟล์แปลกหน้า และติดตามข่าวสารอยู่เสมอ
7. ติดไวรัสแล้วอย่ากลัว

จรรยาบรรณการใช้ ICT
จรรยาบรรณการใช้ ICT 10 ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์
1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้
“ระบบคอมพิวเตอร์”หมายความว่า อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมการทำงานเข้าด้วยกัน โดยได้มีการกำหนดคำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และแนวทางปฏิบัติงานให้อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลโดยอัตโนมัติ
“ข้อมูลคอมพิวเตอร์”หมายความว่า ข้อมูล ข้อความ คำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใดบรรดาที่อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้
“ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์”หมายความว่า ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงถึงแหล่งกำเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลาชนิดของบริการ หรืออื่นๆ
“ผู้ให้บริการ”หมายความว่า
- ผู้ให้บริการแก่บุคคลอื่นในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต หรือให้สามารถติดต่อถึงกันโดยประการอื่น
- ผู้ให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น
“ผู้ใช้บริการ”หมายความว่า ผู้ใช้บริการของผู้ให้บริการไม่ว่าต้องเสียค่าใช้บริการหรือไม่ก็ตาม
“พนักงานเจ้าหน้าที่”หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
“รัฐมนตรี”หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้












































Unknown กล่าวว่า...



ไวรัสคอมพิวเตอร์

ไวรัส คือโปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูลไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การที่คอมพิวเตอร์ใดติดไวรัส หมายถึงว่าไวรัสได้เข้าไปผังตัวอยู่ในหน่วยความจำ คอมพิวเตอร์ เรียบร้อยแล้ว เนื่องจากไวรัสก็เป็นแค่โปรแกรม ๆ หนึ่งการที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ ในหน่วยความจำได้นั้นจะต้องมีการถูกเรียกให้ทำงานได้นั้นยังขึ้นอยู่กับประเภทของไวรัส แต่ละตัวปกติผู้ใช้มักจะไม่รู้ตัวว่าได้ทำการปลุกคอมพิวเตอร์ไวรัสขึ้นมาทำงานแล้ว

การป้องกัน
1. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัส
2. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะกับตัวเอง
3. ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสให้เป็น
4.อัพเดตฐานข้อมูลไวรัส (Definition) อยู่เสมอ
5. เปลี่ยนเวอร์ชันใหม่ทันทีที่มีโอกาส
6. อย่ารับไฟล์แปลกหน้า และติดตามข่าวสารอยู่เสมอ
7. ติดไวรัสแล้วอย่ากลัว

จรรยาบรรณการใช้ ICT
จรรยาบรรณการใช้ ICT 10 ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์
1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้
“ระบบคอมพิวเตอร์”หมายความว่า อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมการทำงานเข้าด้วยกัน โดยได้มีการกำหนดคำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และแนวทางปฏิบัติงานให้อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลโดยอัตโนมัติ
“ข้อมูลคอมพิวเตอร์”หมายความว่า ข้อมูล ข้อความ คำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใดบรรดาที่อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้
“ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์”หมายความว่า ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงถึงแหล่งกำเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลาชนิดของบริการ หรืออื่นๆ
“ผู้ให้บริการ”หมายความว่า
- ผู้ให้บริการแก่บุคคลอื่นในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต หรือให้สามารถติดต่อถึงกันโดยประการอื่น
- ผู้ให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น
“ผู้ใช้บริการ”หมายความว่า ผู้ใช้บริการของผู้ให้บริการไม่ว่าต้องเสียค่าใช้บริการหรือไม่ก็ตาม
“พนักงานเจ้าหน้าที่”หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
“รัฐมนตรี”หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้












































Unknown กล่าวว่า...



ไวรัสคอมพิวเตอร์

ไวรัส คือโปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูลไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การที่คอมพิวเตอร์ใดติดไวรัส หมายถึงว่าไวรัสได้เข้าไปผังตัวอยู่ในหน่วยความจำ คอมพิวเตอร์ เรียบร้อยแล้ว เนื่องจากไวรัสก็เป็นแค่โปรแกรม ๆ หนึ่งการที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ ในหน่วยความจำได้นั้นจะต้องมีการถูกเรียกให้ทำงานได้นั้นยังขึ้นอยู่กับประเภทของไวรัส แต่ละตัวปกติผู้ใช้มักจะไม่รู้ตัวว่าได้ทำการปลุกคอมพิวเตอร์ไวรัสขึ้นมาทำงานแล้ว

การป้องกัน
1. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัส
2. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะกับตัวเอง
3. ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสให้เป็น
4.อัพเดตฐานข้อมูลไวรัส (Definition) อยู่เสมอ
5. เปลี่ยนเวอร์ชันใหม่ทันทีที่มีโอกาส
6. อย่ารับไฟล์แปลกหน้า และติดตามข่าวสารอยู่เสมอ
7. ติดไวรัสแล้วอย่ากลัว

จรรยาบรรณการใช้ ICT
จรรยาบรรณการใช้ ICT 10 ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์
1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้
“ระบบคอมพิวเตอร์”หมายความว่า อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมการทำงานเข้าด้วยกัน โดยได้มีการกำหนดคำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และแนวทางปฏิบัติงานให้อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลโดยอัตโนมัติ
“ข้อมูลคอมพิวเตอร์”หมายความว่า ข้อมูล ข้อความ คำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใดบรรดาที่อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้
“ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์”หมายความว่า ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงถึงแหล่งกำเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลาชนิดของบริการ หรืออื่นๆ
“ผู้ให้บริการ”หมายความว่า
- ผู้ให้บริการแก่บุคคลอื่นในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต หรือให้สามารถติดต่อถึงกันโดยประการอื่น
- ผู้ให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น
“ผู้ใช้บริการ”หมายความว่า ผู้ใช้บริการของผู้ให้บริการไม่ว่าต้องเสียค่าใช้บริการหรือไม่ก็ตาม
“พนักงานเจ้าหน้าที่”หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
“รัฐมนตรี”หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้












































Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัส คือโปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูลไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกันการที่คอมพิวเตอร์ใดติดไวรัส หมายถึงว่าไวรัสได้เข้าไปผังตัวอยู่ในหน่วยความจำ คอมพิวเตอร์ เรียบร้อยแล้ว เนื่องจากไวรัสก็เป็นแค่โปรแกรม ๆ หนึ่งการที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ ในหน่วยความจำได้นั้นจะต้องมีการถูกเรียกให้ทำงานได้นั้นยังขึ้นอยู่กับประเภทของไวรัส แต่ละตัวปกติผู้ใช้มักจะไม่รู้ตัวว่าได้ทำการปลุกคอมพิวเตอร์ไวรัสขึ้นมาทำงานแล้ว

การป้องกัน
การสแกน
โปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใช้วิธีการสแกน (Scanning) เรียกว่า สแกนเนอร์ (Scanner) โดยจะมีการดึงเอาโปรแกรมบางส่วนของตัวไวรัสมาเก็บไว้เป็นฐานข้อมูล ส่วนที่ดึงมานั้นเราเรียกว่า ไวรัสซิกเนเจอร์ (VirusSignature)และเมื่อสแกนเนอร์ถูกเรียกขึ้นมาทำงานก็จะเข้าตรวจหาไวรัสในหน่วยความจำ บูตเซกเตอร์และไฟล์โดยใช้ ไวรัสซิกเนเจอร์ที่มีอยู่
ข้อดีของวิธีการนี้ก็คือ เราสามารถตรวจสอบซอฟแวร์ที่มาใหม่ได้ทันทีเลยว่าติดไวรัสหรือไม่ เพื่อป้องกันไม่ให้ไวรัสถูกเรียกขึ้นมาทำงานตั้งแต่เริ่มแรก แต่วิธีนี้มีจุดอ่อนอยู่หลายข้อ คือ ฐานข้อมูลที่เก็บไวรัสซิกเนเจอร์จะต้องทันสมัยอยู่เสมอ แลครอบคลุมไวรัสทุกตัว มากที่สุดเท่าที่จะทำได้เพราะสแกนเนอร์จะไม่สามารถตรวจจับไวรัสที่ยังไม่มี ซิกเนเจอร์ของไวรัสนั้นเก็บอยู่ในฐานข้อมูลได้ยากที่จะตรวจจับไวรัสประเภทโพลีมอร์ฟิก เนื่องจากไวรัสประเภทนี้เปลี่ยนแปลง ตัวเองได้จึงทำให้ไวรัสซิกเนเจอร์ที่ใช้สามารถนำมาตรวจสอบได้ก่อนที่ไวรัส จะเปลี่ยนตัวเองเท่านั้นถ้ามีไวรัสประเภทสทีลต์ไวรัสติดอยู่ในเครื่องตัวสแกนเนอร์อาจจะไม่สามารถ ตรวจหาไวรัสนี้ได้ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความฉลาดและเทคนิคที่ใช้ของตัวไวรัสและ ของตัวสแกนเนอร์เองว่าใครเก่งกว่าเนื่องจากไวรัสมีตัวใหม่ ๆ ออกมาอยู่เสมอ ๆ ผู้ใช้จึงจำเป็นจะต้องหาสแกนเนอร์ ตัวที่ใหม่ที่สุดมาใช้มีไวรัสบางตัวจะเข้าไปติดในโปรแกรมทันทีที่โปรแกรมนั้นถูกอ่าน และถ้าสมมติว่าสแกนเนอร์ที่ใช้ไม่สามารถตรวจจับได้ และถ้าเครื่องมีไวรัสนี้ติดอยู่ เมื่อมีการเรียกสแกนเนอร์ขึ้นมาทำงาน สแกนเนอร์จะเข้าไปอ่านโปรแกรมทีละโปรแกรม เพื่อตรวจสอบผลก็คือจะทำให้ไวรัสตัวนี้เข้าไปติดอยู่ในโปรแกรมทุกตัวที่ถูก สแกนเนอร์นั้นอ่านได้สแกนเนอร์รายงานผิดพลาดได้ คือ ไวรัสซิกเนเจอร์ที่ใช้บังเอิญไปตรงกับที่มีอยู่ในโปรแกรมธรรมดาที่ไม่ได้ติดไวรัส ซึ่งมักจะเกิดขึ้นในกรณีที่ไวรัสซิกเนเจอร์ ที่ใช้มีขนาดสั้นไปก็จะทำให้โปรแกรมดังกล่าวใช้งานไม่ได้อีกต่อไป

จรรยาบรรณการใช้ ICT และ พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
1. ฐานความผิดที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ (มาตรา 5-16)
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ (มาตรา 5)
การล่วงรู้ถึงมาตรการป้องกันการเข้าถึง (มาตรา 6)
การเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ (มาตรา 7)
การดักข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ (มาตรา 8)
การรบกวนข้อมูลคอมพิวเตอร์ (มาตรา 9)
การรบกวนระบบคอมพิวเตอร์ (มาตรา 10)
การส่งสแปมเมล์ Spam Mail (มาตรา 11)
การกระทำความผิดต่อความมั่นคง (มาตรา 12)
การจำหน่าย / เผยแพร่ชุดคำสั่ง เพื่อใช้กระทำความผิด (มาตรา 13)
การปลอมแปลงข้อมูลคอมพิวเตอร์ / เผยแพร่เนื้อหาอันไม่เหมาะสม (มาตรา 14)
ความรับผิดของผู้ให้บริการ (มาตรา 15)
การเผยแพร่ภาพจากการตัดต่อ / ดัดแปลง (มาตรา 16)
2. เขต (ประเทศ) อำนาจของศาลในการพิจารณาคดี (มาตรา 17)
3. อำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายใหม่ (มาตรา 18-21)
อำนาจของเจ้าพนักงานโดยเด็ดขาด
(1) มีหนังสือสอบถาม / ให้ส่งคำชี้แจง ให้ถ้อยคำ
(2) เรียกข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์
(3) สั่งให้ส่งมอบข้อมูลผู้ใช้บริการตามมาตรา 26
อำนาจของเจ้าพนักงานที่ต้องขออำนาจศาล
(4) ทำสำเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์
(5) สั่งให้บุคคลส่งมอบข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ที่ใช้จัดเก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์
(6) ตรวจสอบหรือเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูลคอมพิวเตอร์
(7) ถอดรหัสลับของข้อมูลคอมพิวเตอร์
(8) ยึดหรืออายัดระบบคอมพิวเตอร์
4. อำนาจของ รมต.ไอซีที ระงับการทำให้เผยแพร่.. (มาตรา 20)
5. บทกำหนดโทษสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ หากเปิดเผย หรือประมาท (มาตรา 22-24)
6. ข้อมูลที่ใช้เป็นพยายานหลักฐาน ต้องไม่เกิดจากการจูงใจ หรือข่มขู่ (มาตรา 25)
7. การจัดเก็บข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการ (มาตรา 26)
8. ข้อกำหนดให้ปฎิบัติตามพ.ร.บ.นี้ (มาตรา 27 - 30)

นางสาวปรียาภรณ์ หนองบัว รหัสนักศึกษา 56191860103 สาขาการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้าย ๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถเเพร่เชืื้อได้เเละมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ เเต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นเเค่เพียวโปรเเกรมเท่านั้นไม่ใช่สิงมีชีวิต

การป้องกัน
มีเทคนิคอยู่มากมายหลายวิธี ดังนี้
1. ทุกครั้งที่นำซอฟแวร์ที่ไม่ทราบแหล่งที่ผลิต หรือได้รับแจกฟรี ต้องตรวจสอบให้แน่ใจก่อนนำไปใช้
2. ควรตรวจสอบทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์อย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง
3. เตรียมแผ่นที่สะอาดไว้สำหรับบูตเครื่องเมื่อคราวจำเป็น
4. ควรสำรองข้อมูลไว้เสมอ
5. พยายามสังเกตุสิ่งผิดปกติที่เกิดขึ้นกับเครื่องอย่างสม่ำเสมอ เช่น การทำงานที่ช้าลง ขนาดไฟล์ หน้าจอแสดงผลแปลก ๆ ไดรฟ์มีเสียงผิดปกติ
6. ไม่นำแผ่นดิสก์ไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ถ้ายังไม่ได้ปิดแถบป้องกันการบันทึก (Write Protect )
ควรแยกแผ่นโปรแกรม และแผ่นข้อมูลออกจากกันโดยเด็ดขาด
7. ไม่อนุญาตให้คนอื่นมาเล่นเครื่องคอมพิวเตอร์ของท่าน โดยปราศจากการควบคุมอย่างใกล้ชิด
8. ควรมีโปรแกรมป้องกันไวรัสไว้ใช้ตรวจสอบและป้องกัน โดยเฉพาะโปรแกรมป้องกันไวรัสรุ่นใหม่ ๆ จะมีประสิทธิภาพในการป้องกันได้ดีขึ้นมาก ในที่นี้จะขอแนะนำโปรแกรม SCAN ของบริษัท McAfee Associates รุ่น V.2.5.1 หรือ Norton Antivirus

จริยธรรมในการใช้ ICT
ต้องให้ความร่วมมือจากทุกๆฝ่าย ไม่ว่าจะจากทางภาครัฐ ภาคเอกชน ตัวบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีสื่อสารและ ผู้ปกครองจะต้องดูแลบุตรหลานตัวเองในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่อยู่ในยุคไร้พรมแดนนี้ การสร้างจิตสำนึกต่อตนเองให้กับเด็กเยาวชนตั้งแต่ยังเล็กๆ และให้เด็กรู้ถึงโทษ ถึงปัญหา ให้เด็กรู้จักเลือกใช้โปรแกรมในทางที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ก็น่าจะเป็นทางป้องกันที่ดีต่อปัญหาเหล่านี้ได้ ทั้งนี้เพราะโปรแกรมประเภทนี้ ไม่ว่าจะเป็น Camfrog , MSN , ICQ , Yahoo ล้วนแต่เป็นโปรแกรมการสื่อสาร ที่มีทั้งคุณและโทษในการใช้ ข้อดีของโปรแกรมเหล่านี้ก็คือจะช่วยสร้างให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารมากขึ้น สามารถสื่อสารได้ทั้งทางสายตา เสียงพูด และมองเห็นหน้ากันได้ ส่วนข้อเสียส่วนใหญ่แล้วมักจะเกิดจากการใช้งานไปในทางที่ไม่ถูกไม่ควร ซึ่งตรงนี้ก็อยู่ที่ตัวของบุคคลแต่ละบุคคลในการที่จะเลือกทำเลือกใช้และเลือกที่จะนำสิ่งนั้นมาก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นางสาวอรพิน มั่นยืน สาขาภาษาไทย 55191010156

Unknown กล่าวว่า...

1.ไวรัสคอมพิวเตอร์ (computer virus) ซึ่งเรียกชื่อเลียนแบบ ไวรัส ที่เป็นสิ่งมีชีวิต แต่เป็นคำเรียกแบบย่อของ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่มีชุดคำสั่งระบบปฏิบัติการใดๆก็ตามเท่าที่โปรแกรมถูกเขียนขึ้นมาเพื่อการใดการหนึ่งทั้งที่มีประโยนช์ทางการทำงานตามผู้เขียนโปรแกรมนั้นขึ้นมา
2
.1. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัส
2. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะกับตัวเอง
3. ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสให้เป็น
4. อัพเดตฐานข้อมูลไวรัส (Definition) อยู่เสมอ
5. เปลี่ยนเวอร์ชันใหม่ทันทีที่มีโอกาส
3.จรรยาบรรณ
1.ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้าย หรือละเมิดผู้อื่น
2.ต้องไม่รบกวนการทำงานของผู้อื่น
3.ต้องไม่สอดแนมหรือ แก้ไข หรือเปิดดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4.ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร
5.ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ
6.ต้องไม่คัดลอกโปรแกรมของผู้อื่นที่มีลิขสิทธ์
7.ต้องไม่ละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีสิทธ์
8.ต้องไม่นำเอาผลงานของคนอื่นมาเป็นของตนเอง
9.ต้องคำนึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคม
10.ต้องใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบียบ
4.พรบ
- มาตรา ๕ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้น
-มาตรา ๖ ผู้ใดล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะ
-มาตรา ๗ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์
-มาตรา ๘ ผู้ใดกระทำด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์
-มาตรา ๙ ผู้ใดทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติม
-มาตรา ๑๐ ผู้ใดกระทำด้วยประการใดโดยมิชอบ เพื่อให้การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
-มาตรา ๑๑ ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่น
- มาตรา ๑๒ ถ้าการกระทำความผิดตามมาตรา ๙ หรือมาตรา ๑๐
- มาตรา ๑๓ ผู้ใดจำหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นโดยเฉพาะเพื่อนำไปใช้เป็นเครื่องมือในการกระทำความผิด

นางสาว วรรณนภา พงษ์สุวรรณ์ คบ.วิทยาศาสตร์ 56191960211 หมู่2

Unknown กล่าวว่า...

1.ไวรัสคอมพิวเตอร์ซึ่งเรียกชื่อเลียนแบบ ไวรัส ที่เป็นสิ่งมีชีวิต แต่เป็นคำเรียกแบบย่อของ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่มีชุดคำสั่งระบบปฏิบัติการใดๆก็ตามเท่าที่โปรแกรมถูกเขียนขึ้นมาเพื่อการใดการหนึ่งทั้งที่มีประโยนช์ทางการทำงานตามผู้เขียนโปรแกรมนั้นขึ้นมา
2.การป้องกัน
-ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสและอัปเดตข้อมูลไวรัสอยู่เสมอ
-ติดตั้งโปรแกรมอุดช่องโหว่(patch) โดยการอัปเดตซอฟต์แวร์และโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ ให้ใหม่อยู่เสมอ
3.จรรยาบรรณ
1. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายหรือละเมิดผู้อื่น
2. ต้องไม่รบกวนการทำงานของผู้อื่น
3. ต้องไม่สอดแนมหรือแก้ไขเปิดดูในแฟ้มของผู้อื่น
4. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร
5. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ
6. ต้องไม่คัดลอกโปรแกรมผู้อื่นที่มีลิขสิทธิ์
7. ต้องไม่ละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีสิทธิ์
8. ต้องไม่นำเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. ต้องคำนึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคมอันติดตามมาจากการกระทำ
10.ต้องใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบียบ กติกามารยาท
4.พรบ
-มาตรา 5 แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
-มาตรา 7 แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
-มาตรา 8 ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา 9, ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี

นางสาว วรรณนภา พงษ์สุวรรณ์ คบ.วิทยาศาสตร์ 56191960211 หมู่2

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท
เอกคหกกรมศาสตร์ หมู่2
นางสาว ไพริน พรมศร55191600204
นางสาว รัตติยา รัตนนท์55191600213
นางสาว สุพานี สว่างแผ้ว55191600232

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท
เอกคหกกรมศาสตร์ หมู่2
นางสาว ไพริน พรมศร55191600204
นางสาว รัตติยา รัตนนท์55191600213
นางสาว สุพานี สว่างแผ้ว55191600232

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ เป็นโปรแกรมพิเศษชนิดหนึ่งที่เขียนขึ้นมาเพื่อให้จัดการกับตัวมันเอง โดยมีลักษณะเลียบแบบสิ่งมีชีวิต คือ เจริญเติบโตเองได้ ขยายและแพร่กระจายเองได้ สามารถอยู่รอดได้ โปรแกรมนี้เข้าไปอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ โดยผ่านทาง

แผ่นฟลอปปีดิสก์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
จากการที่ไวรัสคอมพิวเตอร์ ทำงานได้ด้วยเงื่อนไขลักษณะใดลักษณะหนึ่งหลายลักษณะ จึงทำให้ผู้ใช้ไม่รู้ว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ของตนติดไวรัสหรือไม่ พอเปิดเครื่องใช้ก็อาจพบว่าระบบคอมพิวเตอร์ของตนถูกไวรัสทำลายเสียแล้ว ไวรัสบางตัวไม่เพียงทำลาย ลบ ล้าง ย้ายข้อมูลของเรา โดยไม่ได้รับอนุญาตเท่านั้น แต่ยังสามารถทำลายโปรแกรมอื่น ๆได้อีกด้วยโดยสังเกตได้จากการที่หน้าจอแสดงผลโดยอาการแปลก ๆ


การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น


จริยธรรมในการใช้ ICT
ต้องให้ความร่วมมือจากทุกๆฝ่าย ไม่ว่าจะจากทางภาครัฐ ภาคเอกชน ตัวบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีสื่อสารและ ผู้ปกครองจะต้องดูแลบุตรหลานตัวเองในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่อยู่ในยุคไร้พรมแดนนี้ การสร้างจิตสำนึกต่อตนเองให้กับเด็กเยาวชนตั้งแต่ยังเล็กๆ และให้เด็กรู้ถึงโทษ ถึงปัญหา ให้เด็กรู้จักเลือกใช้โปรแกรมในทางที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ก็น่าจะเป็นทางป้องกันที่ดีต่อปัญหาเหล่านี้ได้ ทั้งนี้เพราะโปรแกรมประเภทนี้ ไม่ว่าจะเป็น Camfrog , MSN , ICQ , Yahoo ล้วนแต่เป็นโปรแกรมการสื่อสาร ที่มีทั้งคุณและโทษในการใช้ ข้อดีของโปรแกรมเหล่านี้ก็คือจะช่วยสร้างให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารมากขึ้น สามารถสื่อสารได้ทั้งทางสายตา เสียงพูด และมองเห็นหน้ากันได้ ส่วนข้อเสียส่วนใหญ่แล้วมักจะเกิดจากการใช้งานไปในทางที่ไม่ถูกไม่ควร ซึ่งตรงนี้ก็อยู่ที่ตัวของบุคคลแต่ละบุคคลในการที่จะเลือกทำเลือกใช้และเลือกที่จะนำสิ่งนั้นมาก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองค่ะ


พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นายวิษณุ ตางาม สาขาดนตรีศึกษา
56191470143

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นางสาวสุชาดา สศรีธาตุ 56191860132 สาขาการศึกษาปฐมวัย ค.บ.5/1

นางสาวพณิดา ภาษี กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เป็นโปรแกรมพิเศษชนิดหนึ่งที่เขียนขึ้นมาเพื่อให้จัดการกับตัวมันเอง โดยมีลักษณะเลียบแบบสิ่งมีชีวิต คือ เจริญเติบโตเองได้ ขยายและแพร่กระจายเองได้ สามารถอยู่รอดได้ โปรแกรมนี้เข้าไปอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ โดยผ่านทาง
- แผ่นฟลอปปีดิสก์
- เครือข่ายคอมพิวเตอร์
จากการที่ไวรัสคอมพิวเตอร์ ทำงานได้ด้วยเงื่อนไขลักษณะใดลักษณะหนึ่งหลายลักษณะ จึงทำให้ผู้ใช้ไม่รู้ว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ของตนติดไวรัสหรือไม่ พอเปิดเครื่องใช้ก็อาจพบว่าระบบคอมพิวเตอร์ของตนถูกไวรัสทำลายเสียแล้ว ไวรัสบางตัวไม่เพียงทำลาย ลบ ล้าง ย้ายข้อมูลของเรา โดยไม่ได้รับอนุญาตเท่านั้น แต่ยังสามารถทำลายโปรแกรมอื่น ๆได้อีกด้วยโดยสังเกตได้จากการที่หน้าจอแสดงผลโดยอาการแปลก ๆ
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
มีเทคนิคอยู่มากมายหลายวิธี ดังนี้
-ทุกครั้งที่นำซอฟแวร์ที่ไม่ทราบแหล่งที่ผลิต หรือได้รับแจกฟรี ต้องตรวจสอบให้แน่ใจก่อนนำไปใช้
-ควรตรวจสอบทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์อย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง
- เตรียมแผ่นที่สะอาดไว้สำหรับบูตเครื่องเมื่อคราวจำเป็น
- ควรสำรองข้อมูลไว้เสมอ
- พยายามสังเกตุสิ่งผิดปกติที่เกิดขึ้นกับเครื่องอย่างสม่ำเสมอ เช่น การทำงานที่ช้าลง ขนาดไฟล์ หน้าจอแสดงผลแปลก ๆ ไดรฟ์มีเสียงผิดปกติ
-ไม่นำแผ่นดิสก์ไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ถ้ายังไม่ได้ปิดแถบป้องกันการบันทึก (Write Protect )
- ควรแยกแผ่นโปรแกรม และแผ่นข้อมูลออกจากกันโดยเด็ดขาด
-ไม่อนุญาตให้คนอื่นมาเล่นเครื่องคอมพิวเตอร์ของท่าน โดยปราศจากการควบคุมอย่างใกล้ชิด
-ควรมีโปรแกรมป้องกันไวรัสไว้ใช้ตรวจสอบและป้องกัน โดยเฉพาะโปรแกรมป้องกันไวรัสรุ่นใหม่ ๆ จะมีประสิทธิภาพในการป้องกันได้ดีขึ้นมาก ในที่นี้จะขอแนะนำโปรแกรม SCAN ของบริษัท McAfee Associates รุ่น V.2.5.1 หรือ Norton Antivirus
จรรยาบรรณในการใช้คอมพิวเตอร์
บัญญัติ10 ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลก็จะเฉพาะสิทธิ์ที่ตนเองมีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงาน

1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8.ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9.คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10.ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550

พ.ร.บ.ฉบับนี้ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 18 มิ.ย 2550 และมีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 18 ก.ค. 2550 ป็นต้นไป

ความผิดที่เข้าข่ายตาม พ.ร.บ ฉบับนี้

- การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ
- การเปิดเผยข้อมูลมาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะ
- การดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลโดยมิชอบ
- การกระทำเพื่อใหการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
- การส่งข้อมูลรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การจำหน่ายชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นเพื่อนำไปเป็นเครื่องมือในการกระทำผิด
- การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ทำความผิดอื่น
- การตกแต่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นภาพของบุคคล

นางสาวพณิดา ภาษี 55128040212 รปศ.การปกครองท้องถิ่น

นางสาวพณิดา ภาษี กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เป็นโปรแกรมพิเศษชนิดหนึ่งที่เขียนขึ้นมาเพื่อให้จัดการกับตัวมันเอง โดยมีลักษณะเลียบแบบสิ่งมีชีวิต คือ เจริญเติบโตเองได้ ขยายและแพร่กระจายเองได้ สามารถอยู่รอดได้ โปรแกรมนี้เข้าไปอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ โดยผ่านทาง
- แผ่นฟลอปปีดิสก์
- เครือข่ายคอมพิวเตอร์
จากการที่ไวรัสคอมพิวเตอร์ ทำงานได้ด้วยเงื่อนไขลักษณะใดลักษณะหนึ่งหลายลักษณะ จึงทำให้ผู้ใช้ไม่รู้ว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ของตนติดไวรัสหรือไม่ พอเปิดเครื่องใช้ก็อาจพบว่าระบบคอมพิวเตอร์ของตนถูกไวรัสทำลายเสียแล้ว ไวรัสบางตัวไม่เพียงทำลาย ลบ ล้าง ย้ายข้อมูลของเรา โดยไม่ได้รับอนุญาตเท่านั้น แต่ยังสามารถทำลายโปรแกรมอื่น ๆได้อีกด้วยโดยสังเกตได้จากการที่หน้าจอแสดงผลโดยอาการแปลก ๆ
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
มีเทคนิคอยู่มากมายหลายวิธี ดังนี้
-ทุกครั้งที่นำซอฟแวร์ที่ไม่ทราบแหล่งที่ผลิต หรือได้รับแจกฟรี ต้องตรวจสอบให้แน่ใจก่อนนำไปใช้
-ควรตรวจสอบทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์อย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง
- เตรียมแผ่นที่สะอาดไว้สำหรับบูตเครื่องเมื่อคราวจำเป็น
- ควรสำรองข้อมูลไว้เสมอ
- พยายามสังเกตุสิ่งผิดปกติที่เกิดขึ้นกับเครื่องอย่างสม่ำเสมอ เช่น การทำงานที่ช้าลง ขนาดไฟล์ หน้าจอแสดงผลแปลก ๆ ไดรฟ์มีเสียงผิดปกติ
-ไม่นำแผ่นดิสก์ไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ถ้ายังไม่ได้ปิดแถบป้องกันการบันทึก (Write Protect )
- ควรแยกแผ่นโปรแกรม และแผ่นข้อมูลออกจากกันโดยเด็ดขาด
-ไม่อนุญาตให้คนอื่นมาเล่นเครื่องคอมพิวเตอร์ของท่าน โดยปราศจากการควบคุมอย่างใกล้ชิด
-ควรมีโปรแกรมป้องกันไวรัสไว้ใช้ตรวจสอบและป้องกัน โดยเฉพาะโปรแกรมป้องกันไวรัสรุ่นใหม่ ๆ จะมีประสิทธิภาพในการป้องกันได้ดีขึ้นมาก ในที่นี้จะขอแนะนำโปรแกรม SCAN ของบริษัท McAfee Associates รุ่น V.2.5.1 หรือ Norton Antivirus
จรรยาบรรณในการใช้คอมพิวเตอร์
บัญญัติ10 ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลก็จะเฉพาะสิทธิ์ที่ตนเองมีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงาน

1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8.ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9.คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10.ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550

พ.ร.บ.ฉบับนี้ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 18 มิ.ย 2550 และมีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 18 ก.ค. 2550 ป็นต้นไป

ความผิดที่เข้าข่ายตาม พ.ร.บ ฉบับนี้

- การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ
- การเปิดเผยข้อมูลมาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะ
- การดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลโดยมิชอบ
- การกระทำเพื่อใหการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
- การส่งข้อมูลรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การจำหน่ายชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นเพื่อนำไปเป็นเครื่องมือในการกระทำผิด
- การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ทำความผิดอื่น
- การตกแต่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นภาพของบุคคล

นางสาวพณิดา ภาษี 55128040212 รปศ.

thitima kumgaw กล่าวว่า...

ไวรัส คือ โปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูล ไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
7 ขั้นตอนในการช่วยป้องกันคุณไม่ให้ติดไวรัสคอมพิวเตอร์
1. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัส
2. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะกับตัวเอง
3. ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสให้เป็น
4. อัพเดตฐานข้อมูลไวรัส (Definition) อยู่เสมอ
5. เปลี่ยนเวอร์ชันใหม่ทันทีที่มีโอกาส
6. อย่ารับไฟล์แปลกหน้า และติดตามข่าวสารอยู่เสมอ
7. ติดไวรัสแล้วอย่ากลัว
จรรยาบรรณการใช้ ICT
จริยธรรม (Ethics) เป็นเรื่องของการกำหนดความถูกต้องดีงามสิ่งที่ไม่ควรทำมีหลักปฏิบัติในระดับที่สูงกว่ามารยาทในสังคม
บัญญัติ10 ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลก็จะเฉพาะสิทธิ์ที่ตนเองมีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงาน
1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติ
ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พ.ศ. ๒๕๕๐
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐
เป็นปีที่ ๖๒ ในรัชกาลปัจจุบัน
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พ.ร.บ.ฉบับนี้ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 18 มิ.ย 2550 และมีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 18 ก.ค. 2550 ป็นต้นไป
ความผิดที่เข้าข่ายตาม พ.ร.บ ฉบับนี้
- การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ
- การเปิดเผยข้อมูลมาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะ
- การดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลโดยมิชอบ
- การกระทำเพื่อใหการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
- การส่งข้อมูลรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การจำหน่ายชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นเพื่อนำไปเป็นเครื่องมือในการกระทำผิด
- การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ทำความผิดอื่น
- การตกแต่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นภาพของบุคคล

นางสาวฐิติมา คุ้มแก้ว 56191860202
ปฐมวัย คบ.5/1

Unknown กล่าวว่า...

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
ต้องให้ความร่วมมือจากทุกๆฝ่าย ไม่ว่าจะจากทางภาครัฐ ภาคเอกชน ตัวบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีสื่อสารและ ผู้ปกครองจะต้องดูแลบุตรหลานตัวเองในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่อยู่ในยุคไร้พรมแดนนี้ การสร้างจิตสำนึกต่อตนเองให้กับเด็กเยาวชนตั้งแต่ยังเล็กๆ และให้เด็กรู้ถึงโทษ ถึงปัญหา ให้เด็กรู้จักเลือกใช้โปรแกรมในทางที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ก็น่าจะเป็นทางป้องกันที่ดีต่อปัญหาเหล่านี้ได้ ทั้งนี้เพราะโปรแกรมประเภทนี้ ไม่ว่าจะเป็น Camfrog , MSN , ICQ , Yahoo ล้วนแต่เป็นโปรแกรมการสื่อสาร ที่มีทั้งคุณและโทษในการใช้ ข้อดีของโปรแกรมเหล่านี้ก็คือจะช่วยสร้างให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารมากขึ้น สามารถสื่อสารได้ทั้งทางสายตา เสียงพูด และมองเห็นหน้ากันได้ ส่วนข้อเสียส่วนใหญ่แล้วมักจะเกิดจากการใช้งานไปในทางที่ไม่ถูกไม่ควร ซึ่งตรงนี้ก็อยู่ที่ตัวของบุคคลแต่ละบุคคลในการที่จะเลือกทำเลือกใช้และเลือกที่จะนำสิ่งนั้นมาก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองค่ะ

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นายสิปไท สายพญาศรี 56191440301
สาขา ค.บ.คอมพิวเตอว์

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ โปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูลไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การที่คอมพิวเตอร์ใดติดไวรัส หมายถึงว่าไวรัสได้เข้าไปผังตัวอยู่ในหน่วยความจำ คอมพิวเตอร์ เรียบร้อยแล้ว เนื่องจากไวรัสก็เป็นแค่โปรแกรม ๆ หนึ่งการที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ ในหน่วยความจำได้นั้นจะต้องมีการถูกเรียกให้ทำงานได้นั้นยังขึ้นอยู่กับประเภทของไวรัส แต่ละตัวปกติผู้ใช้มักจะไม่รู้ตัวว่าได้ทำการปลุกคอมพิวเตอร์ไวรัสขึ้นมาทำงานแล้ว
จุดประสงค์ของการทำงานของไวรัสแต่ละตัวขึ้นอยู่กับตัวผู้เขียนโปรแกรมไวรัสนั้น เช่น อาจสร้างไวรัสให้ไปทำลายโปรแกรมหรือข้อมูลอื่น ๆ ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือ แสดงข้อความวิ่งไปมาบน หน้าจอ เป็นต้น
การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วง ๆ
7.เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8.เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9.สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10.เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสขึ้นมาทำงานได้
11.เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น
จริยธรรมในการใช้ ICT
1. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้าย หรือละเมิดผู้อื่น
2. ต้องไม่รบกวนการทำงานของผู้อื่น
3. ต้องไม่สอดแนม แก้ไข หรือเปิดดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร
5. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ
6. ต้องไม่คัดลอกโปรแกรมของผู้อื่นที่มีลิขสิทธิ์
7. ต้องไม่ละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีสิทธิ์
8. ต้องไม่นำเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. ต้องคำนึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคมอันติดตามมาจากการกระทำของท่าน
10. ต้องใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบียบ กติกา และมีมารยาท

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นางสาวสุกัญญา ว่องไว
รหัสนักศึกษา 56191960119
สาขา วิทยาศาสตร์ ค.บ.5/1

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เป็นโปรแกรมพิเศษชนิดหนึ่งที่เขียนขึ้นมาเพื่อให้จัดการกับตัวมันเอง โดยมีลักษณะเลียบแบบสิ่งมีชีวิต คือ เจริญเติบโตเองได้ ขยายและแพร่กระจายเองได้ สามารถอยู่รอดได้ โปรแกรมนี้เข้าไปอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ โดยผ่านทาง
- แผ่นฟลอปปีดิสก์
- เครือข่ายคอมพิวเตอร์
จากการที่ไวรัสคอมพิวเตอร์ ทำงานได้ด้วยเงื่อนไขลักษณะใดลักษณะหนึ่งหลายลักษณะ จึงทำให้ผู้ใช้ไม่รู้ว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ของตนติดไวรัสหรือไม่ พอเปิดเครื่องใช้ก็อาจพบว่าระบบคอมพิวเตอร์ของตนถูกไวรัสทำลายเสียแล้ว ไวรัสบางตัวไม่เพียงทำลาย ลบ ล้าง ย้ายข้อมูลของเรา โดยไม่ได้รับอนุญาตเท่านั้น แต่ยังสามารถทำลายโปรแกรมอื่น ๆได้อีกด้วยโดยสังเกตได้จากการที่หน้าจอแสดงผลโดยอาการแปลก ๆ
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
มีเทคนิคอยู่มากมายหลายวิธี ดังนี้
-ทุกครั้งที่นำซอฟแวร์ที่ไม่ทราบแหล่งที่ผลิต หรือได้รับแจกฟรี ต้องตรวจสอบให้แน่ใจก่อนนำไปใช้
-ควรตรวจสอบทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์อย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง
- เตรียมแผ่นที่สะอาดไว้สำหรับบูตเครื่องเมื่อคราวจำเป็น
- ควรสำรองข้อมูลไว้เสมอ
- พยายามสังเกตุสิ่งผิดปกติที่เกิดขึ้นกับเครื่องอย่างสม่ำเสมอ เช่น การทำงานที่ช้าลง ขนาดไฟล์ หน้าจอแสดงผลแปลก ๆ ไดรฟ์มีเสียงผิดปกติ
-ไม่นำแผ่นดิสก์ไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ถ้ายังไม่ได้ปิดแถบป้องกันการบันทึก (Write Protect )
- ควรแยกแผ่นโปรแกรม และแผ่นข้อมูลออกจากกันโดยเด็ดขาด
-ไม่อนุญาตให้คนอื่นมาเล่นเครื่องคอมพิวเตอร์ของท่าน โดยปราศจากการควบคุมอย่างใกล้ชิด
-ควรมีโปรแกรมป้องกันไวรัสไว้ใช้ตรวจสอบและป้องกัน โดยเฉพาะโปรแกรมป้องกันไวรัสรุ่นใหม่ ๆ จะมีประสิทธิภาพในการป้องกันได้ดีขึ้นมาก ในที่นี้จะขอแนะนำโปรแกรม SCAN ของบริษัท McAfee Associates รุ่น V.2.5.1 หรือ Norton Antivirus
จรรยาบรรณในการใช้คอมพิวเตอร์
บัญญัติ10 ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลก็จะเฉพาะสิทธิ์ที่ตนเองมีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงาน

1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8.ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9.คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10.ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550

พ.ร.บ.ฉบับนี้ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 18 มิ.ย 2550 และมีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 18 ก.ค. 2550 ป็นต้นไป

ความผิดที่เข้าข่ายตาม พ.ร.บ ฉบับนี้

- การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ
- การเปิดเผยข้อมูลมาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะ
- การดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลโดยมิชอบ
- การกระทำเพื่อใหการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
- การส่งข้อมูลรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การจำหน่ายชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นเพื่อนำไปเป็นเครื่องมือในการกระทำผิด
- การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ทำความผิดอื่น
- การตกแต่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นภาพของบุคคล



นางสาวลัดดาวัลย์ กรวยทอง คบ.ฟิสิกส์
รหัส 56191430115 หมู่ 1

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต
การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
ต้องให้ความร่วมมือจากทุกๆฝ่าย ไม่ว่าจะจากทางภาครัฐ ภาคเอกชน ตัวบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีสื่อสารและ ผู้ปกครองจะต้องดูแลบุตรหลานตัวเองในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่อยู่ในยุคไร้พรมแดนนี้ การสร้างจิตสำนึกต่อตนเองให้กับเด็กเยาวชนตั้งแต่ยังเล็กๆ และให้เด็กรู้ถึงโทษ ถึงปัญหา ให้เด็กรู้จักเลือกใช้โปรแกรมในทางที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ก็น่าจะเป็นทางป้องกันที่ดีต่อปัญหาเหล่านี้ได้ ทั้งนี้เพราะโปรแกรมประเภทนี้ ไม่ว่าจะเป็น Camfrog , MSN , ICQ , Yahoo ล้วนแต่เป็นโปรแกรมการสื่อสาร ที่มีทั้งคุณและโทษในการใช้ ข้อดีของโปรแกรมเหล่านี้ก็คือจะช่วยสร้างให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารมากขึ้น สามารถสื่อสารได้ทั้งทางสายตา เสียงพูด และมองเห็นหน้ากันได้ ส่วนข้อเสียส่วนใหญ่แล้วมักจะเกิดจากการใช้งานไปในทางที่ไม่ถูกไม่ควร ซึ่งตรงนี้ก็อยู่ที่ตัวของบุคคลแต่ละบุคคลในการที่จะเลือกทำเลือกใช้และเลือกที่จะนำสิ่งนั้นมาก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองค่ะ

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้า

นางสาวสร้อยสุดา อินทร์หอม 55122220140
วิศวกรรมโยธาและสถาปัตย์

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัส คือโปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูลไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน

การป้องกันไวรัส
• สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
• สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
• ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
• อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
• เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
• เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วง ๆ
• เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
• เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
• สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
• เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสขึ้นมาทำงานได้
• เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
ต้องให้ความร่วมมือจากทุกๆฝ่าย ไม่ว่าจะจากทางภาครัฐ ภาคเอกชน ตัวบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีสื่อสารและ ผู้ปกครองจะต้องดูแลบุตรหลานตัวเองในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่อยู่ในยุค ไร้พรมแดนนี้ การสร้างจิตสำนึกต่อตนเองให้กับเด็กเยาวชนตั้งแต่ยังเล็กๆ และให้เด็กรู้ถึงโทษ ถึงปัญหา ให้เด็กรู้จักเลือกใช้โปรแกรมในทางที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ก็น่าจะเป็นทางป้องกันที่ดีต่อปัญหาเหล่านี้ได้ ทั้งนี้เพราะโปรแกรมประเภทนี้ ไม่ว่าจะเป็น Camfrog , MSN , ICQ , Yahoo ล้วนแต่เป็นโปรแกรมการสื่อสาร ที่มีทั้งคุณและโทษในการใช้ ข้อดีของโปรแกรมเหล่านี้ก็คือจะช่วยสร้างให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารมาก ขึ้น สามารถสื่อสารได้ทั้งทางสายตา เสียงพูด และมองเห็นหน้ากันได้ ส่วนข้อเสียส่วนใหญ่แล้วมักจะเกิดจากการใช้งานไปในทางที่ไม่ถูกไม่ควร ซึ่งตรงนี้ก็อยู่ที่ตัวของบุคคลแต่ละบุคคลในการที่จะเลือกทำเลือกใช้และ เลือกที่จะนำสิ่งนั้นมาก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองค่ะ

ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
มาตรา ๕ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่ มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะ และมาตรการนั้นมิได้มีไว้สําหรับตน ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๖ ผู้ใดล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ ผู้อื่นจัดทําขึ้นเป็นการเฉพาะ ถ้านํามาตรการดังกล่าวไปเปิดเผยโดยมิชอบในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ ผู้อื่น ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๗ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะ และมาตรการนั้นมิได้มีไว้สําหรับตน ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๘ ผู้ใดกระทําด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของ ผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้น มิได้มีไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคลทั่วไปใช้ประโยชน์ได้ต้อง ระวางโทษจําคุกไม่เกิน สามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๙ ผู้ใดทําให้เสียหาย ทําลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไม่ว่าทั้งหมด หรือบางส่วน ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกิน หนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๑๐ ผู้ใดกระทําด้วยประการใดโดยมิชอบ เพื่อให้การทํางานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทํางานตามปกติได้ต้องระวางโทษจําคุก ไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
\

นางสาวเจนจิรา พอกพูน รหัสนักศึกษา 56191430101 ค.บ.ฟิสิกส์ 5/1
นางสาวมณีรัตน์ กล้าหาญ รหัสนักศึกษา 56191430101 ค.บ.ฟิสิกส์ 5/1
นางสาวมินตรา ภูมิสิทธิ์ รหัสนักศึกษา 56191430101 ค.บ.ฟิสิกส์ 5/1
นางสาวทนิดา อรรคบาล รหัสนักศึกษา 56191430101 ค.บ.ฟิสิกส์ 5/1


Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1. สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2. สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3. ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4. อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5. เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6. เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้า

นางสาวกวินนา พันธ์พงษ์
รหัสนักศึกษา 55191010101
สาขาภาษาไทย

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต
การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
ต้องให้ความร่วมมือจากทุกๆฝ่าย ไม่ว่าจะจากทางภาครัฐ ภาคเอกชน ตัวบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีสื่อสารและ ผู้ปกครองจะต้องดูแลบุตรหลานตัวเองในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่อยู่ในยุคไร้พรมแดนนี้ การสร้างจิตสำนึกต่อตนเองให้กับเด็กเยาวชนตั้งแต่ยังเล็กๆ และให้เด็กรู้ถึงโทษ ถึงปัญหา ให้เด็กรู้จักเลือกใช้โปรแกรมในทางที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ก็น่าจะเป็นทางป้องกันที่ดีต่อปัญหาเหล่านี้ได้ ทั้งนี้เพราะโปรแกรมประเภทนี้ ไม่ว่าจะเป็น Camfrog , MSN , ICQ , Yahoo ล้วนแต่เป็นโปรแกรมการสื่อสาร ที่มีทั้งคุณและโทษในการใช้ ข้อดีของโปรแกรมเหล่านี้ก็คือจะช่วยสร้างให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารมากขึ้น สามารถสื่อสารได้ทั้งทางสายตา เสียงพูด และมองเห็นหน้ากันได้ ส่วนข้อเสียส่วนใหญ่แล้วมักจะเกิดจากการใช้งานไปในทางที่ไม่ถูกไม่ควร ซึ่งตรงนี้ก็อยู่ที่ตัวของบุคคลแต่ละบุคคลในการที่จะเลือกทำเลือกใช้และเลือกที่จะนำสิ่งนั้นมาก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองค่ะ

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้า

นางสาว จิราพร หัสดรกิ่ง 55128030108
นางสาว เดือนเต็ม ดาศรี 55128030114

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ
ไวรัส คือ โปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูล ไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
7 ขั้นตอนในการช่วยป้องกันคุณไม่ให้ติดไวรัสคอมพิวเตอร์
1. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัส
2. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะกับตัวเอง
3. ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสให้เป็น
4. อัพเดตฐานข้อมูลไวรัส (Definition) อยู่เสมอ
5. เปลี่ยนเวอร์ชันใหม่ทันทีที่มีโอกาส
6. อย่ารับไฟล์แปลกหน้า และติดตามข่าวสารอยู่เสมอ
7. ติดไวรัสแล้วอย่ากลัว
จรรยาบรรณการใช้ ICT
จริยธรรม (Ethics) เป็นเรื่องของการกำหนดความถูกต้องดีงามสิ่งที่ไม่ควรทำมีหลักปฏิบัติในระดับที่สูงกว่ามารยาทในสังคม
บัญญัติ10 ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลก็จะเฉพาะสิทธิ์ที่ตนเองมีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงาน
1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติ
ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พ.ศ. ๒๕๕๐
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐
เป็นปีที่ ๖๒ ในรัชกาลปัจจุบัน
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พ.ร.บ.ฉบับนี้ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 18 มิ.ย 2550 และมีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 18 ก.ค. 2550 ป็นต้นไป
ความผิดที่เข้าข่ายตาม พ.ร.บ ฉบับนี้
- การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ
- การเปิดเผยข้อมูลมาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะ
- การดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลโดยมิชอบ
- การกระทำเพื่อใหการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
- การส่งข้อมูลรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การจำหน่ายชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นเพื่อนำไปเป็นเครื่องมือในการกระทำผิด
- การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ทำความผิดอื่น
- การตกแต่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นภาพของบุคคล

นางสาว ดวงกมล อุส่าห์ดี 55128030116
นางสาว ประทุมรัตน์ บรรเทิงใจ 55128030126
นางสาว เมริน นางเเย้ม 55128030133

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ (Computer Virus) คือ โปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาแผ่นดิสก์หรือแฟลชไดร์ฟที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้กับอีกเครื่องหนึ่ง การที่คอมพิวเตอร์ใดติดไวรัส หมายความว่าไวรัสได้เข้าไปผังตัวอยู่ในหน่วยความจำคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นเรียบร้อยแล้ว การที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ในหน่วยความจำได้นั้นจะต้องมีการถูกเรียกใช้ให้ทำงาน ซึ่งโดยปกติแล้วผู้ใช้มักจะไม่รู้ตัวเลยว่า ขณะที่ตนเรียกใช้โปรแกรมหรือเปิดไฟล์ใดๆขึ้นมาทำงาน ก็ได้เรียกไวรัสขึ้นมาทำงานด้วย จุดประสงค์การทำงานของไวรัสแต่ละตัวขึ้นอยู่กับผู้เขียนโปรแกรมไวรัสนั้น เช่น อาจสร้างไวรัสให้ไปทำลายโปรแกรมหรือข้อมูลอื่นๆ ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือแสดงข้อความวิ่งไปมาบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จรรยาบรรในการใช้ICT จริยธรรม (Ethics) เป็นเรื่องของการกำหนดความถูกต้องดีงามสิ่งที่ไม่ควรทำมีหลักปฏิบัติในระดับที่สูงกว่ามารยาทในสังคมเช่นคนที่ไม่ยอมเข้าแถวเพื่อขอรับบริการตามสิทธิ์ก่อนหลังอาจถือว่าไม่มีมารยาทหรือพนักงานคอมพิวเตอร์คนหนึ่งเอาข้อมูลทางการเงินของลูกค้าที่เขาจะต้องเห็นตามหน้าที่การงานไปหาผลประโยชน์แก่ตนเองเช่นขายรายชื่อนั้นให้ธุรกิจอื่นหรือบอกให้แก่คู่สมรสซึ่งเป็นพนักงานขายตรงไปเสนอขายสินค้าการกระทำเช่นนี้ถือว่าไม่ถูกต้องไม่มีจริยธรรมจริงอยู่แม้ว่าบริษัทที่พนักงานผู้นั้นทำงานอยู่จะไม่เสียหายแต่การนำเอาของบริษัทไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัวก็เป็นสิ่งที่ไม่อาจทำได้อย่างเปิดเผยหรือพนักงานขายสินค้าของทางบริการหนึ่งซึ่งลาออกจากบริษัทเพื่อไปทำงานกับบริษัทคู่แข่งแล้วใช้ประโยชน์จากความรู้ ในเรื่องข้อมูลราคาหรือความลับทางการค้าของบริษัทแรกไปให้บริษัทหลังก็อาจเรียกได้ว่าพนักงานคนนั้นไม่มีจริยธรรมเมื่อสังคมสลับซับซ้อนขึ้นมีการแบ่งหน้าที่กันออกเป็นหน้าที่ต่างๆจึงมีข้อกำหนดที่เรียกว่า“จรรยาวิชาชีพ
” (Code of Conduct) ขึ้นเพื่อใช้เป็นหลักปฏิบัติของคนในอาชีพนั้นๆเราคงเคยได้ยินจรรยาบรรณของแพทย์ที่จะไม่เปิดเผยเรื่องราวส่วนตัวของคนไข้จรรยาบรรณของนักหนังสือพิมพ์ที่รับเงินทองสิ่งตอบแทนเพื่อเสนอข่าวหรือไม่เสนอข่าวไม่เปิดเผยแหล่งข่าวถ้าแหล่งข่าวไม่ต้องการจรรยาบรรณวิชาชีพของสถาปนิกหรือวิศวกรผู้ออกแบบที่ต้องไม่รับผลประโยชน์ใดๆจากผู้ขายอุปกรณ์ที่ใช้ในงานที่เขาออกแบบซึ่งขายให้กับผู้ว่าจ้างงานชิ้นนั้นเพราะเขาได้รับปลตอบแทนจากผู้ว่าจ้างแล้วจรรยาบรรณของวิชาชีพใดก็มักกำหนดขึ้นโดยสมาคมวิชาชีพนั้นโดยมีข้อกำหนดบทลงโทษที่นอกเหนือไปจากกฏหมายบ้านเมืองเช่นเพิกถอนสมาชิกภาพเพิกถอนหรือพักใบประกอบวิชาชีพและอาจมีกฏหมายรองรับอีกด้วยอาชีพนักคอมพิวเตอร์เป็นอาชีพใหม่ในสังคมสารสนเทศการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศก็เป็นสิ่งใหม่ที่มีศีลธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณเฉพาะของตนซึ่งบางครั้งก็แตกต่างจากจริยธรรมที่ยอมรับกันมาแต่ก่อนหลักพื้นฐานของจริยธรรมในสังคมสารสนเทศก็คือการเคารพผู้อื่นเคารพความเป็นส่วนตัว
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ


นางสาวพรรณิดา สมรัตน์
รหัสนักศึกษา 55191010129
สาขาภาษาไทย

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

๑. ไวรัส คือโปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูลไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การที่คอมพิวเตอร์ใดติดไวรัส หมายถึงว่าไวรัสได้เข้าไปผังตัวอยู่ในหน่วยความจำ คอมพิวเตอร์ เรียบร้อยแล้ว เนื่องจากไวรัสก็เป็นแค่โปรแกรม ๆ หนึ่งการที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ ในหน่วยความจำได้นั้นจะต้องมีการถูกเรียกให้ทำงานได้นั้นยังขึ้นอยู่กับประเภทของไวรัส แต่ละตัวปกติผู้ใช้มักจะไม่รู้ตัวว่าได้ทำการปลุกคอมพิวเตอร์ไวรัสขึ้นมาทำงานแล้ว
จุดประสงค์ของการทำงานของไวรัสแต่ละตัวขึ้นอยู่กับตัวผู้เขียนโปรแกรมไวรัสนั้น เช่น อาจสร้างไวรัสให้ไปทำลายโปรแกรมหรือข้อมูลอื่น ๆ ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือ แสดงข้อความวิ่งไปมาบน หน้าจอ เป็นต้น
๒. การป้องกันไวรัส
- สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
- สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
- ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
- อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
- เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
- เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วง ๆ
- เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
- เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
- สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
- เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสขึ้นมาทำงานได้


นางสาวเดือนเพ็ญ สาระติ
รหัสนักศึกษา 55191010115
สาขาภาษาไทย

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท
นายสิทธิศักดิ์ โอษฐงาม เทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและสถาปัตยกรรม 55162220118

Anchovyshop กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์เป็นชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
ต้องให้ความร่วมมือจากทุกๆฝ่าย ไม่ว่าจะจากทางภาครัฐ ภาคเอกชน ตัวบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีสื่อสารและ ผู้ปกครองจะต้องดูแลบุตรหลานตัวเองในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่อยู่ในยุคไร้พรมแดนนี้ การสร้างจิตสำนึกต่อตนเองให้กับเด็กเยาวชนตั้งแต่ยังเล็กๆ และให้เด็กรู้ถึงโทษ ถึงปัญหา ให้เด็กรู้จักเลือกใช้โปรแกรมในทางที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ก็น่าจะเป็นทางป้องกันที่ดีต่อปัญหาเหล่านี้ได้ ทั้งนี้เพราะโปรแกรมประเภทนี้ ไม่ว่าจะเป็น Camfrog , MSN , ICQ , Yahoo ล้วนแต่เป็นโปรแกรมการสื่อสาร ที่มีทั้งคุณและโทษในการใช้ ข้อดีของโปรแกรมเหล่านี้ก็คือจะช่วยสร้างให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารมากขึ้น สามารถสื่อสารได้ทั้งทางสายตา เสียงพูด และมองเห็นหน้ากันได้ ส่วนข้อเสียส่วนใหญ่แล้วมักจะเกิดจากการใช้งานไปในทางที่ไม่ถูกไม่ควร ซึ่งตรงนี้ก็อยู่ที่ตัวของบุคคลแต่ละบุคคลในการที่จะเลือกทำเลือกใช้และเลือกที่จะนำสิ่งนั้นมาก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองค่ะ

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นางสาววนิดา จันทุมา 55128040244 รปศ

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นางสาว นงเยาว์ ชื่นบาน คบ.5/2 ภาษาไทย
55191010228

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นางสาว นงเยาว์ ชื่นบาน คบ. 5/2 ภาษาไทย
55191010228

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

Unknown กล่าวว่า...


ไวรัส
คือ โปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูล ไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การที่คอมพิวเตอร์ใดติดไวรัส หมายถึงว่าไวรัสได้เข้าไปฝังตัวอยู่ในหน่วยความจำคอมพิวเตอร์เรียบร้อยแล้ว เนื่องจากไวรัสก็เป็นแค่โปรแกรมๆ หนึ่ง การที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ในหน่วยความจำได้นั้นจะต้องมีการถูกเรียกให้ทำงาน ได้นั้น ยังขึ้นอยู่กับประเภทของไวรัสแต่ละตัว ปกติผู้ใช้มักจะไม่รู้ตัวว่าได้ทำการปลุกคอมพิวเตอร์ไวรัสขึ้นมาทำงาน
จุดประสงค์ของการทำงานของไวรัสแต่ละตัวขึ้นอยู่กับตัวผู้เขียนโปรแกรมไวรัสนั้น เช่น อาจสร้างไวรัสให้ไปทำลายโปรแกรมหรือข้อมูลอื่นๆ ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือแสดงข้อความวิ่งไปมาบนหน้าจอ เป็นต้น

การป้องกันไวรัส
• สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
• สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
• ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
• อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
• เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
• เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
• เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
• เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
• สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
• เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
• เืมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จรรยาบรรณการใช้ ICT
บัญญัติ10 ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลก็จะเฉพาะสิทธิ์ที่ตนเองมีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงาน
1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ภูมิ พลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐ เป็นปีที่ ๖๒ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำแนะนำและยินยอมของ สภา

พรบ. คอมพิวเตอร์ 2550 ทุกคนที่ใช้คอมพิวเตอร์ต้องรู้
พระ บาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมาย ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำแนะนำและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐”

มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
นางสาวเจนจิรา เดือนเพ็ง ค.บ.5/2 สาขาภาษาไทย หมู่ 2

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ (computer virus) ซึ่งเรียกชื่อเลียนแบบ ไวรัส ที่เป็นสิ่งมีชีวิต แต่เป็นคำเรียกแบบย่อของ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่มีชุดคำสั่งระบบปฏิบัติการใดๆก็ตามเท่าที่โปรแกรมถูกเขียนขึ้นมาเพื่อการใดการหนึ่งทั้งที่มีประโยนช์ทางการทำงานตามผู้เขียนโปรแกรมนั้นขึ้นมา


การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
ต้องให้ความร่วมมือจากทุกๆฝ่าย ไม่ว่าจะจากทางภาครัฐ ภาคเอกชน ตัวบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีสื่อสารและ ผู้ปกครองจะต้องดูแลบุตรหลานตัวเองในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่อยู่ในยุคไร้พรมแดนนี้ การสร้างจิตสำนึกต่อตนเองให้กับเด็กเยาวชนตั้งแต่ยังเล็กๆ และให้เด็กรู้ถึงโทษ ถึงปัญหา ให้เด็กรู้จักเลือกใช้โปรแกรมในทางที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ก็น่าจะเป็นทางป้องกันที่ดีต่อปัญหาเหล่านี้ได้ ทั้งนี้เพราะโปรแกรมประเภทนี้ ไม่ว่าจะเป็น Camfrog , MSN , ICQ , Yahoo ล้วนแต่เป็นโปรแกรมการสื่อสาร ที่มีทั้งคุณและโทษในการใช้ ข้อดีของโปรแกรมเหล่านี้ก็คือจะช่วยสร้างให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารมากขึ้น สามารถสื่อสารได้ทั้งทางสายตา เสียงพูด และมองเห็นหน้ากันได้ ส่วนข้อเสียส่วนใหญ่แล้วมักจะเกิดจากการใช้งานไปในทางที่ไม่ถูกไม่ควร ซึ่งตรงนี้ก็อยู่ที่ตัวของบุคคลแต่ละบุคคลในการที่จะเลือกทำเลือกใช้และเลือกที่จะนำสิ่งนั้นมาก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองค่ะ

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท


นายอานันท์ ทองมนต์
56191440310 ค.บ.คอมพิวเตอร์

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ (computer virus) ซึ่งเรียกชื่อเลียนแบบ ไวรัส ที่เป็นสิ่งมีชีวิต แต่เป็นคำเรียกแบบย่อของ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่มีชุดคำสั่งระบบปฏิบัติการใดๆก็ตามเท่าที่โปรแกรมถูกเขียนขึ้นมาเพื่อการใดการหนึ่งทั้งที่มีประโยนช์ทางการทำงานตามผู้เขียนโปรแกรมนั้นขึ้นมา


การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
ต้องให้ความร่วมมือจากทุกๆฝ่าย ไม่ว่าจะจากทางภาครัฐ ภาคเอกชน ตัวบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีสื่อสารและ ผู้ปกครองจะต้องดูแลบุตรหลานตัวเองในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่อยู่ในยุคไร้พรมแดนนี้ การสร้างจิตสำนึกต่อตนเองให้กับเด็กเยาวชนตั้งแต่ยังเล็กๆ และให้เด็กรู้ถึงโทษ ถึงปัญหา ให้เด็กรู้จักเลือกใช้โปรแกรมในทางที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ก็น่าจะเป็นทางป้องกันที่ดีต่อปัญหาเหล่านี้ได้ ทั้งนี้เพราะโปรแกรมประเภทนี้ ไม่ว่าจะเป็น Camfrog , MSN , ICQ , Yahoo ล้วนแต่เป็นโปรแกรมการสื่อสาร ที่มีทั้งคุณและโทษในการใช้ ข้อดีของโปรแกรมเหล่านี้ก็คือจะช่วยสร้างให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารมากขึ้น สามารถสื่อสารได้ทั้งทางสายตา เสียงพูด และมองเห็นหน้ากันได้ ส่วนข้อเสียส่วนใหญ่แล้วมักจะเกิดจากการใช้งานไปในทางที่ไม่ถูกไม่ควร ซึ่งตรงนี้ก็อยู่ที่ตัวของบุคคลแต่ละบุคคลในการที่จะเลือกทำเลือกใช้และเลือกที่จะนำสิ่งนั้นมาก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองค่ะ

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท


นายอานันท์ ทองมนต์
56191440310 ค.บ.คอมพิวเตอร์

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ (computer virus) ซึ่งเรียกชื่อเลียนแบบ ไวรัส ที่เป็นสิ่งมีชีวิต แต่เป็นคำเรียกแบบย่อของ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่มีชุดคำสั่งระบบปฏิบัติการใดๆก็ตามเท่าที่โปรแกรมถูกเขียนขึ้นมาเพื่อการใดการหนึ่งทั้งที่มีประโยนช์ทางการทำงานตามผู้เขียนโปรแกรมนั้นขึ้นมา


การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
ต้องให้ความร่วมมือจากทุกๆฝ่าย ไม่ว่าจะจากทางภาครัฐ ภาคเอกชน ตัวบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีสื่อสารและ ผู้ปกครองจะต้องดูแลบุตรหลานตัวเองในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่อยู่ในยุคไร้พรมแดนนี้ การสร้างจิตสำนึกต่อตนเองให้กับเด็กเยาวชนตั้งแต่ยังเล็กๆ และให้เด็กรู้ถึงโทษ ถึงปัญหา ให้เด็กรู้จักเลือกใช้โปรแกรมในทางที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ก็น่าจะเป็นทางป้องกันที่ดีต่อปัญหาเหล่านี้ได้ ทั้งนี้เพราะโปรแกรมประเภทนี้ ไม่ว่าจะเป็น Camfrog , MSN , ICQ , Yahoo ล้วนแต่เป็นโปรแกรมการสื่อสาร ที่มีทั้งคุณและโทษในการใช้ ข้อดีของโปรแกรมเหล่านี้ก็คือจะช่วยสร้างให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารมากขึ้น สามารถสื่อสารได้ทั้งทางสายตา เสียงพูด และมองเห็นหน้ากันได้ ส่วนข้อเสียส่วนใหญ่แล้วมักจะเกิดจากการใช้งานไปในทางที่ไม่ถูกไม่ควร ซึ่งตรงนี้ก็อยู่ที่ตัวของบุคคลแต่ละบุคคลในการที่จะเลือกทำเลือกใช้และเลือกที่จะนำสิ่งนั้นมาก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองค่ะ

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นางสาวจันทร์จิรา วันสุข 55191010215 สาขาภาษาไทย

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เป็นโปรแกรมพิเศษชนิดหนึ่งที่เขียนขึ้นมาเพื่อให้จัดการกับตัวมันเอง โดยมีลักษณะเลียบแบบสิ่งมีชีวิต คือ เจริญเติบโตเองได้ ขยายและแพร่กระจายเองได้ สามารถอยู่รอดได้ โปรแกรมนี้เข้าไปอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ โดยผ่านทาง
- แผ่นฟลอปปีดิสก์
- เครือข่ายคอมพิวเตอร์
จากการที่ไวรัสคอมพิวเตอร์ ทำงานได้ด้วยเงื่อนไขลักษณะใดลักษณะหนึ่งหลายลักษณะ จึงทำให้ผู้ใช้ไม่รู้ว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ของตนติดไวรัสหรือไม่ พอเปิดเครื่องใช้ก็อาจพบว่าระบบคอมพิวเตอร์ของตนถูกไวรัสทำลายเสียแล้ว ไวรัสบางตัวไม่เพียงทำลาย ลบ ล้าง ย้ายข้อมูลของเรา โดยไม่ได้รับอนุญาตเท่านั้น แต่ยังสามารถทำลายโปรแกรมอื่น ๆได้อีกด้วยโดยสังเกตได้จากการที่หน้าจอแสดงผลโดยอาการแปลก ๆ
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
มีเทคนิคอยู่มากมายหลายวิธี ดังนี้
-ทุกครั้งที่นำซอฟแวร์ที่ไม่ทราบแหล่งที่ผลิต หรือได้รับแจกฟรี ต้องตรวจสอบให้แน่ใจก่อนนำไปใช้
-ควรตรวจสอบทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์อย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง
- เตรียมแผ่นที่สะอาดไว้สำหรับบูตเครื่องเมื่อคราวจำเป็น
- ควรสำรองข้อมูลไว้เสมอ
- พยายามสังเกตุสิ่งผิดปกติที่เกิดขึ้นกับเครื่องอย่างสม่ำเสมอ เช่น การทำงานที่ช้าลง ขนาดไฟล์ หน้าจอแสดงผลแปลก ๆ ไดรฟ์มีเสียงผิดปกติ
-ไม่นำแผ่นดิสก์ไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ถ้ายังไม่ได้ปิดแถบป้องกันการบันทึก (Write Protect )
- ควรแยกแผ่นโปรแกรม และแผ่นข้อมูลออกจากกันโดยเด็ดขาด
-ไม่อนุญาตให้คนอื่นมาเล่นเครื่องคอมพิวเตอร์ของท่าน โดยปราศจากการควบคุมอย่างใกล้ชิด
-ควรมีโปรแกรมป้องกันไวรัสไว้ใช้ตรวจสอบและป้องกัน โดยเฉพาะโปรแกรมป้องกันไวรัสรุ่นใหม่ ๆ จะมีประสิทธิภาพในการป้องกันได้ดีขึ้นมาก ในที่นี้จะขอแนะนำโปรแกรม SCAN ของบริษัท McAfee Associates รุ่น V.2.5.1 หรือ Norton Antivirus
จรรยาบรรณในการใช้คอมพิวเตอร์
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8.ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9.คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10.ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
สรุปมาตราที่ควรทราบ

(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท
นางสาวกมลวรรณ เมียะเเก้ว
สาขาภาษาไทย 55191010201

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต
การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
ต้องให้ความร่วมมือจากทุกๆฝ่าย ไม่ว่าจะจากทางภาครัฐ ภาคเอกชน ตัวบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีสื่อสารและ ผู้ปกครองจะต้องดูแลบุตรหลานตัวเองในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่อยู่ในยุคไร้พรมแดนนี้ การสร้างจิตสำนึกต่อตนเองให้กับเด็กเยาวชนตั้งแต่ยังเล็กๆ และให้เด็กรู้ถึงโทษ ถึงปัญหา ให้เด็กรู้จักเลือกใช้โปรแกรมในทางที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ก็น่าจะเป็นทางป้องกันที่ดีต่อปัญหาเหล่านี้ได้ ทั้งนี้เพราะโปรแกรมประเภทนี้ ไม่ว่าจะเป็น Camfrog , MSN , ICQ , Yahoo ล้วนแต่เป็นโปรแกรมการสื่อสาร ที่มีทั้งคุณและโทษในการใช้ ข้อดีของโปรแกรมเหล่านี้ก็คือจะช่วยสร้างให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารมากขึ้น สามารถสื่อสารได้ทั้งทางสายตา เสียงพูด และมองเห็นหน้ากันได้ ส่วนข้อเสียส่วนใหญ่แล้วมักจะเกิดจากการใช้งานไปในทางที่ไม่ถูกไม่ควร ซึ่งตรงนี้ก็อยู่ที่ตัวของบุคคลแต่ละบุคคลในการที่จะเลือกทำเลือกใช้และเลือกที่จะนำสิ่งนั้นมาก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองค่ะ

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้า

นายเกรียงศักดิ์ สมัครสมาน 55191010232 สาขาภาษาไทย

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นางสาววันวิภา แพนไฮ คหกรรมศาสตร์ หมู่ 2
รหัส 55191600216

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท
นางสาววันวิภา แพนไฮ คหกรรมศาสตร์ หมู่2
รหัส 55191600216

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท
นางสาว สถิตย์ภรณ์ วงค์เมือง
นางสาว ประภาวดี บุญคลี่
นางสาว อลิษา สีสันงาม
สาขา คหกรรมศาสตร์ หมู่ 2

วรรณิษา เงินราช กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นางสาววรรณิษา เงินราช รปศ. หมู่ 2 55128040246

รุ่งนภา งามประจบ กล่าวว่า...

ไวรัส คือ โปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูล ไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การที่คอมพิวเตอร์ใดติดไวรัส หมายถึงว่าไวรัสได้เข้าไปฝังตัวอยู่ในหน่วยความจำคอมพิวเตอร์เรียบร้อยแล้ว เนื่องจากไวรัสก็เป็นแค่โปรแกรมๆ หนึ่ง การที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ในหน่วยความจำได้นั้นจะต้องมีการถูกเรียกให้ทำงานได้นั้น ยังขึ้นอยู่กับประเภทของไวรัสแต่ละตัว ปกติผู้ใช้มักจะไม่รู้ัตัวว่าได้ทำการปลุกคอมพิวเตอร์ไวรัสขึ้นมาทำงานแ้้ล้ว
จุดประสงค์ของการทำงานของไวรัสแต่ละตัวขึ้นอยู่กับตัวผู้เขียนโปรแกรมไวรัสนั้น เช่น อาจสร้างไวรัสให้ไปทำลายโปรแกรมหรือข้อมูลอื่นๆ ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือแสดงข้อความวิ่งไปมาบนหน้าจอ เป็นต้น
จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นางสาวรุ่งนภา งามประจบ
รหัส 55128040240
รปศ(การปกครองท้องถิ่น)

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัส คือโปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูลไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้

การป้องกันไวรัส
- ควรติดตั้งซอฟแวร์ป้องกันไวรัสที่เชื่อถือได้ และสามารถอัพเดทฐานข้อมูลไวรัสและเครื่องมือได้ตลอด เพราะจะทำให้สามารถดักจับและจัดการกับไวรัสตัวใหม่ ๆ ได้อย่างรวดเร็ว
- อย่าตั้งค่าให้โปรแกรมอีเมลเปิดไฟล์ที่แนบมาโดยอัตโนมัติ ควรจะต้องตรวจสอบก่อนดาวน์โหลดหรือเปิดไฟล์ขึ้นมา
- สแกนไฟล์แนบท้ายของอีเมลทุกฉบับ หรือแม้แต่อีเมลจากคนรู้จัก
- ตั้งค่าระบบป้องกันให้ทำงานทันทีที่เริ่มเปิดคอมพิวเตอร์ใช้งาน
- อัพเดทซอฟต์แวร์ป้องกันไวรัสอย่างสม่ำเสมอ ถ้าเป็นไปได้ควรอัพเดททุกครั้งที่ออนไลน์ เพราะจะมีไวรัสสายพันธุ์ใหม่เกิดขึ้นทุกวัน
- อย่าดาวน์โหลดโปรแกรมจากเว็บไซต์ที่ไม่น่าเชื่อถือ เพราะอาจได้ไวรัสแถมมาด้วย แต่หากต้องการดาวน์โหลดจริง ๆ ก็ให้สร้างโฟลเดอร์เฉพาะไว้ต่างหาก และสแกนหาไวรัสก่อนเปิดใช้งาน
- ควรสแกนแฟตไดร์ก่อนใช้งานทุกครั้ง เพราะแฟตไดร์เป็นพาหะในการนำข้อมูลจากพีซีเครื่องหนึ่งมาใส่ในอีกเครื่อง

จรรยาบรรณการใช้ ICT
1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นางสาวศิรินภา อยู่ปูน รหัส 56191960118 ค.บ. วิทยาศาสตร์ 5/1

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ (computer virus) ซึ่งเรียกชื่อเลียนแบบ ไวรัส ที่เป็นสิ่งมีชีวิต แต่เป็นคำเรียกแบบย่อของ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่มีชุดคำสั่งระบบปฏิบัติการใดๆก็ตามเท่าที่โปรแกรมถูกเขียนขึ้นมาเพื่อการใดการหนึ่งทั้งที่มีประโยนช์ทางการทำงานตามผู้เขียนโปรแกรมนั้นขึ้นมา


การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
ต้องให้ความร่วมมือจากทุกๆฝ่าย ไม่ว่าจะจากทางภาครัฐ ภาคเอกชน ตัวบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีสื่อสารและ ผู้ปกครองจะต้องดูแลบุตรหลานตัวเองในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่อยู่ในยุคไร้พรมแดนนี้ การสร้างจิตสำนึกต่อตนเองให้กับเด็กเยาวชนตั้งแต่ยังเล็กๆ และให้เด็กรู้ถึงโทษ ถึงปัญหา ให้เด็กรู้จักเลือกใช้โปรแกรมในทางที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ก็น่าจะเป็นทางป้องกันที่ดีต่อปัญหาเหล่านี้ได้ ทั้งนี้เพราะโปรแกรมประเภทนี้ ไม่ว่าจะเป็น Camfrog , MSN , ICQ , Yahoo ล้วนแต่เป็นโปรแกรมการสื่อสาร ที่มีทั้งคุณและโทษในการใช้ ข้อดีของโปรแกรมเหล่านี้ก็คือจะช่วยสร้างให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารมากขึ้น สามารถสื่อสารได้ทั้งทางสายตา เสียงพูด และมองเห็นหน้ากันได้ ส่วนข้อเสียส่วนใหญ่แล้วมักจะเกิดจากการใช้งานไปในทางที่ไม่ถูกไม่ควร ซึ่งตรงนี้ก็อยู่ที่ตัวของบุคคลแต่ละบุคคลในการที่จะเลือกทำเลือกใช้และเลือกที่จะนำสิ่งนั้นมาก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองค่ะ

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

56191470158 นายอภิสิทธิ์ หลวงเดช สาขาวิชา ดนตรีศึกษา คบ. 5/1

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ
ไวรัส คือ โปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูล ไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
7 ขั้นตอนในการช่วยป้องกันคุณไม่ให้ติดไวรัสคอมพิวเตอร์
1. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัส
2. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะกับตัวเอง
3. ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสให้เป็น
4. อัพเดตฐานข้อมูลไวรัส (Definition) อยู่เสมอ
5. เปลี่ยนเวอร์ชันใหม่ทันทีที่มีโอกาส
6. อย่ารับไฟล์แปลกหน้า และติดตามข่าวสารอยู่เสมอ
7. ติดไวรัสแล้วอย่ากลัว
จรรยาบรรณการใช้ ICT
จริยธรรม (Ethics) เป็นเรื่องของการกำหนดความถูกต้องดีงามสิ่งที่ไม่ควรทำมีหลักปฏิบัติในระดับที่สูงกว่ามารยาทในสังคม
บัญญัติ10 ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลก็จะเฉพาะสิทธิ์ที่ตนเองมีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงาน
1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติ
ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พ.ศ. ๒๕๕๐
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐
เป็นปีที่ ๖๒ ในรัชกาลปัจจุบัน
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พ.ร.บ.ฉบับนี้ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 18 มิ.ย 2550 และมีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 18 ก.ค. 2550 ป็นต้นไป
ความผิดที่เข้าข่ายตาม พ.ร.บ ฉบับนี้
- การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ
- การเปิดเผยข้อมูลมาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะ
- การดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลโดยมิชอบ
- การกระทำเพื่อใหการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
- การส่งข้อมูลรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การจำหน่ายชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นเพื่อนำไปเป็นเครื่องมือในการกระทำผิด
- การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ทำความผิดอื่น
- การตกแต่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นภาพของบุคคล

นางสาวสุชาดา สศรีธาตุ รหัส 56191860132
การศึกษาปฐมวัย ค.บ.5/1

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท


นาย ณัฐพล วรรณโพธิ์
สาขา วิทยาการคอมพิวเตอร์
56122420107

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นางสาวรุ้งนภา สืบวงศา รหัส 56191860227
การศึกษาปฐมวัย ค.บ.5/1

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ (computer virus) ซึ่งเรียกชื่อเลียนแบบ ไวรัส ที่เป็นสิ่งมีชีวิต แต่เป็นคำเรียกแบบย่อของ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่มีชุดคำสั่งระบบปฏิบัติการใดๆก็ตามเท่าที่โปรแกรมถูกเขียนขึ้นมาเพื่อการใดการหนึ่งทั้งที่มีประโยนช์ทางการทำงานตามผู้เขียนโปรแกรมนั้นขึ้นมา ไวรัสคอมพิวเตอร์ ที่บุกรุกเข้าไปในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยไม่ได้รับความยินยอมจากผู้ใช้ ส่วนมากมักจะมีประสงค์ร้ายและสร้างความเสียหายให้กับระบบของเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นๆ

วิธีการป้องกัน
1. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัส
2. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะกับตัวเอง
3. ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสให้เป็น
4. อัพเดตฐานข้อมูลไวรัส (Definition) อยู่เสมอ
5. เปลี่ยนเวอร์ชันใหม่ทันทีที่มีโอกาส
6. อย่ารับไฟล์แปลกหน้า และติดตามข่าวสารอยู่เสมอ
7. ติดไวรัสแล้วอย่ากลัว

จรรยาบรรณการใช้ ICT
1. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้าย หรือละเมิดผู้อื่น
2. ต้องไม่รบกวนการทำงานของผู้อื่น
3. ต้องไม่สอดแนม แก้ไข หรือเปิดดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร
5. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ
6. ต้องไม่คัดลอกโปรแกรมของผู้อื่นที่มีลิขสิทธิ์
7. ต้องไม่ละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีสิทธิ์
8. ต้องไม่นำเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. ต้องคำนึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคมอันติดตามมาจากการกระทำของท่าน
10. ต้องใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบียบ กติกา และมีมารยาท

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
มาตรา5 ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง โดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้สำหรับตน
มาตรา6 ผู้ใดล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะ ถ้านำมาตรการดังกล่าวไปเปิดเผยโดยมิชอบในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น
มาตรา7 ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะ และมาตรการนั้น มิได้มีไว้สำหรับตน จำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา8 ผู้ใดกระทำด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้ ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นมิได้มีไว้ เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคลทั่วไปใช้ประโยชน์

นางสาวเนตรปรียา แก่นแก้ว 55128040144 รปศ.(การปกครองท้องถิ่น)หมู่2

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

วิทวัตร ตุพิมาย โยธา 55162220113

Unknown กล่าวว่า...

1. ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เป็นโปรแกรมพิเศษชนิดหนึ่งที่เขียนขึ้นมาเพื่อให้จัดการกับตัวมันเอง โดยมีลักษณะเลียบแบบสิ่งมีชีวิต คือ เจริญเติบโตเองได้ ขยายและแพร่กระจายเองได้ สามารถอยู่รอดได้ โปรแกรมนี้เข้าไปอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ โดยผ่านทาง
-แผ่นฟลอปปีดิสก์
-เครือข่ายคอมพิวเตอร์
จากการที่ไวรัสคอมพิวเตอร์ ทำงานได้ด้วยเงื่อนไขลักษณะใดลักษณะหนึ่งหลายลักษณะ จึงทำให้ผู้ใช้ไม่รู้ว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ของตนติดไวรัสหรือไม่ พอเปิดเครื่องใช้ก็อาจพบว่าระบบคอมพิวเตอร์ของตนถูกไวรัสทำลายเสียแล้ว ไวรัสบางตัวไม่เพียงทำลาย ลบ ล้าง ย้ายข้อมูลของเรา โดยไม่ได้รับอนุญาตเท่านั้น แต่ยังสามารถทำลายโปรแกรมอื่น ๆได้อีกด้วยโดยสังเกตได้จากการที่หน้าจอแสดงผลโดยอาการแปลก ๆ
ประเภทของไวรัสคอมพิวเตอร์
เราสามารถแบ่งไวรัสที่มีอยู่มากกว่าแปดพันชนิด ตามลักษณะแหล่งที่อยู่ และการฝังตัวของมันได้ดังนี้
- ไวรัสที่ฝังตัวอยู่ตามบูตเซ็กเตอร์ของแผ่นดิสก์และตารางพาร์ติชัน
ทุกครั่งทีทำการเปิดเครื่อง ระบบจัดการของคอมพิวเตอร์จะอ่านข้อมูลจากบูตเซ็กเตอร์ และโหลดเข้าไปในหน่วยความจำก่อน เสมอ ทำให้ไวรัสประเภทนี้ถูกโหลดไปหลบซ่อนในหน่วยความจำเพื่อรจังหวะแพร่กระจายต่อไปยังแผ่นดิสก์
ไวรัสประเภท ไม่สามารถทำลายได้โดยการเปิดเครื่องใหม่ เพราะมันจะเริ่มอยู่ในหน่วยความจำตั้งแต่เปิดเครื่อง และจะเมทำงานตลอดเวลานับจากนั้น
- ไวรัสที่เกาะตามไฟล์ส่วนมากจะเกาะติดไฟล์ที่มีสกุล .COM และ .EXE คือเมื่อมีการใช้งานโปรแกรม .COM .EXE ไวรัสประเภทนี้จะแยกตัวไปซ่อนอยู่ในหน่วยความจำ แล้วหาทางเกาะติดไฟล์ที่มีนามสกุลดังกล่าว ที่เก็บไว้ในแผ่นดิสก์
- ไวรัสที่ฝังตัวอยู่ในไฟล์ COMMAND.COMไฟล์นี้เป็น ไฟล์ คำสั่งพื้นฐานที่มีอยู่ในระบบปฏิบัติการ เช่น เมื่อไปใช้งานในโหมด DOS Prompt แล้วไฟล์คำสั่ง COMMAND จะทำหน้าที่แปลคำสั่งนั้นให้เป็นภาษาเครื่องเข้าใจ เช่น คำสั่ง DEL,REN,DIR,COPY เป็นต้น จากการที่ไฟล์นี้ทำงานบ่อย ๆ นี่เอง ทำให้กระจายไปได้อย่างกว้างขวาง ทำลายยากกว่าไวรัสประเภทแรก
- ไวรัสที่แฝงตัวอยู่ในหน่วยความจำไวรัสประเภทนี้จะฝังติดอยู่ในหน่วยความจำ และรอจนกว่าจะเป็นไปตามเงื่อนไขที่เหมาะสมของสภาพแวดล้อม ไวรัสนี้ก็จะเริ่มทำงานทันที
- ไวรัสประเภททำลายเฉพาะไฟล์ไวรัสประเภทนี้เกาะติดไฟล์โปรแกรมไปเรื่อย ๆ และเมื่อพบไฟล์ที่ต้องการก็จะเริ่มทำงานไม่ว่าจะเป็นการแก้ไข การทำลาย การเคลื่อนย้าย เป็นไวรัสที่ร้ายแรงต่อเศรษฐกิจมากกว่าไวรัสประเภทอื่น ๆ กว่าจะพิสูจน์ได้ว่าติดไวรัสแล้ว ข้อมูลที่สำคัญของผู้ใช้ก็อาจหายไปหมดแล้ว
ผลกระทบจากการก่อกวนของไวร้สคอมพิวเตอร์
ผลกระทบนั้น จะเจอลักษณะต่าง ๆ แล้วแต่ชนิดของไวรัส อาจเป็นดังนี้
- ทำลายบูตเซกเตอร์ ทำให้ฮาร์ดดิสก์หรือแผ่นดิสก์ที่มีระบบ บูตไม่ได้
- ทำลายไฟล์ข้อมูล โดยลบไฟล์ข้อมูลแล้วกู้กลับคืนมาไม่ได้
- ทำลาย FAT ของแผ่นดิสก์
- ทำให้ไฟล์ข้อมูลมีขนาดเพิ่มขึ้นเอง โดยไวรัสจะสร้างข้อมูลขึ้นมาเอง ทำให้ไฟล์ข้อมูลมีลักษณะแปลกหูแปลกตาเกิดขึ้น
- ทำให้ความเร็วของเครื่องช้าลง การเรียกใช้โปรแกรมจเสียเวลามากขึ้น
- การเรียกใช้บางโปรแกรม จะเกิดอาการเครื่องขัดข้อง ( hang – up ) ต้องเปิด – ปิดเครื่องบ่อย ๆ ทำให้ผู้ใช้เสียอารมณ์
- ฟอร์แมตแผ่นให้เราใหม่ โดยไม่ได้สั่ง
- หน่วยความจำของเครื่องมีขนาดเล็กลง
- ทำลายค่าที่ติดตั้งของระบบ เช่น ทำลายไฟล์ CONFIG.SYS ทำให้เมื่อเราเริ่มเปิดเครื่อง เครื่องจะไม่ทำงานในส่วนนี้
- ส่งข้อความแปลกประหลาด ออกทางหน้าจอหรือทางเครื่องพิมพ์แล้วแต่จังหวะ โดยที่ผู้ใช้ไม่ได้สั่งการ นาย สมศักดิ์ พะเนิกรัมย์ รหัส 55122220139 สาขา วิศวะกรรมโยธาและสถาปัตยกรรม

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์เป็นชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
ต้องให้ความร่วมมือจากทุกๆฝ่าย ไม่ว่าจะจากทางภาครัฐ ภาคเอกชน ตัวบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีสื่อสารและ ผู้ปกครองจะต้องดูแลบุตรหลานตัวเองในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่อยู่ในยุคไร้พรมแดนนี้ การสร้างจิตสำนึกต่อตนเองให้กับเด็กเยาวชนตั้งแต่ยังเล็กๆ และให้เด็กรู้ถึงโทษ ถึงปัญหา ให้เด็กรู้จักเลือกใช้โปรแกรมในทางที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ก็น่าจะเป็นทางป้องกันที่ดีต่อปัญหาเหล่านี้ได้ ทั้งนี้เพราะโปรแกรมประเภทนี้ ไม่ว่าจะเป็น Camfrog , MSN , ICQ , Yahoo ล้วนแต่เป็นโปรแกรมการสื่อสาร ที่มีทั้งคุณและโทษในการใช้ ข้อดีของโปรแกรมเหล่านี้ก็คือจะช่วยสร้างให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารมากขึ้น สามารถสื่อสารได้ทั้งทางสายตา เสียงพูด และมองเห็นหน้ากันได้ ส่วนข้อเสียส่วนใหญ่แล้วมักจะเกิดจากการใช้งานไปในทางที่ไม่ถูกไม่ควร ซึ่งตรงนี้ก็อยู่ที่ตัวของบุคคลแต่ละบุคคลในการที่จะเลือกทำเลือกใช้และเลือกที่จะนำสิ่งนั้นมาก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองค่ะ

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

วรรธนธัช สุวงศ์ ค.บ.ฟิสิกส์ 56191430120

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์เป็นชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
ต้องให้ความร่วมมือจากทุกๆฝ่าย ไม่ว่าจะจากทางภาครัฐ ภาคเอกชน ตัวบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีสื่อสารและ ผู้ปกครองจะต้องดูแลบุตรหลานตัวเองในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่อยู่ในยุคไร้พรมแดนนี้ การสร้างจิตสำนึกต่อตนเองให้กับเด็กเยาวชนตั้งแต่ยังเล็กๆ และให้เด็กรู้ถึงโทษ ถึงปัญหา ให้เด็กรู้จักเลือกใช้โปรแกรมในทางที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ก็น่าจะเป็นทางป้องกันที่ดีต่อปัญหาเหล่านี้ได้ ทั้งนี้เพราะโปรแกรมประเภทนี้ ไม่ว่าจะเป็น Camfrog , MSN , ICQ , Yahoo ล้วนแต่เป็นโปรแกรมการสื่อสาร ที่มีทั้งคุณและโทษในการใช้ ข้อดีของโปรแกรมเหล่านี้ก็คือจะช่วยสร้างให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารมากขึ้น สามารถสื่อสารได้ทั้งทางสายตา เสียงพูด และมองเห็นหน้ากันได้ ส่วนข้อเสียส่วนใหญ่แล้วมักจะเกิดจากการใช้งานไปในทางที่ไม่ถูกไม่ควร ซึ่งตรงนี้ก็อยู่ที่ตัวของบุคคลแต่ละบุคคลในการที่จะเลือกทำเลือกใช้และเลือกที่จะนำสิ่งนั้นมาก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองค่ะ

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

วรรธนธัช สุวงศ์ ค.บ.ฟิสิกส์ 56191430120

thitima kumgaw กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นางสาวฐิติมา คุ้มแก้ว 56191860202
ปฐมวัย คบ. 5/1

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นางสาวจันทิรา จุกหอม สาขาภาษาไทย คบ. 5/2 หมู่ 1 55191010108

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต
การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
ต้องให้ความร่วมมือจากทุกๆฝ่าย ไม่ว่าจะจากทางภาครัฐ ภาคเอกชน ตัวบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีสื่อสารและ ผู้ปกครองจะต้องดูแลบุตรหลานตัวเองในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่อยู่ในยุคไร้พรมแดนนี้ การสร้างจิตสำนึกต่อตนเองให้กับเด็กเยาวชนตั้งแต่ยังเล็กๆ และให้เด็กรู้ถึงโทษ ถึงปัญหา ให้เด็กรู้จักเลือกใช้โปรแกรมในทางที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ก็น่าจะเป็นทางป้องกันที่ดีต่อปัญหาเหล่านี้ได้ ทั้งนี้เพราะโปรแกรมประเภทนี้ ไม่ว่าจะเป็น Camfrog , MSN , ICQ , Yahoo ล้วนแต่เป็นโปรแกรมการสื่อสาร ที่มีทั้งคุณและโทษในการใช้ ข้อดีของโปรแกรมเหล่านี้ก็คือจะช่วยสร้างให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารมากขึ้น สามารถสื่อสารได้ทั้งทางสายตา เสียงพูด และมองเห็นหน้ากันได้ ส่วนข้อเสียส่วนใหญ่แล้วมักจะเกิดจากการใช้งานไปในทางที่ไม่ถูกไม่ควร ซึ่งตรงนี้ก็อยู่ที่ตัวของบุคคลแต่ละบุคคลในการที่จะเลือกทำเลือกใช้และเลือกที่จะนำสิ่งนั้นมาก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองค่ะ

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้า

นางสาวนลิตา คำโฮม 54191700212 สาขาอุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี หมู่2 ปี3

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นาวสาวหทัย แอมภารัมย์ คบ 5/2 ภาษาไทยหมู่1 รหัส55191010155

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นาวสาวหทัย แอมภารัมย์ คบ 5/2 ภาษาไทยหมู่1 รหัส55191010155

Anchovyshop กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นางสาววนิดา จันทุมา 55128040244 รปศ.(การปกครอง)

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ (computer virus) ซึ่งเรียกชื่อเลียนแบบ ไวรัส ที่เป็นสิ่งมีชีวิต แต่เป็นคำเรียกแบบย่อของ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่มีชุดคำสั่งระบบปฏิบัติการใดๆก็ตามเท่าที่โปรแกรมถูกเขียนขึ้นมาเพื่อการใดการหนึ่งทั้งที่มีประโยนช์ทางการทำงานตามผู้เขียนโปรแกรมนั้นขึ้นมา ไวรัสคอมพิวเตอร์ ที่บุกรุกเข้าไปในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยไม่ได้รับความยินยอมจากผู้ใช้ ส่วนมากมักจะมีประสงค์ร้ายและสร้างความเสียหายให้กับระบบของเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นๆ

วิธีการป้องกัน
1. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัส
2. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะกับตัวเอง
3. ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสให้เป็น
4. อัพเดตฐานข้อมูลไวรัส (Definition) อยู่เสมอ
5. เปลี่ยนเวอร์ชันใหม่ทันทีที่มีโอกาส
6. อย่ารับไฟล์แปลกหน้า และติดตามข่าวสารอยู่เสมอ
7. ติดไวรัสแล้วอย่ากลัว

จรรยาบรรณการใช้ ICT
1. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้าย หรือละเมิดผู้อื่น
2. ต้องไม่รบกวนการทำงานของผู้อื่น
3. ต้องไม่สอดแนม แก้ไข หรือเปิดดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร
5. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ
6. ต้องไม่คัดลอกโปรแกรมของผู้อื่นที่มีลิขสิทธิ์
7. ต้องไม่ละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีสิทธิ์
8. ต้องไม่นำเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. ต้องคำนึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคมอันติดตามมาจากการกระทำของท่าน
10. ต้องใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบียบ กติกา และมีมารยาท

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
มาตรา5 ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง โดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้สำหรับตน
มาตรา6 ผู้ใดล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะ ถ้านำมาตรการดังกล่าวไปเปิดเผยโดยมิชอบในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น
มาตรา7 ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะ และมาตรการนั้น มิได้มีไว้สำหรับตน จำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา8 ผู้ใดกระทำด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้ ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นมิได้มีไว้ เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคลทั่วไปใช้ประโยชน์ใด
นางสาวปทิตตา บุญชิต
รหัส 55191010235
ภาษาไทย หมู่ที่ 2 เลขที่ 35

Unknown กล่าวว่า...

ตอบ 3.พรบ. คอมพิวเตอร์ 2550
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมาย ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำแนะนำและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้ “ระบบคอมพิวเตอร์” หมายความว่า อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมการทำงานเข้าด้วยกัน โดยได้มีการกำหนดคำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และแนวทางปฏิบัติงานให้อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลโดยอัตโนมัติ
“ข้อมูลคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูล ข้อความ คำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใดบรรดาที่อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้ และให้หมายความรวมถึงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ด้วย
“ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงถึงแหล่งกำเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลาชนิดของบริการ หรืออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์นั้น
“ผู้ให้บริการ” หมายความว่า
(๑) ผู้ให้บริการแก่บุคคลอื่นในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต หรือให้สามารถติดต่อถึงกันโดยประการอื่น โดยผ่านทางระบบคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการให้บริการในนามของตนเอง หรือในนามหรือเพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น
(๒) ผู้ให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น
“ผู้ใช้บริการ” หมายความว่า ผู้ใช้บริการของผู้ให้บริการไม่ว่าต้องเสียค่าใช้บริการหรือไม่ก็ตาม
“พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
“รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจออกกฎกระทรวง เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้

ชือนาย ปิยภูมิ สมเสร็จ
รหัส 56191500102
คบ.เกษตรศาสตร์

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท
นางสาว พัชรีพร กว้างขวาง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเกษตรศาสตร์ รหัสนักศึกษา 56191500115

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท
นางสาวสาวินี เปรียบสนาดี 56122420126 สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์เป็นชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
ต้องให้ความร่วมมือจากทุกๆฝ่าย ไม่ว่าจะจากทางภาครัฐ ภาคเอกชน ตัวบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีสื่อสารและ ผู้ปกครองจะต้องดูแลบุตรหลานตัวเองในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่อยู่ในยุคไร้พรมแดนนี้ การสร้างจิตสำนึกต่อตนเองให้กับเด็กเยาวชนตั้งแต่ยังเล็กๆ และให้เด็กรู้ถึงโทษ ถึงปัญหา ให้เด็กรู้จักเลือกใช้โปรแกรมในทางที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ก็น่าจะเป็นทางป้องกันที่ดีต่อปัญหาเหล่านี้ได้ ทั้งนี้เพราะโปรแกรมประเภทนี้ ไม่ว่าจะเป็น Camfrog , MSN , ICQ , Yahoo ล้วนแต่เป็นโปรแกรมการสื่อสาร ที่มีทั้งคุณและโทษในการใช้ ข้อดีของโปรแกรมเหล่านี้ก็คือจะช่วยสร้างให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารมากขึ้น สามารถสื่อสารได้ทั้งทางสายตา เสียงพูด และมองเห็นหน้ากันได้ ส่วนข้อเสียส่วนใหญ่แล้วมักจะเกิดจากการใช้งานไปในทางที่ไม่ถูกไม่ควร ซึ่งตรงนี้ก็อยู่ที่ตัวของบุคคลแต่ละบุคคลในการที่จะเลือกทำเลือกใช้และเลือกที่จะนำสิ่งนั้นมาก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองค่ะ

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท


นางสาววารุณี บุตรตะเคียน รหัส56122420124 สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์

ไวรัส คือ โปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูล ไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การป้องกันไวรัส
-อย่าเปิดอ่านอีเมลแปลก ๆ เวลาที่คุณเช็คอีเมล ถ้าเผอิญเจออีเมล์ชื่อแปลก ที่ไม่รู้จักให้สงสัยไว้ก่อนเลยว่าต้องมีไวรัสแน่นอน
-ใช้โปรแกรมตรวจจับและกำจัดไวรัส (Anti-virus) ต้องยอมรับว่า ไม่มีโปรแกรมตรวจจับและกำจัดไวรัสโปรแกรมใดสมบูรณ์แบบ จะต้องอัพเดตโปรแกรม
-อย่าโหลดเกมมากเกินไป เกมคอมพิวเตอร์จากเว็บไซต์ต่าง ๆ อาจมีไวรัสซ่อนอยู่ ไม่ควรโหลดมาเล่นมากเกินไป
-สแกนไฟล์ต่าง ๆ ทุกครั้งก่อนดาวน์โหลดไฟล์ทุกประเภท ควรทำการสแกนไฟล์ รวมทั้งข้อมูลจากภายนอกก่อนเข้ามาใช้ในเครื่อง
-หมั่นตรวจสอบระบบต่าง ๆ ควรตรวจสอบระบบต่าง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์อย่างสม่ำเสมอ เช่น หน่วยความจำ, การติดตั้งโปรแกรมใหม่ ๆ ลงไป, อาการแฮงค์ (Hang)
จรรยาบรรณการใช้ ICT

1. ซื่อสัตย์และสร้างสรรค์ คือ การใช้ ICT โดยเฉพาะอินเทอร์เน็ตด้วยความซื่อสัตย์ไม่เอาข้อมูลของคนอื่นมาแอบอ้างเป็นข้อมูลของตนเอง เมื่อเอาข้อมูลของผู้อื่นมาใช้ก็แสดงความซื่อสัตย์และรับผิดชอบบอกแหล่งที่มาของข้อมูลนั้นๆ
2. ขยันหาความรู้ เชื่อครูอาจารย์ พัฒนาตนเองให้มีศักยภาพทางด้านการศึกษา นำเอาคำสั่งสอนของครูอาจารย์ไปปฏิบัติเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อทั้งตนเองและผู้อื่น
3. ไม่ก่อความรำคาญให้ผู้อื่น เช่น ไม่เล่นเกมเสียงดัง ไม่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์จนคนอื่นไม่สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ทางอื่นได้
4. หยิบยื่นไมตรีจิต เป็นมิตรและแบ่งปัน คือ ไม่ใช้ถ้อยคำหยาบคาย ไม่โพสต์ข้อความที่ทำให้ผู้อื่นเสียหายเดือดร้อน
5. รู้จักความพอดี ด้วยวิถืแห่งความพอเพียง คือ รู้จักแบ่งเวลาให้ถูก ไม่ใช้เพลินจนเสียเวลามากเกินไป ซึ่งจะมีผลกระทบต่อการเรียนและสุขภาพร่างกาย
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นาย ศิลปไทย ชูแก้ว วิทยาการคอมพิวเตอร์ 56122420111

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

ชื่อ นางสาวนฤมล เรืองสุขสุด สาขา ฟิสิกส์ 5/1 รหัสนักศึกษา 56191430126

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นายศราวุธ สายดวง 55122220133 เทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและสถาปัตยกรรม วท.บ.4ปี

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท
นางสาว ศุภักษร ทรงวาจา คบ.5/2หมู่ 2 รหัสนักศึกษา 55191600225

Unknown กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท

นายวิริยะ พรมวันดี สาขาภาาาไทย คบ5/2 หมู่ 1 55191010147

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต
การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น
จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท
นาย มนัส ยอดแก้ว 55128040228 รปศ

«เก่าที่สุด ‹เก่ากว่า   201 – 400 จาก 507   ใหม่กว่า› ใหม่ที่สุด»

การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึม

หลักการเขียนโปรแกรม องค์ประกอบของประโยคคำสั่ง ชนิดของข้อมูล โครงสร้างข้อมูลแบบอาร์เรย์ โครงสร้างคำสั่งแบบลำดับ โครงสร้างคำสั่งแบบวนซ้ำ การ...