วันพุธที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2556

รายงานกิจกรรมวันวิทยาศาสตร์

รายงานกิจกรรมวันวิทยาศาสตร์

129 ความคิดเห็น:

Unknown กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆดังนี้1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจากนั้นก็นำมาวางบนไข่ให้เต็มปากขวดโหล ปิดฝา
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และได้ความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพโดยสาขาสาธารณะสุขได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อน้ำมันประกอบอาหารและข้อปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีคือหลีกเหลี่ยงการกินอาหารที่ใช้น้ำมันที่มีสีเข้มทอดหรือมีควันจำนวนมาก
นางสาวปิยะภรณ์ ไวยาประโคน 56191860110
สาขาการศึกษาปฐมวัย คบ.5/1

Unknown กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์ กระผมได้เดินดูในแต่ละซุ้มของแต่ละสาขา ได้จัดตั้งเป็นซุ้มขึ้นมาโดยบางซุ้มมีกิจกรรมให้เล่นและร่วมสนุกได้ เช่น การเข้าร่วมทดลองไฟฟ้าสถิต และต่างๆอิกมากมาย ถัดไปอีกก้อมีซุ้มของ
เอก วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร มีการทำอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายเป็นสาขาวิชาที่ประยุกต์มาจากวิทยาศาสตร์การอาหาร มีเนื้อหาเกี่ยวกับการถนอมอาหาร การแปรรูปอาหาร บรรจุภัณฑ์ การจัดจำหน่ายอาหาร และหลักโภชนาการของอาหาร
นักวิทยาศาสตร์การอาหารและนักเทคโนโลยีอาหารเป็นจะศึกษาลักษณะทางกายภาพ ทางจุลชีววิทยา และทางเคมีของอาหาร

นายสานิตย์ ประจบดี รหัส 55122220142
สาขา เทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและสถาปัตยกรรม

Unknown กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆดังนี้1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจากนั้นก็นำมาวางบนไข่ให้เต็มปากขวดโหล ปิดฝา
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และได้ความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพโดยสาขาสาธารณะสุขได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อน้ำมันประกอบอาหารและข้อปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีคือหลีกเหลี่ยงการกินอาหารที่ใช้น้ำมันที่มีสีเข้มทอดหรือมีควันจำนวนมาก

ชือนาย ปิยภูมิ สมเสร็จ
รหัส 56191500102
คบ.เกษตรศาสตร์

Unknown กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆดังนี้1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจากนั้นก็นำมาวางบนไข่ให้เต็มปากขวดโหล ปิดฝา
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และได้ความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพโดยสาขาสาธารณะสุขได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อน้ำมันประกอบอาหารและข้อปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีคือหลีกเหลี่ยงการกินอาหารที่ใช้น้ำมันที่มีสีเข้มทอดหรือมีควันจำนวนมาก
ได้รู้จักหลักการเลียงไก่
การทำนาข้าว้
ได้รู้จักวิถีเศรฐกิจพอเพียง

นาย ปิยภูมิ สมเสร็จ
รหัส56191500102
คบ.เกษตรศาสตร์

Unknown กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆดังนี้1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจากนั้นก็นำมาวางบนไข่ให้เต็มปากขวดโหล ปิดฝา
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และได้ความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพโดยสาขาสาธารณะสุขได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อน้ำมันประกอบอาหารและข้อปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีคือหลีกเหลี่ยงการกินอาหารที่ใช้น้ำมันที่มีสีเข้มทอดหรือมีควันจำนวนมาก
ได้รู้จักหลักการเลียงไก่
การทำนาข้าว้
ได้รู้จักวิถีเศรฐกิจพอเพียง

นาย ปิยภูมิ สมเสร็จ
รหัส56191500102
คบ.เกษตรศาสตร์

Unknown กล่าวว่า...

จากการที่ได้ไปศึกษาดูงานกิจกรรมวันวิทยาศาสตร์ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาฟิสิกส์ ได้ความรู้ในเรื่องของไจโรสโคป ประโยชน์ที่นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น ประโยชน์ของไจโรสโคป

- ดาวเทียมบางดวงใช้หลักของไจโร เพื่อปรับตำแหน่งของดาวเทียมในอวกาศ ดังรูป ภายในดาวเทียมจะประกอบด้วยล้อ 3 อัน ตั้งฉากซึ่งกันและกัน แต่ละอันมีมอเตอร์และเบรกไว้สำหรับควบคุมการหมุน เมื่อล้อเริ่มหมุน ดาวเทียมจะเริ่มหมุนเช่นกันแต่ไปในทิศตรงกันข้ามกับล้อ หลังจากที่อยู่ในตำแหน่งที่ต้องการ ก็บังคับให้ล้อหยุดหมุนดาวเทียม ก็จะหยุดหมุนตามไปด้วยเมื่อใช้วิธีนี้เราสามารถที่จะบังคับทิศทางของดาวเทียมได้โดยไม่ต้องใช้เชื้อเพลิหรือพลังงานมากมายนักรูปบนขณะที่ดาวเทียมโคจรอยู่รอบโลกตำแหน่งของแผงโซลาร์อาจจะไม่ตรงกัแสงอาทิตย์ ดังนั้นจึงต้องมีการปรับแต่งตำแหน่งของดาวเทียมเพื่อให้พลังงานแสงที่ตกลงบนแผงโซลาร์มากที่สุด

นางสาวมณีรัตน์ กล้าหาญ 56191430104 สาขาฟิสิกส์ ค.บ.5/1

Unknown กล่าวว่า...
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
Unknown กล่าวว่า...

ข้าพเจ้าได้เป็นผู้ควบคุมกิจกรรมวันวิทยาศาสตร์สาขา ฟิสิกส์ เรื่อง เส้นแรงแม่เหล็ก ความรู้ที่ข้าพเจ้าได้รับคือ เส้นแรงแม่เหล็ก (Magnetic Lines of Force) คือ เส้นสมมติเสมือนว่าแท่งแม่เหล็กส่งอำนาจการดึงดูดไปถึง วิธีหาเส้นแรงแม่เหล็ก
ทำได้โดย
1.ใช้ผงตะไบเหล็ก โรยบนกระดาษที่วางทับแท่งแม่เหล็กไว้เมื่อกระดาษ เมื่อเคาะเบา ๆ จะมองเห็นแนวของเส้นแรง

2. ใช้เข็มทิศ แนวการวางตัวของเข็มทิศ คือ แนวของเส้นแรงแม่เหล็กจากวิธีการนี้จะทำให้เห็นว่าเส้นแรงแม่เหล็กมีทิศออกจากขั้วเหนือ
ไปสู่ขั้วใต้เสมอ

สมบัติของเส้นแรงแม่เหล็ก
1. มีทิศพุ่งออกจากขั้วเหนือไปขั้วใต้ และมีความหนาแน่นมากบริเวณใกล้ขั้วแม่เหล็ก ส่วนทิศของเส้นแรงแม่เหล็กโลกจะมีทิศจาก
ขั้วโลกใต้สู่ขั้วโลกเหนือ เพราะแท่งแม่เหล็กโลกมีขั้วเหนืออยู่ทางทิศใต้ และขั้วใต้อยู่ทางทิศเหนือ
2. เส้นแรงแม่เหล็กไม่ตัดกัน แต่จะรวมกันหรือต้านกันออกไป
และความรู้ที่ข้าพเจ้าได้รับนี้ ข้าพเจ้ายังได้ถ่ายทอดให้กับนักเรียน นักศึกษา และผู้ที่สนใจศึกษาทั่วไป ได้รับฟังด้วย ในซุ้ม เฉพาะเอกฟิสิกส์ ยังมีความรู้ที่ให้ผูสนใจศึกษามากมาย ไม่ว่าจะเป็น ไฟฟ้าสถิต ปรากฏการณ์จันทรุปราคา ปรากฏการณ์คลื่น เป็นต้น

นายอณุชา นันตะชัย สาขา ฟิสิกส์ คบ.5/1 รหัส 56191430111

Unknown กล่าวว่า...

ข้าพเจ้าได้เป็นผู้ควบคุมกิจกรรมวันวิทยาศาสตร์สาขา ฟิสิกส์ เรื่อง เส้นแรงแม่เหล็ก ความรู้ที่ข้าพเจ้าได้รับคือ เส้นแรงแม่เหล็ก (Magnetic Lines of Force) คือ เส้นสมมติเสมือนว่าแท่งแม่เหล็กส่งอำนาจการดึงดูดไปถึง วิธีหาเส้นแรงแม่เหล็ก
ทำได้โดย
1.ใช้ผงตะไบเหล็ก โรยบนกระดาษที่วางทับแท่งแม่เหล็กไว้เมื่อกระดาษ เมื่อเคาะเบา ๆ จะมองเห็นแนวของเส้นแรง

2. ใช้เข็มทิศ แนวการวางตัวของเข็มทิศ คือ แนวของเส้นแรงแม่เหล็กจากวิธีการนี้จะทำให้เห็นว่าเส้นแรงแม่เหล็กมีทิศออกจากขั้วเหนือ
ไปสู่ขั้วใต้เสมอ
แม่เหล็กและสนามแม่เหล็ก แม่เหล็กหมายถึงสารซึ่งมีสมบัติดังต่อไปนี้ ...
1. สามารถก่อให้เกิดแรงดูดหรือแรงพลักกับแม่เหล็กได้
2. มีขั้ว 2 ชนิดคือขั้วเหนือและขั้วใต้ขั้วทั้งสองของแม่เหล็กแท่งเดียวกัน
จะมีกำลังเท่ากันเสมอ
3. เมื่ออยู่ในภาวะอิสระสามารถเคลื่อนที่คล่องตัวในแนวราบ จะวางตัว
ในแนวเหนือใต้เสมอ
4. ขั้วชนิดเดียวกันจะพลักกัน ขั้วต่างชนิดกันจะดูดกัน
5. สามารถเหนี่ยวนำให้สารแม่เหล็กกลายเป็นแม่เหล็กได้
6. อำนาจแม่เหล็กมีคุณสมบัติทำให้ประจุไฟฟ้าเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อน
ที่ประจุไฟฟ้าบวกกับประจุไฟฟ้าลบ
จะเปลี่ยนทิศทางในสนามแม่เหล็กไปในทางตรงกันข้าม
7. อำนาจแม่เหล็กทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าได้



สนามแม่เหล็ก ......
เมื่อมีแม่เหล็กวางอยู่ ณ ตำแหน่งใดๆก็ตาม แม่เหล็กนั้นจะส่งอำนาจแม่เหล็กไปรอบบริเวณนั้น ถ้าเอาแม่เหล็กที่อื่นหรือวัตถุที่เป็นสารแม่เหล็กเข้าไปในบริเวณนั้นจะเกิดมี
แรงแม่เหล็กส่งมากระทำทันทีจากแม่เหล็กที่วางอยู่นั้นอย่างที่เราถือว่าแม่เหล็กหรือสารแม่เหล็กที่เรานำเข้าไปทีหลังเข้าไป
อยู่ในบริเวณซึ่งเป็น สนามแม่เหล็กของแม่เหล็กอันแรกถ้าเราถอยแม่เหล็ก
หรือสารแม่เหล็กออกมาให้ห่างมากๆแรงแม่เหล็กที่เคยเกิดขึ้นดังกล่าว
จะหมดไปหมายความว่า แม่เหล็กอันแรงส่งแรงไปกะะทำไม่ถึงจึงเห็นได้ว่า....
สนามแม่เหล็กคือ .. บริเวณหรือของเขตที่แม่เหล็กส่งอำนาจ
การดึงดูดออกไปถึง อำนาจแม่เหล็กที่ส่งออกจากแท่งแม่เหล็ก ส่งออกมาในรูปของเส้นแรงแม่เหล็ก

เส้นแรงแม่เหล็ก ( Magnetic Lines of Force )
เป็นเส้นสมมุติเหมือนว่าแท่งแม่เหล็กส่งอำนาจไปถึงวิธีหาเส้นแรงแม่เหล็กหาได้โดย
1. ใช้ผงตะไบเหลล็ก โรบลงบนกระดาษที่วางทับแม่เหล็กเอาไว้ เมื่อเคาะกระดาษเบาๆ
จะมองเห็นแนวของเส้นแรง
2. ใข้เข็มทิศ แนวทางการวางตัวของเข็มทิศคือแนวของเส้นแรงแม่เหล็ก วิธีการนี้ทำให้
เห็นว่าเส้นแรงแม่เหล้กม่ทิศทางออกจากขั้วเหนือไปสู่ขั้วใต้เสมอ



สนามแม่เหล็กของแท่งแม่เหล็กหาได้จากการใช้เข็มทิศ

สมบัติของเส้นแรงแม่เหล็ก ...
1. มีทิศทางออกจากขั้วเหนือไปขั้วใต้และมีความหนาแน้นมากบริเวณขั้วแม่เหล็กส่วนทิศทางของ
เส้นแรงแม่เหล็กโลกจะมีทิศทางจากขั้วโลกใต้สู่ขั้วโลกเหนือ
2. เส้นแรงแม่เหล็กไม่ตัดกันแต่จะรวมกันออกไปหรือต้านกันถ้ามีแม่เหล็กมากกว่า 1 ทำ
ให้เกิดจุดสะเทิน

จุดสะเทิน ( Neutural Poite ) คือจุดที่มีค่าความเข้มของสนามแม่เหล็กเป็นศูนย์

ชื่อ นางสาวนฤมล เรืองสุขสุด สาขา ฟิสิกส์ ค.บ. 5/1 รหัสนักศึกษา 56191430126

Unknown กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์
จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆ ข้าพเจ้าได้เข้าไปศึกษาดูงานจากซุ้มของนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์ชั้นปีที่ 2 ซึ่งได้ให้ความรู้เรื่อง ขวดเป่าลูกโป่ง มีวิธีการทดลองดังนี้
อุปกรณ์การทดลอง
1. ขวดแก้วเตี้ย อย่างขวดน้ำส้มสแปลช 1 ขวด
2. ลูกโป่ง 1 ใบ
3. ผงฟู (เบกกิ้งโซดา) 5 ช้อนโต๊ะ
4. น้ำส้มสายชู
วิธีทดลอง
1. เป่าลูกโป่งให้ยืดตัวก่อนทดลองสัก 2 รอบ
2. ใส่เบกกิ้งโซดา ลงในขวดแก้ว
3. เติมน้ำส้มสายชูลงไป
4. ครอบลูกโป่งลงบนปากขวด
ผลการทดลอง
เมื่อเบกกิ้งโซดา ทำปฏิกิริยากับน้ำส้มสายชูจะเกิดก๊าซคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ขึ้นก๊าซเบากว่าอากาศ จึงลอยสูงขึ้น เมื่อมีก๊าซมากๆก็จะดันลูกโป่งให้พองออกได้ เบกกิ้งโซดา (Baking Soda) มีชื่อทางวิทย่ศาสตร์ว่า โซเดียมไบคาร์บอเนต (Sodium Bicarbonate) หรือที่คุณแม่เรียกว่า ผงฟู นั่นเอง

นางสาวพรนิภา โกทา
สาขาวิชา วิทยาศาสตร์ ระดับ ค.บ. 5/1
รหัสนักศึกษา 56191960108

Unknown กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์
จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆ ข้าพเจ้าได้เข้าไปศึกษาดูงานจากซุ้มของนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์ชั้นปีที่ 2 ซึ่งได้ให้ความรู้เรื่อง เปลวไปลอยน้ำ มีวิธีการทดลองดังนี้
อุปกรณ์การทดลอง
1. เทียนไข
2. แก้วทรงสูงใส่น้ำ (ต้องสูงกว่าความยาวเทียนนะ)
3. หมุดหัวหมวก หรือตะปูเกลียวตัวเล็กๆ
วิธีทดลอง
1. เติมน้ำลงในแก้ว 5/6 แก้ว
2. นำหมุดมาปักลงที่ฐานเทียนไข(ด้านป้าน)
3. นำแท่งเทียนใส่ลงไปในแก้วน้ำ แล้วจุดเทียน
ผลการทดลอง
เทียนไขลอยอยู่ที่ผิวน้ำได้ และไฟก็จะไม่ดับ เพราะเทียนทำจากขี้ผึ้งพาราฟินจึงไม่เปียกน้ำ และหมุดหัวหมวก ทำหน้าที่เป็นจุดรวมน้ำหนักให้อยู่ที่แกนกลางแท่งเทียนจึงไม่เอียงคว่ำ ขี้ผึ้งพาราฟินเป็นไขมันที่ได้จากการกลั่นจากปิโตรเลียมมีลักษณะใส ไม่มีกลิ่น ไม่มีรสชาติ คล้ายกับขี้ผึ้ง จุดหลอมเหลวที่ 47-64 องศาเซลเซียส ซึ่งขี้ผึ้งพาราฟินบริสุทธิ์จะมีคุณสมบัติเป็นฉนวนกันความร้อนที่ดี ไม่ละลายน้ำ พาราฟินมักนำมาทำเทียนไข หรือเคลือบวัสดุต่าง ๆ เพื่อป้องกันไม่ให้โดนความชื้นจากน้ำ

นางสาวปิยพร สุระ
สาขาวิชา วิทยาศาสตร์ ระดับ ค.บ. 5/1
รหัสนักศึกษา 56191960109

Unknown กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทนาศาสตร์
จากวันวิทยาศาสตร์ของทางมหาวิทยาลัยได้มีการจักกิจกรรมนี้ขึ้นมาเพื่อให้ความรู้แก่นักเรียน นักศึกษา โดยมีการจัดเป็นซุ้มต่างๆ โดยมี ศูนย์อนามัยและสุขาภิบาล
ฟื้นดิน คืนป่า พัฒนาคุณภาพชีวิต ในซุ้มนี้จะเป็นการให้ความรู้ในเรื่องของเศรษฐกิจพอเพียง
ความพอประมาณ ความพอดีไม่น้อยเกินไป ไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนผู้อื่นและตนเอง
ความมีเหตุผล การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น ต้องเป็งไปอย่างมีเหตุผลโดยพิจารณาเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้นๆ
การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆที่จะเกิดขึ้น โดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล
เงื่อนไข
การตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระด้บพอเพียงนั้นต้องอาศัยทั้งความรู้ และคุณธรรมเป็นพื้นฐานกล่าวคือ
เงื่อนไขความรู้
ประกอบด้วยความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน
เงื่อนไขคุณธรรม
ต้องมีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต
และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนินชิวิต
นางสาว พิณทิพย์ หวังสำราญ 55128040219 รปศ หมู่ 02

Unknown กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทนาศาสตร์
จากวันวิทยาศาสตร์ของทางมหาวิทยาลัยได้มีการจักกิจกรรมนี้ขึ้นมาเพื่อให้ความรู้แก่นักเรียน นักศึกษา โดยมีการจัดเป็นซุ้มต่างๆ โดยมี ศูนย์อนามัยและสุขาภิบาล
ฟื้นดิน คืนป่า พัฒนาคุณภาพชีวิต ในซุ้มนี้จะเป็นการให้ความรู้ในเรื่องของเศรษฐกิจพอเพียง
ความพอประมาณ ความพอดีไม่น้อยเกินไป ไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนผู้อื่นและตนเอง
ความมีเหตุผล การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น ต้องเป็งไปอย่างมีเหตุผลโดยพิจารณาเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้นๆ
การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆที่จะเกิดขึ้น โดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล
เงื่อนไข
การตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระด้บพอเพียงนั้นต้องอาศัยทั้งความรู้ และคุณธรรมเป็นพื้นฐานกล่าวคือ
เงื่อนไขความรู้
ประกอบด้วยความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน
เงื่อนไขคุณธรรม
ต้องมีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต
และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนินชิวิต
นางสาว พิณทิพย์ หวังสำราญ 55128040219 รปศ หมู่ 02

Unknown กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์
จากที่ได้ไปศึกษาดูงานจากซุ้มต่างๆชึ่งได้มีสาขาแต่ละสาขามาจัดซุัมนิทรรศการให้ได้เดินชมและเล่นเกมส์ และหาความรู้จากซุ้มต่างๆเพื่อนำมาจัดทำงานและหาความรู้โดยมีซุ้มแต่ละสาขาดังนี้
1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
แต่ละซุ้มจะมีเกมส์ให้น้องที่มาจากประถมศึกษาได้เข้าร่วมเล่นเกมส์ และร่วมตอบคำถามเพื่อแลกกับของรางวัล ซึ่งมีน้องๆให้ความร่วมมือเป็นอย่างมากกับกิจกรรมนี้


นางสาว ราตรี หวังสำราญ 55128040239 การปกครองท้องถิ่น หมู่2

Unknown กล่าวว่า...
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์ดิฉันได้เดินงานในซุ้มต่างๆ แต่เสียดายที่เดินไม่ทั่วงานเลย เท่าที่ฉันได้เดินดูงานแต่ละซุ้มก็จัดงานได้ดี มีความรู้ ความสนุกสนาน แจกแถมของรางวัลมากมาย ที่ดิฉันไม่ได้เดินดูงาน เพราะว่าเอกของฉันคือ เอกคหกรรมศาสตร์ ได้จัดกิจกรรมขายของวันวิทย์ เพื่อให้นักศึกษาได้มีส่วนรวมในงานวันวิทย์ ได้ราบยได้เข้าตึก ฉันจึงไม่ค่อยได้เดินดูงานทั่ว แต่ที่ดูๆแล้ว งานวันวิทย์ปีนี้ก็จัดได้ดีเลยทีเดียว

นางสาวผกาวดี อยู่เย็น เลขที่ 4
สาขา คหกรรมศาสตร์ หมู่ 2 55191600203

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์ดิฉันได้เดินงานในซุ้มต่างๆ แต่เสียดายที่เดินไม่ทั่วงานเลย เท่าที่ฉันได้เดินดูงานแต่ละซุ้มก็จัดงานได้ดี มีความรู้ ความสนุกสนาน แจกแถมของรางวัลมากมาย ที่ดิฉันไม่ได้เดินดูงาน เพราะว่าเอกของฉันคือ เอกคหกรรมศาสตร์ ได้จัดกิจกรรมขายของวันวิทย์ เพื่อให้นักศึกษาได้มีส่วนรวมในงานวันวิทย์ ได้ราบยได้เข้าตึก ฉันจึงไม่ค่อยได้เดินดูงานทั่ว แต่ที่ดูๆแล้ว งานวันวิทย์ปีนี้ก็จัดได้ดีเลยทีเดียว

นางสาวผกาวดี อยู่เย็น เลขที่ 4
สาขา คหกรรมศาสตร์ หมู่ 2 55191600203

Unknown กล่าวว่า...


จากที่ดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆดังนี้1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจากนั้นก็นำมาวางบนไข่ให้เต็มปากขวดโหล ปิดฝา
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และได้ความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพโดยสาขาสาธารณะสุขได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อน้ำมันประกอบอาหารและข้อปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีคือหลีกเหลี่ยงการกินอาหารที่ใช้น้ำมันที่มีสีเข้มทอดหรือมีควันจำนวนมาก
นางสาว ภัสราภรณ์ สินสอน 55128040222
รัฐประศาสนศาสตร์(การปกครองท้องถิ่น)หมู่2

Anchovyshop กล่าวว่า...

จากที่ได้ไปเดินศึกษาในงานวันวิทย์ ในงานก็จะมีการจัดกิจกรรมต่างๆ มีซุ้มหลายๆซุ้ม หน้างานจะมีการขายของจากแม่ค้าพ่อค้าต่างๆ ตามซุ้มก็จะมีกิจกรรมต่างๆมากมาย เช่น มีการทอผ้า เลี้ยงไหม ของกลุ่มแม่บ้าน บางซุ้มมีการทำอาหารของเอกคหกรรม มีการทดลองทางวิทยาศาสตร์ บางซุ้มมีการวาดภาพระบายสี มีวงดนตรี มีกิจกรรมเกมตอบคำถามต่างๆมากมาย เป็นต้น

นางสาววนิดา จันทุมา 55128040244 รปศ.(การปกครองท้องถิ่น)

นางสาวพณิดา ภาษี กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆดังนี้1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจากนั้นก็นำมาวางบนไข่ให้เต็มปากขวดโหล ปิดฝา
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และได้ความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพโดยสาขาสาธารณะสุขได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อน้ำมันประกอบอาหารและข้อปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีคือหลีกเหลี่ยงการกินอาหารที่ใช้น้ำมันที่มีสีเข้มทอดหรือมีควันจำนวนมาก

นางสาวพณิดา ภาษี 55128040212 รปศ

นางสาวพณิดา ภาษี กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆดังนี้1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจากนั้นก็นำมาวางบนไข่ให้เต็มปากขวดโหล ปิดฝา
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และได้ความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพโดยสาขาสาธารณะสุขได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อน้ำมันประกอบอาหารและข้อปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีคือหลีกเหลี่ยงการกินอาหารที่ใช้น้ำมันที่มีสีเข้มทอดหรือมีควันจำนวนมาก
นางสาวพณิดา ภาษี 55128040212 รปศ

นางสาวพณิดา ภาษี กล่าวว่า...

ความหมายของการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การโอนถ่าย (Transmission) ข้อมูลหรือการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างต้นทางกับปลายทาง โดยใช้อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีตัวกลาง เช่น 1. ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งข้อมูล2.ผู้รับหรืออุปกรณ์รับข้อมูล3.โปรโตคอล
4. ซอฟต์แวร์5 ข่าวสาร6.ตัวกลาง
การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์สำหรับสื่อสารข้อมูล
เป็นการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ต้นทางเข้ากับคอมพิวเตอร์ปลายทาง โดยใช้ตัวกลางหรือสื่อกลางสำหรับเชื่อมต่อ ซึ่งสามารถทำได้หลายรูปแบบ การต่อแบบสายตรงตามรูปนั้น อาจจะต่อตรงโดยใช้ช่องต่อแบบขนานของเครื่อง ทั้ง 2 เครื่อง เพื่อใช้สำหรับโอนย้ายข้อมูลระหว่างเครื่องได้ หรืออาจจะต่อโดยใช้อินเทอร์เฟสการ์ดใส่ไว้ใน การส่งสัญญาณข้อมูล สามารถแบ่งได้เป็น 3 รูปแบบดังนี้
1. การส่งสัญญาณทางเดียว
2. การส่งสัญญาณกึ่งทางคู่ 3. การส่งสัญญาณทางคู่

นางสาวพณิดา ภาษี 55128040212 รปศ

นางสาวพณิดา ภาษี กล่าวว่า...

ความหมายของการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การโอนถ่าย (Transmission) ข้อมูลหรือการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างต้นทางกับปลายทาง โดยใช้อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีตัวกลาง เช่น 1. ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งข้อมูล2.ผู้รับหรืออุปกรณ์รับข้อมูล3.โปรโตคอล
4. ซอฟต์แวร์5 ข่าวสาร6.ตัวกลาง
การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์สำหรับสื่อสารข้อมูล
เป็นการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ต้นทางเข้ากับคอมพิวเตอร์ปลายทาง โดยใช้ตัวกลางหรือสื่อกลางสำหรับเชื่อมต่อ ซึ่งสามารถทำได้หลายรูปแบบ การต่อแบบสายตรงตามรูปนั้น อาจจะต่อตรงโดยใช้ช่องต่อแบบขนานของเครื่อง ทั้ง 2 เครื่อง เพื่อใช้สำหรับโอนย้ายข้อมูลระหว่างเครื่องได้ หรืออาจจะต่อโดยใช้อินเทอร์เฟสการ์ดใส่ไว้ใน การส่งสัญญาณข้อมูล สามารถแบ่งได้เป็น 3 รูปแบบดังนี้
1. การส่งสัญญาณทางเดียว
2. การส่งสัญญาณกึ่งทางคู่ 3. การส่งสัญญาณทางคู่

นางสาวพณิดา ภาษี 55128040212 รปศ

Unknown กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้เข้าร่วมกิจกรรมวันวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ซึ่งในงานมีการจัดซุ้มต่างๆดังนี้
1.ซุ้มฟิสิกส์
2.อาหารเพื่อสุขภาพ
3.วิทยาศาสตร์สุขภาพ
4.กลเคมี
5.Ssc Biology
6.คุณเฮง ไอที
7.อาหารอาเซียน คหกรรมศาสตร์
8. Information Technology Program
และมีการจัดการแข่งขันประกวดชุดรีไซเคิล และมีการตอบคำถามเพื่อรับรางวัลทั้งยังมีกิจกรรมต่าง ๆและการแสดงจากกนักดนตรีต่างๆอีกด้วยซึ่งข้าพเจ้าได้เข้าซุ้มฟิสิกส์ในซุ้มมีการจัดนิทรรศการเรื่องระบบสุริยะ ทั้งยังมีการจัดจำหน่ายอาหารเพื่อสุขภาพอีกด้วย

นางสาวจับจิต สำเภา รหัส 56191960124
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ เรียนวันพฤหัสบดี คาบ 5-8

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

จากการที่ได้ไปศึกษาดูงานกิจกรรมวันวิทยาศาสตร์ของนักศึกษาชั้นปีที่2สาขา รัฐประศาสนศาสตร์ ได้ความรู้ในเรื่องของไจโรสโคป ประโยชน์ที่นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น ประโยชน์ของไจโรสโคป

- ดาวเทียมบางดวงใช้หลักของไจโร เพื่อปรับตำแหน่งของดาวเทียมในอวกาศ ดังรูป ภายในดาวเทียมจะประกอบด้วยล้อ 3 อัน ตั้งฉากซึ่งกันและกัน แต่ละอันมีมอเตอร์และเบรกไว้สำหรับควบคุมการหมุน เมื่อล้อเริ่มหมุน ดาวเทียมจะเริ่มหมุนเช่นกันแต่ไปในทิศตรงกันข้ามกับล้อ หลังจากที่อยู่ในตำแหน่งที่ต้องการ ก็บังคับให้ล้อหยุดหมุนดาวเทียม ก็จะหยุดหมุนตามไปด้วยเมื่อใช้วิธีนี้เราสามารถที่จะบังคับทิศทางของดาวเทียมได้โดยไม่ต้องใช้เชื้อเพลิหรือพลังงานมากมายนักรูปบนขณะที่ดาวเทียมโคจรอยู่รอบโลกตำแหน่งของแผงโซลาร์อาจจะไม่ตรงกัแสงอาทิตย์ ดังนั้นจึงต้องมีการปรับแต่งตำแหน่งของดาวเทียมเพื่อให้พลังงานแสงที่ตกลงบนแผงโซลาร์มากที่สุด
นางสาวลักขิกา วรรณอ่อน รหัส 55128040243 รปศ หมู่ 2

Unknown กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์
จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆ ข้าพเจ้าได้เข้าไปศึกษาดูงานจากซุ้มของนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์ชั้นปีที่ 2 ซึ่งได้ให้ความรู้เรื่อง ขวดเป่าลูกโป่ง มีวิธีการทดลองดังนี้
อุปกรณ์การทดลอง
1. ขวดแก้วเตี้ย อย่างขวดน้ำส้มสแปลช 1 ขวด
2. ลูกโป่ง 1 ใบ
3. ผงฟู (เบกกิ้งโซดา) 5 ช้อนโต๊ะ
4. น้ำส้มสายชู
วิธีทดลอง
1. เป่าลูกโป่งให้ยืดตัวก่อนทดลองสัก 2 รอบ
2. ใส่เบกกิ้งโซดา ลงในขวดแก้ว
3. เติมน้ำส้มสายชูลงไป
4. ครอบลูกโป่งลงบนปากขวด
ผลการทดลอง
เมื่อเบกกิ้งโซดา ทำปฏิกิริยากับน้ำส้มสายชูจะเกิดก๊าซคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ขึ้นก๊าซเบากว่าอากาศ จึงลอยสูงขึ้น เมื่อมีก๊าซมากๆก็จะดันลูกโป่งให้พองออกได้ เบกกิ้งโซดา (Baking Soda) มีชื่อทางวิทย่ศาสตร์ว่า โซเดียมไบคาร์บอเนต (Sodium Bicarbonate) หรือที่คุณแม่เรียกว่า ผงฟู นั่นเอง
นาย มนัส ยอดแก้ว รปศ 55128040228

Unknown กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์
จากที่ได้ไปศึกษาดูงานจากซุ้มต่างๆชึ่งได้มีสาขาแต่ละสาขามาจัดซุัมนิทรรศการให้ได้เดินชมและเล่นเกมส์ และหาความรู้จากซุ้มต่างๆเพื่อนำมาจัดทำงานและหาความรู้โดยมีซุ้มแต่ละสาขาดังนี้
1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
แต่ละซุ้มจะมีเกมส์ให้น้องที่มาจากประถมศึกษาได้เข้าร่วมเล่นเกมส์ และร่วมตอบคำถามเพื่อแลกกับของรางวัล ซึ่งมีน้องๆให้ความร่วมมือเป็นอย่างมากกับกิจกรรมนี้

นางสาวจริยา อนงชัย 55128040255
รปศ.การปกครองท้องถิ่น หมู่ 2

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์มีซุ้มความรู้มากมายและดิฉันก็ได้เข้าร่วมงานในซุ้มของดิฉันเองคือซุ้มคหกรรมศาสตร์ดิฉันได้ทำอาหารขายมีดังนี้ ผัดไทย บัวลอยสอดใส้ หมี่กะทิ ส้มตำ ขนมจีนนำ้ยา สาคูยัดใส้
มันทำให้ดิฉันได้ฝึกประสบการทำและขายจริงเป็นกิจกรรมที่ดีอย่างมากและยังได้เดินไปศึกษาซุ้มต่างๆซึ่งแต่ซุ้มมีทั้งความรู้ความบรรเทิงได้รู้และเห็นอะไรหลายอย่างที่ไม่เคยทำมาก่อนก็ได้ทำ
นางสาว ศุภักษร ทรงวาจา คบ5/2 คหกรรมศาสตร์ รหัสนักศึกษา55191600225

Unknown กล่าวว่า...

Unknown กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆดังนี้1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจากนั้นก็นำมาวางบนไข่ให้เต็มปากขวดโหล ปิดฝา
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และได้ความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพโดยสาขาสาธารณะสุขได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อน้ำมันประกอบอาหารและข้อปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีคือหลีกเหลี่ยงการกินอาหารที่ใช้น้ำมันที่มีสีเข้มทอดหรือมีควันจำนวนมาก
ได้รู้จักหลักการเลียงไก่
การทำนาข้าว้
ได้รู้จักวิถีเศรฐกิจพอเพียง

นายมนูญ จันทร์หนองสรวง 56191470119
ดนตรีศึกษา

หนุ่มตามฝัน ลูกชาวนา กล่าวว่า...

กระผมนายจตุรงค์ ผดุงรัตน์ ได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์ จากซุ้มต่างๆดังนี้
1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4 ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจากนั้นก็นำมาวางบนไข่ให้เต็มปากขวดโหล ปิดฝา
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และได้ความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพโดยสาขาสาธารณะสุขได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อน้ำมันประกอบอาหารและข้อปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีคือหลีกเหลี่ยงการกินอาหารที่ใช้น้ำมันที่มีสีเข้มทอดหรือมีควันจำนวนมาก
ได้รู้จักหลักการเลียงไก่
การทำนาข้าว
ได้รู้จักวิถีเศรฐกิจพอเพียง ได้รู้จัการใช้ชีวิตของเกษตรกร

นายจตุรงค์ ผดุงรัตน์
56191470117
ดนตรีศึกษา

Unknown กล่าวว่า...

จากที่กะผมนายปิชรวิทย์ วงศ์หินกอง ได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆดังนี้1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจากนั้นก็นำมาวางบนไข่ให้เต็มปากขวดโหล ปิดฝา
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และได้ความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพโดยสาขาสาธารณะสุขได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อน้ำมันประกอบอาหารและข้อปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีคือหลีกเหลี่ยงการกินอาหารที่ใช้น้ำมันที่มีสีเข้มทอดหรือมีควันจำนวนมาก

นายปิชรวิทย์ วงศ์หินกอง
56191470118
ดนตรีศึกษา

Unknown กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์
จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆ ข้าพเจ้าได้เข้าไปศึกษาดูงานจากซุ้มของนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์ชั้นปีที่ 2 ซึ่งได้ให้ความรู้เรื่อง เปลวไปลอยน้ำ มีวิธีการทดลองดังนี้
อุปกรณ์การทดลอง
1. เทียนไข
2. แก้วทรงสูงใส่น้ำ (ต้องสูงกว่าความยาวเทียนนะ)
3. หมุดหัวหมวก หรือตะปูเกลียวตัวเล็กๆ
วิธีทดลอง
1. เติมน้ำลงในแก้ว 5/6 แก้ว
2. นำหมุดมาปักลงที่ฐานเทียนไข(ด้านป้าน)
3. นำแท่งเทียนใส่ลงไปในแก้วน้ำ แล้วจุดเทียน
ผลการทดลอง
เทียนไขลอยอยู่ที่ผิวน้ำได้ และไฟก็จะไม่ดับ เพราะเทียนทำจากขี้ผึ้งพาราฟินจึงไม่เปียกน้ำ และหมุดหัวหมวก ทำหน้าที่เป็นจุดรวมน้ำหนักให้อยู่ที่แกนกลางแท่งเทียนจึงไม่เอียงคว่ำ ขี้ผึ้งพาราฟินเป็นไขมันที่ได้จากการกลั่นจากปิโตรเลียมมีลักษณะใส ไม่มีกลิ่น ไม่มีรสชาติ คล้ายกับขี้ผึ้ง จุดหลอมเหลวที่ 47-64 องศาเซลเซียส ซึ่งขี้ผึ้งพาราฟินบริสุทธิ์จะมีคุณสมบัติเป็นฉนวนกันความร้อนที่ดี ไม่ละลายน้ำ พาราฟินมักนำมาทำเทียนไข หรือเคลือบวัสดุต่าง ๆ เพื่อป้องกันไม่ให้โดนความชื้นจากน้ำ นาย สมศักดิ์ พะเนิกรัมย์ รหัส 55122220139 สาขา วิศวกรรมโยธาและสถาปัตยกรรม

Unknown กล่าวว่า...

สมศักดิ์ พะเนิกรัมย์ กล่าวว่า...
กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์
จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆ ข้าพเจ้าได้เข้าไปศึกษาดูงานจากซุ้มของนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์ชั้นปีที่ 2 ซึ่งได้ให้ความรู้เรื่อง เปลวไปลอยน้ำ มีวิธีการทดลองดังนี้
อุปกรณ์การทดลอง
1. เทียนไข
2. แก้วทรงสูงใส่น้ำ (ต้องสูงกว่าความยาวเทียนนะ)
3. หมุดหัวหมวก หรือตะปูเกลียวตัวเล็กๆ
วิธีทดลอง
1. เติมน้ำลงในแก้ว 5/6 แก้ว
2. นำหมุดมาปักลงที่ฐานเทียนไข(ด้านป้าน)
3. นำแท่งเทียนใส่ลงไปในแก้วน้ำ แล้วจุดเทียน
ผลการทดลอง
เทียนไขลอยอยู่ที่ผิวน้ำได้ และไฟก็จะไม่ดับ เพราะเทียนทำจากขี้ผึ้งพาราฟินจึงไม่เปียกน้ำ และหมุดหัวหมวก ทำหน้าที่เป็นจุดรวมน้ำหนักให้อยู่ที่แกนกลางแท่งเทียนจึงไม่เอียงคว่ำ ขี้ผึ้งพาราฟินเป็นไขมันที่ได้จากการกลั่นจากปิโตรเลียมมีลักษณะใส ไม่มีกลิ่น ไม่มีรสชาติ คล้ายกับขี้ผึ้ง จุดหลอมเหลวที่ 47-64 องศาเซลเซียส ซึ่งขี้ผึ้งพาราฟินบริสุทธิ์จะมีคุณสมบัติเป็นฉนวนกันความร้อนที่ดี ไม่ละลายน้ำ พาราฟินมักนำมาทำเทียนไข หรือเคลือบวัสดุต่าง ๆ เพื่อป้องกันไม่ให้โดนความชื้นจากน้ำ นาย สมศักดิ์ พะเนิกรัมย์ รหัส 55122220139 สาขา วิศวกรรมโยธาและสถาปัตยกรรม

Unknown กล่าวว่า...

สมศักดิ์ พะเนิกรัมย์ กล่าวว่า...
สมศักดิ์ พะเนิกรัมย์ กล่าวว่า...
กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์
จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆ ข้าพเจ้าได้เข้าไปศึกษาดูงานจากซุ้มของนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์ชั้นปีที่ 2 ซึ่งได้ให้ความรู้เรื่อง เปลวไปลอยน้ำ มีวิธีการทดลองดังนี้
อุปกรณ์การทดลอง
1. เทียนไข
2. แก้วทรงสูงใส่น้ำ (ต้องสูงกว่าความยาวเทียนนะ)
3. หมุดหัวหมวก หรือตะปูเกลียวตัวเล็กๆ
วิธีทดลอง
1. เติมน้ำลงในแก้ว 5/6 แก้ว
2. นำหมุดมาปักลงที่ฐานเทียนไข(ด้านป้าน)
3. นำแท่งเทียนใส่ลงไปในแก้วน้ำ แล้วจุดเทียน
ผลการทดลอง
เทียนไขลอยอยู่ที่ผิวน้ำได้ และไฟก็จะไม่ดับ เพราะเทียนทำจากขี้ผึ้งพาราฟินจึงไม่เปียกน้ำ และหมุดหัวหมวก ทำหน้าที่เป็นจุดรวมน้ำหนักให้อยู่ที่แกนกลางแท่งเทียนจึงไม่เอียงคว่ำ ขี้ผึ้งพาราฟินเป็นไขมันที่ได้จากการกลั่นจากปิโตรเลียมมีลักษณะใส ไม่มีกลิ่น ไม่มีรสชาติ คล้ายกับขี้ผึ้ง จุดหลอมเหลวที่ 47-64 องศาเซลเซียส ซึ่งขี้ผึ้งพาราฟินบริสุทธิ์จะมีคุณสมบัติเป็นฉนวนกันความร้อนที่ดี ไม่ละลายน้ำ พาราฟินมักนำมาทำเทียนไข หรือเคลือบวัสดุต่าง ๆ เพื่อป้องกันไม่ให้โดนความชื้นจากน้ำ นาย สมศักดิ์ พะเนิกรัมย์ รหัส 55122220139 สาขา วิศวกรรมโยธาและสถาปัตยกรรม

Unknown กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์
จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆ ข้าพเจ้าได้เข้าไปศึกษาดูงานจากซุ้มของนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์ชั้นปีที่ 2 ซึ่งได้ให้ความรู้เรื่อง ขวดเป่าลูกโป่ง มีวิธีการทดลองดังนี้
อุปกรณ์การทดลอง
1. ขวดแก้วเตี้ย อย่างขวดน้ำส้มสแปลช 1 ขวด
2. ลูกโป่ง 1 ใบ
3. ผงฟู (เบกกิ้งโซดา) 5 ช้อนโต๊ะ
4. น้ำส้มสายชู
วิธีทดลอง
1. เป่าลูกโป่งให้ยืดตัวก่อนทดลองสัก 2 รอบ
2. ใส่เบกกิ้งโซดา ลงในขวดแก้ว
3. เติมน้ำส้มสายชูลงไป
4. ครอบลูกโป่งลงบนปากขวด
ผลการทดลอง
เมื่อเบกกิ้งโซดา ทำปฏิกิริยากับน้ำส้มสายชูจะเกิดก๊าซคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ขึ้นก๊าซเบากว่าอากาศ จึงลอยสูงขึ้น เมื่อมีก๊าซมากๆก็จะดันลูกโป่งให้พองออกได้ เบกกิ้งโซดา (Baking Soda) มีชื่อทางวิทย่ศาสตร์ว่า โซเดียมไบคาร์บอเนต (Sodium Bicarbonate) หรือที่คุณแม่เรียกว่า ผงฟู นั่นเอง
นายราเชนทร์ ไชยพันธ์ รปศ 55128040238

Unknown กล่าวว่า...

ข้าพเจ้าได้เป็นผู้ควบคุมกิจกรรมวันวิทยาศาสตร์สาขา ฟิสิกส์ เรื่อง เส้นแรงแม่เหล็ก ความรู้ที่ข้าพเจ้าได้รับคือ เส้นแรงแม่เหล็ก (Magnetic Lines of Force) คือ เส้นสมมติเสมือนว่าแท่งแม่เหล็กส่งอำนาจการดึงดูดไปถึง วิธีหาเส้นแรงแม่เหล็ก
ทำได้โดย
1.ใช้ผงตะไบเหล็ก โรยบนกระดาษที่วางทับแท่งแม่เหล็กไว้เมื่อกระดาษ เมื่อเคาะเบา ๆ จะมองเห็นแนวของเส้นแรง

2. ใช้เข็มทิศ แนวการวางตัวของเข็มทิศ คือ แนวของเส้นแรงแม่เหล็กจากวิธีการนี้จะทำให้เห็นว่าเส้นแรงแม่เหล็กมีทิศออกจากขั้วเหนือ
ไปสู่ขั้วใต้เสมอ

สมบัติของเส้นแรงแม่เหล็ก
1. มีทิศพุ่งออกจากขั้วเหนือไปขั้วใต้ และมีความหนาแน่นมากบริเวณใกล้ขั้วแม่เหล็ก ส่วนทิศของเส้นแรงแม่เหล็กโลกจะมีทิศจาก
ขั้วโลกใต้สู่ขั้วโลกเหนือ เพราะแท่งแม่เหล็กโลกมีขั้วเหนืออยู่ทางทิศใต้ และขั้วใต้อยู่ทางทิศเหนือ
2. เส้นแรงแม่เหล็กไม่ตัดกัน แต่จะรวมกันหรือต้านกันออกไป
และความรู้ที่ข้าพเจ้าได้รับนี้ ข้าพเจ้ายังได้ถ่ายทอดให้กับนักเรียน นักศึกษา และผู้ที่สนใจศึกษาทั่วไป ได้รับฟังด้วย ในซุ้ม เฉพาะเอกฟิสิกส์ ยังมีความรู้ที่ให้ผูสนใจศึกษามากมาย ไม่ว่าจะเป็น ไฟฟ้าสถิต ปรากฏการณ์จันทรุปราคา ปรากฏการณ์คลื่น เป็นต้นและได้ให้ความรู้เรื่อง ขวดเป่าลูกโป่ง มีวิธีการทดลองดังนี้
อุปกรณ์การทดลอง
1. ขวดแก้วเตี้ย อย่างขวดน้ำส้มสแปลช 1 ขวด
2. ลูกโป่ง 1 ใบ
3. ผงฟู (เบกกิ้งโซดา) 5 ช้อนโต๊ะ
4. น้ำส้มสายชู
วิธีทดลอง
1. เป่าลูกโป่งให้ยืดตัวก่อนทดลองสัก 2 รอบ
2. ใส่เบกกิ้งโซดา ลงในขวดแก้ว
3. เติมน้ำส้มสายชูลงไป
4. ครอบลูกโป่งลงบนปากขวด
ผลการทดลอง
เมื่อเบกกิ้งโซดา ทำปฏิกิริยากับน้ำส้มสายชูจะเกิดก๊าซคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ขึ้นก๊าซเบากว่าอากาศ จึงลอยสูงขึ้น เมื่อมีก๊าซมากๆก็จะดันลูกโป่งให้พองออกได้ เบกกิ้งโซดา (Baking Soda) มีชื่อทางวิทย่ศาสตร์ว่า โซเดียมไบคาร์บอเนต (Sodium Bicarbonate) หรือที่คุณแม่เรียกว่า ผงฟู นั่นเองค่ะ

นางสาวอรไท จันศร
รหัสนักศึกษา 54191700245
สาขาอุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี หมู่ 2

Unknown กล่าวว่า...

ข้าพเจ้าได้เป็นผู้ควบคุมกิจกรรมวันวิทยาศาสตร์สาขา ฟิสิกส์ เรื่อง เส้นแรงแม่เหล็ก ความรู้ที่ข้าพเจ้าได้รับคือ เส้นแรงแม่เหล็ก (Magnetic Lines of Force) คือ เส้นสมมติเสมือนว่าแท่งแม่เหล็กส่งอำนาจการดึงดูดไปถึง วิธีหาเส้นแรงแม่เหล็ก
ทำได้โดย
1.ใช้ผงตะไบเหล็ก โรยบนกระดาษที่วางทับแท่งแม่เหล็กไว้เมื่อกระดาษ เมื่อเคาะเบา ๆ จะมองเห็นแนวของเส้นแรง

2. ใช้เข็มทิศ แนวการวางตัวของเข็มทิศ คือ แนวของเส้นแรงแม่เหล็กจากวิธีการนี้จะทำให้เห็นว่าเส้นแรงแม่เหล็กมีทิศออกจากขั้วเหนือ
ไปสู่ขั้วใต้เสมอ

สมบัติของเส้นแรงแม่เหล็ก
1. มีทิศพุ่งออกจากขั้วเหนือไปขั้วใต้ และมีความหนาแน่นมากบริเวณใกล้ขั้วแม่เหล็ก ส่วนทิศของเส้นแรงแม่เหล็กโลกจะมีทิศจาก
ขั้วโลกใต้สู่ขั้วโลกเหนือ เพราะแท่งแม่เหล็กโลกมีขั้วเหนืออยู่ทางทิศใต้ และขั้วใต้อยู่ทางทิศเหนือ
2. เส้นแรงแม่เหล็กไม่ตัดกัน แต่จะรวมกันหรือต้านกันออกไป
และความรู้ที่ข้าพเจ้าได้รับนี้ ข้าพเจ้ายังได้ถ่ายทอดให้กับนักเรียน นักศึกษา และผู้ที่สนใจศึกษาทั่วไป ได้รับฟังด้วย ในซุ้ม เฉพาะเอกฟิสิกส์ ยังมีความรู้ที่ให้ผูสนใจศึกษามากมาย ไม่ว่าจะเป็น ไฟฟ้าสถิต ปรากฏการณ์จันทรุปราคา ปรากฏการณ์คลื่น เป็นต้นและได้ให้ความรู้เรื่อง ขวดเป่าลูกโป่ง มีวิธีการทดลองดังนี้
อุปกรณ์การทดลอง
1. ขวดแก้วเตี้ย อย่างขวดน้ำส้มสแปลช 1 ขวด
2. ลูกโป่ง 1 ใบ
3. ผงฟู (เบกกิ้งโซดา) 5 ช้อนโต๊ะ
4. น้ำส้มสายชู
วิธีทดลอง
1. เป่าลูกโป่งให้ยืดตัวก่อนทดลองสัก 2 รอบ
2. ใส่เบกกิ้งโซดา ลงในขวดแก้ว
3. เติมน้ำส้มสายชูลงไป
4. ครอบลูกโป่งลงบนปากขวด
ผลการทดลอง
เมื่อเบกกิ้งโซดา ทำปฏิกิริยากับน้ำส้มสายชูจะเกิดก๊าซคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ขึ้นก๊าซเบากว่าอากาศ จึงลอยสูงขึ้น เมื่อมีก๊าซมากๆก็จะดันลูกโป่งให้พองออกได้ เบกกิ้งโซดา (Baking Soda) มีชื่อทางวิทย่ศาสตร์ว่า โซเดียมไบคาร์บอเนต (Sodium Bicarbonate) หรือที่คุณแม่เรียกว่า ผงฟู นั่นเองค่ะ
นางสาวอรไท จันศร
รหัสนักศึกษา 54191700245
สาขาอุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี หมู่ 2

Unknown กล่าวว่า...

ข้าพเจ้าได้เป็นผู้ควบคุมกิจกรรมวันวิทยาศาสตร์สาขา ฟิสิกส์ เรื่อง เส้นแรงแม่เหล็ก ความรู้ที่ข้าพเจ้าได้รับคือ เส้นแรงแม่เหล็ก (Magnetic Lines of Force) คือ เส้นสมมติเสมือนว่าแท่งแม่เหล็กส่งอำนาจการดึงดูดไปถึง วิธีหาเส้นแรงแม่เหล็ก
ทำได้โดย
1.ใช้ผงตะไบเหล็ก โรยบนกระดาษที่วางทับแท่งแม่เหล็กไว้เมื่อกระดาษ เมื่อเคาะเบา ๆ จะมองเห็นแนวของเส้นแรง

2. ใช้เข็มทิศ แนวการวางตัวของเข็มทิศ คือ แนวของเส้นแรงแม่เหล็กจากวิธีการนี้จะทำให้เห็นว่าเส้นแรงแม่เหล็กมีทิศออกจากขั้วเหนือ
ไปสู่ขั้วใต้เสมอ

สมบัติของเส้นแรงแม่เหล็ก
1. มีทิศพุ่งออกจากขั้วเหนือไปขั้วใต้ และมีความหนาแน่นมากบริเวณใกล้ขั้วแม่เหล็ก ส่วนทิศของเส้นแรงแม่เหล็กโลกจะมีทิศจาก
ขั้วโลกใต้สู่ขั้วโลกเหนือ เพราะแท่งแม่เหล็กโลกมีขั้วเหนืออยู่ทางทิศใต้ และขั้วใต้อยู่ทางทิศเหนือ
2. เส้นแรงแม่เหล็กไม่ตัดกัน แต่จะรวมกันหรือต้านกันออกไป
และความรู้ที่ข้าพเจ้าได้รับนี้ ข้าพเจ้ายังได้ถ่ายทอดให้กับนักเรียน นักศึกษา และผู้ที่สนใจศึกษาทั่วไป ได้รับฟังด้วย ในซุ้ม เฉพาะเอกฟิสิกส์ ยังมีความรู้ที่ให้ผูสนใจศึกษามากมาย ไม่ว่าจะเป็น ไฟฟ้าสถิต ปรากฏการณ์จันทรุปราคา ปรากฏการณ์คลื่น เป็นต้นและได้ให้ความรู้เรื่อง ขวดเป่าลูกโป่ง มีวิธีการทดลองดังนี้
อุปกรณ์การทดลอง
1. ขวดแก้วเตี้ย อย่างขวดน้ำส้มสแปลช 1 ขวด
2. ลูกโป่ง 1 ใบ
3. ผงฟู (เบกกิ้งโซดา) 5 ช้อนโต๊ะ
4. น้ำส้มสายชู
วิธีทดลอง
1. เป่าลูกโป่งให้ยืดตัวก่อนทดลองสัก 2 รอบ
2. ใส่เบกกิ้งโซดา ลงในขวดแก้ว
3. เติมน้ำส้มสายชูลงไป
4. ครอบลูกโป่งลงบนปากขวด
ผลการทดลอง
เมื่อเบกกิ้งโซดา ทำปฏิกิริยากับน้ำส้มสายชูจะเกิดก๊าซคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ขึ้นก๊าซเบากว่าอากาศ จึงลอยสูงขึ้น เมื่อมีก๊าซมากๆก็จะดันลูกโป่งให้พองออกได้ เบกกิ้งโซดา (Baking Soda) มีชื่อทางวิทย่ศาสตร์ว่า โซเดียมไบคาร์บอเนต (Sodium Bicarbonate) หรือที่คุณแม่เรียกว่า ผงฟู นั่นเองค่ะ
นางสาวอรไท จันศร
รหัสนักศึกษา 54191700245
สาขาอุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี หมู่ 2

นางสาวโสภา พราวแดง คบ.คหกรรมศาสตร์ หมู่ 2 55191600227 กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้ม
สาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่่4ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจากนั้นก็นำมาวางบนไข่ให้เต็มปากขวดโหล ปิดฝา
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และได้ความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพโดยสาขาสาธารณะสุขได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อน้ำมันประกอบอาหารและข้อปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีคือหลีกเหลี่ยงการกินอาหารที่ใช้น้ำมันที่มีสีเข้มทอดหรือมีควันจำนวนมาก

Unknown กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์ กระผมได้เดินดูในแต่ละซุ้มของแต่ละสาขา ได้จัดตั้งเป็นซุ้มขึ้นมาโดยบางซุ้มมีกิจกรรมให้เล่นและร่วมสนุกได้ เช่น การเข้าร่วมทดลองไฟฟ้าสถิต และต่างๆอิกมากมาย ถัดไปอีกก้อมีซุ้มของ
เอก วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร มีการทำอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายเป็นสาขาวิชาที่ประยุกต์มาจากวิทยาศาสตร์การอาหาร มีเนื้อหาเกี่ยวกับการถนอมอาหาร การแปรรูปอาหาร บรรจุภัณฑ์ การจัดจำหน่ายอาหาร และหลักโภชนาการของอาหาร
นักวิทยาศาสตร์การอาหารและนักเทคโนโลยีอาหารเป็นจะศึกษาลักษณะทางกายภาพ ทางจุลชีววิทยา และทางเคมีของอาหาร

นาย รังสรรค์ กระจ่างจิต
55128040233
รปศ. (การปกครองท้องถิ้น)

Unknown กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์ กระผมได้เดินดูในแต่ละซุ้มของแต่ละสาขา ได้จัดตั้งเป็นซุ้มขึ้นมาโดยบางซุ้มมีกิจกรรมให้เล่นและร่วมสนุกได้ เช่น การเข้าร่วมทดลองไฟฟ้าสถิต และต่างๆอิกมากมาย ถัดไปอีกก้อมีซุ้มของ
เอก วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร มีการทำอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายเป็นสาขาวิชาที่ประยุกต์มาจากวิทยาศาสตร์การอาหาร มีเนื้อหาเกี่ยวกับการถนอมอาหาร การแปรรูปอาหาร บรรจุภัณฑ์ การจัดจำหน่ายอาหาร และหลักโภชนาการของอาหาร
นักวิทยาศาสตร์การอาหารและนักเทคโนโลยีอาหารเป็นจะศึกษาลักษณะทางกายภาพ ทางจุลชีววิทยา และทางเคมีของอาหาร

นาย รังสรรค์ กระจ่างจิต
55128040233
รปศ. (การปกครองท้องถิ้น)

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้เข้าร่วมกิจกรรมวันวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ซึ่งในงานมีการจัดซุ้มต่างๆดังนี้
1.ซุ้มฟิสิกส์
2.อาหารเพื่อสุขภาพ
3.วิทยาศาสตร์สุขภาพ
4.กลเคมี
5.Ssc Biology
6.คุณเฮง ไอที
7.อาหารอาเซียน คหกรรมศาสตร์
8. Information Technology Program
และมีการจัดการแข่งขันประกวดชุดรีไซเคิล และมีการตอบคำถามเพื่อรับรางวัลทั้งยังมีกิจกรรมต่าง ๆและการแสดงจากกนักดนตรีต่างๆอีกด้วยซึ่งข้าพเจ้าได้เข้าซุ้มฟิสิกส์ในซุ้มมีการจัดนิทรรศการเรื่องระบบสุริยะ ทั้งยังมีการจัดจำหน่ายอาหารเพื่อสุขภาพอีกด้วย
นาย ศิลปไทย ชูแก้ว วิทยาการคอมพิวเตอร์ 56122420111

thitima kumgaw กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆดังนี้1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจากนั้นก็นำมาวางบนไข่ให้เต็มปากขวดโหล ปิดฝา
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และได้ความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพโดยสาขาสาธารณะสุขได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อน้ำมันประกอบอาหารและข้อปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีคือหลีกเหลี่ยงการกินอาหารที่ใช้น้ำมันที่มีสีเข้มทอดหรือมีควันจำนวนมาก


นางสวาฐิติมา คุ้มแก้ว 56191860202
ปฐมวัย คบ.5/1 หมู่ 2

Unknown กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆดังนี้1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจากนั้นก็นำมาวางบนไข่ให้เต็มปากขวดโหล ปิดฝา
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และได้ความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพโดยสาขาสาธารณะสุขได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อน้ำมันประกอบอาหารและข้อปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีคือหลีกเหลี่ยงการกินอาหารที่ใช้น้ำมันที่มีสีเข้มทอดหรือมีควันจำนวนมาก
นางสาวเพ็ญพะยอม หล่าบรรเทา
สาขาเกษตรศาสตร์ ค.บ.5/1

รหัสนักศึกษา 56191500228

Unknown กล่าวว่า...

จากการที่ได้ไปศึกษาดูงานกิจกรรมวันวิทยาศาสตร์ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาฟิสิกส์ ได้ความรู้ในเรื่องของส้อมสมดุล ประโยชน์ที่นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น ประโยชน์ของส้อมสมดุล
หากสังเกตวัตถุต่าง ๆ ที่เป็นของแข็งและมีรูปทรง การวางวัตถุบนพื้นระนาบจะมีลักษณะสมดลย์ได้ขึ้นอยู่กับตำแหน่งและแนวของจุดศูนย์ถ่วง
จุดศูนย์ถ่วง คือจุดที่เหมือนตำแหน่งที่รวมของน้ำหนักของวัตถุทั้งก้อน
ตุ๊กตาล้มลุกมีตำแหน่งจุดศูนย์ถ่วงต่ำ การโยกตุ๊กตาจึงไม่ล้มและจะกลับมาตั้งตามเดิม


วัตถุในรูป A วางอยู่ในลักษณะสมดุลย์ เพราะแนวของ CG ที่ตั้งดิ่งลงสู่พื้นโลก อยู่ในกรอบฐาน ถ้าโยกวัตถุรูป A ให้อยู่ในตำแหน่ง B มีแนวของจุดศูนย์ถ่วง CG ยังอยู่ในฐาน วัตถุจะกลับมาตำแหน่งเดิมตามรูป A ถ้าโยกวัตถุรูป A ให้อยู่ในตำแหน่ง C มีแนวจุดศูนย์ถ่วง CG เลยออกจากฐานวัตถุจะล้ม
ในโมบายที่จัดวางในแนวระนาบได้ เพราะตำแหน่งของ CG รวมของวัตถุทั้งหมดอยู่ในตำแหน่งของเส้นเชือกในแนวดิ่ง

การผูกเชือกกับวัตถุและปล่อยวัตถุห้อยลง แนวของ CG ของวัตถุจะอยู่สมดุลย์ได้ในแนวระดับตรงกับเชือกในแนวดิ่ง

สรุปได้ว่าวัตถุรูปร่างใดก็ตาม ถ้าแขวนแล้ววัตถุหยุดนิ่งสมดุลย์ของวัตถุนั้นจะเกิดขึ้นได้ต้องให้แนว CG อยู่ในแนวเดียวกับเชือ



นางสาวมินตรา ภูมิสิทธิ์ 56191430106 สาขาฟิสิกส์ ค.บ.5/1

Unknown กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆดังนี้1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจากนั้นก็นำมาวางบนไข่ให้เต็มปากขวดโหล ปิดฝา
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และได้ความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพโดยสาขาสาธารณะสุขได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อน้ำมันประกอบอาหารและข้อปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีคือหลีกเหลี่ยงการกินอาหารที่ใช้น้ำมันที่มีสีเข้มทอดหรือมีควันจำนวนมาก
นางสาว พัชรีพร กว้างขวาง สาขา เกษตรศาสตร์ ค.บ 5/1 รหัส 56191500115

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ข้าพเจ้ากับเพื่อนทั้ง3ได้จัดสถานที่เตรียมขายขนมจีนขายหมี่กะทิ บัวลอย ส้มตำ ข้าพเจ้าได้ประสบการณ์จากการขายของมนงานวันวิทยาสตร์เป็นอย่างมากได้พบประพูดคุยกับคนที่เข้ามาชื้อของได้เรียนรู้เรื่องราวต่างจากซุ้มแต่ละเอกแต่ละสาขา ข้าพเจ้าได้สลับกันไปเดินดุซุ้มต่างๆและข้าพเจ้ากับเพื่อนทั้ง3ไปชอบใจซุ้มของเอกฟิสิกส์มากเขามีการทดลองแม่แรงสถิตไพฟ้าให้ดู
เอกคหกรรมศาสตร์ หมู่2
นางสาว ไพริน พรมศร55191600204
นางสาว รัตติยา รัตนนทร์ 55191600213
นางสาว สุพานี สว่างแผ้ว55191600232

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ข้าพเจ้ากับเพื่อนทั้ง3ได้จัดสถานที่เตรียมขายขนมจีนขายหมี่กะทิ บัวลอย ส้มตำ ข้าพเจ้าได้ประสบการณ์จากการขายของมนงานวันวิทยาสตร์เป็นอย่างมากได้พบประพูดคุยกับคนที่เข้ามาชื้อของได้เรียนรู้เรื่องราวต่างจากซุ้มแต่ละเอกแต่ละสาขา ข้าพเจ้าได้สลับกันไปเดินดุซุ้มต่างๆและข้าพเจ้ากับเพื่อนทั้ง3ไปชอบใจซุ้มของเอกฟิสิกส์มากเขามีการทดลองแม่แรงสถิตไพฟ้าให้ดู
เอกคหกรรมศาสตร์ หมู่2
นางสาว ไพริน พรมศร55191600204
นางสาว รัตติยา รัตนนทร์ 55191600213
นางสาว สุพานี สว่างแผ้ว55191600232

Unknown กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆดังนี้1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจากนั้นก็นำมาวางบนไข่ให้เต็มปากขวดโหล ปิดฝา
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และได้ความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพโดยสาขาสาธารณะสุขได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อน้ำมันประกอบอาหารและข้อปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีคือหลีกเหลี่ยงการกินอาหารที่ใช้น้ำมันที่มีสีเข้มทอดหรือมีควันจำนวนมาก
ได้รู้จักหลักการเลียงไก่
การทำนาข้าว้
ได้รู้จักวิถีเศรฐกิจพอเพียง
นางสาวนิตยา นิสสัยงาม รหัส 56191960215 วิทยาศาสตร์

Unknown กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆดังนี้1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจากนั้นก็นำมาวางบนไข่ให้เต็มปากขวดโหล ปิดฝา
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และได้ความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพโดยสาขาสาธารณะสุขได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อน้ำมันประกอบอาหารและข้อปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีคือหลีกเหลี่ยงการกินอาหารที่ใช้น้ำมันที่มีสีเข้มทอดหรือมีควันจำนวนมาก
ได้รู้จักหลักการเลียงไก่
การทำนาข้าว้
ได้รู้จักวิถีเศรฐกิจพอเพียง
นางสาวนิตยา นิสสัยงาม รหัส 56191960215 วิทยาศาสตร์

Unknown กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทยาศาสทร์ ผมได้ไปทำซุ้ม สาขา ฟิสิกส์ เพื่อให้คนที่มางานได้เข้ามาศึกษา และให้ความรู้แก่เดกนักเรียน ตลอดจนงานเส็จสิ้น กระผมได้รับหน้าที่ดูแลเรื่องเก้าอี้โมเนตัม ทั้ง 3 วันเลย

วรรธนธัช สุวงศ์ ค.บ. ฟิฟิกส์ 56191430120

Unknown กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆดังนี้1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจากนั้นก็นำมาวางบนไข่ให้เต็มปากขวดโหล ปิดฝา
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และได้ความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพโดยสาขาสาธารณะสุขได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อน้ำมันประกอบอาหารและข้อปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีคือหลีกเหลี่ยงการกินอาหารที่ใช้น้ำมันที่มีสีเข้มทอดหรือมีควันจำนวนมาก
นายชัยยศ ทรงชาติ พลศึกษา 55191890133

Unknown กล่าวว่า...

จากการที่คณะวิทยาศาสตร์ได้จัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์นั้น ดิฉันได้เดินเข้าไปดูเพื่อจุดประสงค์เดียว คือ การเดิน เข้าไปหาของอร่อยๆกิน มีขนมจีน ที่เป็นของโปรดของดิฉัน ตอนแรกดิฉันไม่ค่อยๆสนใจอะไรมากหรอก แต่ก็ได้เดินดูเรื่อยๆ ไปหยุดที่ซุ้มสาวไหม ไปกินตัวดักแด้อร่อยมากไปดูกรรมวิธีในการสาวไหม และไปหยุดที่ซุ้มเกษตรได้เห็นการปลูกพืชผักสวนครัวตามเศรษฐกิจพิเพียงของพ่อหลวง ดิฉันชอบซุ้มระบายสีมากกว่าเพราะมันผ่อนคลายกับการที่ดิฉันเพิ่งเรียนเสร็จ
นางสาวปวีณา แสนหยุด ๕๕๑๙๑๐๑๐๒๓๖ ภาษาไทย

Unknown กล่าวว่า...


ข้าพเจ้าได้เป็นผู้ควบคุมกิจกรรมวันวิทยาศาสตร์สาขา ฟิสิกส์ เรื่อง เส้นแรงแม่เหล็ก ความรู้ที่ข้าพเจ้าได้รับคือ เส้นแรงแม่เหล็ก (Magnetic Lines of Force) คือ เส้นสมมติเสมือนว่าแท่งแม่เหล็กส่งอำนาจการดึงดูดไปถึง วิธีหาเส้นแรงแม่เหล็ก
ทำได้โดย
1.ใช้ผงตะไบเหล็ก โรยบนกระดาษที่วางทับแท่งแม่เหล็กไว้เมื่อกระดาษ เมื่อเคาะเบา ๆ จะมองเห็นแนวของเส้นแรง

2. ใช้เข็มทิศ แนวการวางตัวของเข็มทิศ คือ แนวของเส้นแรงแม่เหล็กจากวิธีการนี้จะทำให้เห็นว่าเส้นแรงแม่เหล็กมีทิศออกจากขั้วเหนือ
ไปสู่ขั้วใต้เสมอ
แม่เหล็กและสนามแม่เหล็ก แม่เหล็กหมายถึงสารซึ่งมีสมบัติดังต่อไปนี้ ...
1. สามารถก่อให้เกิดแรงดูดหรือแรงพลักกับแม่เหล็กได้
2. มีขั้ว 2 ชนิดคือขั้วเหนือและขั้วใต้ขั้วทั้งสองของแม่เหล็กแท่งเดียวกัน
จะมีกำลังเท่ากันเสมอ
3. เมื่ออยู่ในภาวะอิสระสามารถเคลื่อนที่คล่องตัวในแนวราบ จะวางตัว
ในแนวเหนือใต้เสมอ
4. ขั้วชนิดเดียวกันจะพลักกัน ขั้วต่างชนิดกันจะดูดกัน
5. สามารถเหนี่ยวนำให้สารแม่เหล็กกลายเป็นแม่เหล็กได้
6. อำนาจแม่เหล็กมีคุณสมบัติทำให้ประจุไฟฟ้าเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อน
ที่ประจุไฟฟ้าบวกกับประจุไฟฟ้าลบ
จะเปลี่ยนทิศทางในสนามแม่เหล็กไปในทางตรงกันข้าม
7. อำนาจแม่เหล็กทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าได้



สนามแม่เหล็ก ......
เมื่อมีแม่เหล็กวางอยู่ ณ ตำแหน่งใดๆก็ตาม แม่เหล็กนั้นจะส่งอำนาจแม่เหล็กไปรอบบริเวณนั้น ถ้าเอาแม่เหล็กที่อื่นหรือวัตถุที่เป็นสารแม่เหล็กเข้าไปในบริเวณนั้นจะเกิดมี
แรงแม่เหล็กส่งมากระทำทันทีจากแม่เหล็กที่วางอยู่นั้นอย่างที่เราถือว่าแม่เหล็กหรือสารแม่เหล็กที่เรานำเข้าไปทีหลังเข้าไป
อยู่ในบริเวณซึ่งเป็น สนามแม่เหล็กของแม่เหล็กอันแรกถ้าเราถอยแม่เหล็ก
หรือสารแม่เหล็กออกมาให้ห่างมากๆแรงแม่เหล็กที่เคยเกิดขึ้นดังกล่าว
จะหมดไปหมายความว่า แม่เหล็กอันแรงส่งแรงไปกะะทำไม่ถึงจึงเห็นได้ว่า....
สนามแม่เหล็กคือ .. บริเวณหรือของเขตที่แม่เหล็กส่งอำนาจ
การดึงดูดออกไปถึง อำนาจแม่เหล็กที่ส่งออกจากแท่งแม่เหล็ก ส่งออกมาในรูปของเส้นแรงแม่เหล็ก

เส้นแรงแม่เหล็ก ( Magnetic Lines of Force )
เป็นเส้นสมมุติเหมือนว่าแท่งแม่เหล็กส่งอำนาจไปถึงวิธีหาเส้นแรงแม่เหล็กหาได้โดย
1. ใช้ผงตะไบเหลล็ก โรบลงบนกระดาษที่วางทับแม่เหล็กเอาไว้ เมื่อเคาะกระดาษเบาๆ
จะมองเห็นแนวของเส้นแรง
2. ใข้เข็มทิศ แนวทางการวางตัวของเข็มทิศคือแนวของเส้นแรงแม่เหล็ก วิธีการนี้ทำให้
เห็นว่าเส้นแรงแม่เหล้กม่ทิศทางออกจากขั้วเหนือไปสู่ขั้วใต้เสมอ



สนามแม่เหล็กของแท่งแม่เหล็กหาได้จากการใช้เข็มทิศ

สมบัติของเส้นแรงแม่เหล็ก ...
1. มีทิศทางออกจากขั้วเหนือไปขั้วใต้และมีความหนาแน้นมากบริเวณขั้วแม่เหล็กส่วนทิศทางของ
เส้นแรงแม่เหล็กโลกจะมีทิศทางจากขั้วโลกใต้สู่ขั้วโลกเหนือ
2. เส้นแรงแม่เหล็กไม่ตัดกันแต่จะรวมกันออกไปหรือต้านกันถ้ามีแม่เหล็กมากกว่า 1 ทำ
ให้เกิดจุดสะเทิน

จุดสะเทิน ( Neutural Poite ) คือจุดที่มีค่าความเข้มของสนามแม่เหล็กเป็นศูนย์ นางสาวทนิดา อรรคบาล รหัสนักศึกษา 56191430134 สาขาฟิสิกส์

Unknown กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆดังนี้1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจากนั้นก็นำมาวางบนไข่ให้เต็มปากขวดโหล ปิดฝา
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และได้ความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพโดยสาขาสาธารณะสุขได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อน้ำมันประกอบอาหารและข้อปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีคือหลีกเหลี่ยงการกินอาหารที่ใช้น้ำมันที่มีสีเข้มทอดหรือมีควันจำนวนมาก
ได้รู้จักหลักการเลียงไก่
การทำนาข้าว้
ได้รู้จักวิถีเศรฐกิจพอเพียง
นางสาวจรีญา จงใจรักษ์ รหัส 56191500229 สาขา ค.บ.เกษตรศาสตร์ 5/1

Unknown กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้ไปดูงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์ ได้รู้ว่าบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย คือ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่ 4)
พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงคำนวณคาดหมายไว้ว่าจะเกิดสุริยุปราคาที่ ตำบลหว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ในวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ.2411 เป็นวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ และได้ประกาศยกย่องว่า พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็น พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย นับว่าเหมาะสมด้วยประการทั้งปวง
งานทางด้านการวิจัย
พระองค์ได้ทรงคำนวณการเกิดสุริยุปราคา แบ่งขั้นตอนออกเป็น 3 ประการ
1.การคำนวณหาตำแหน่งของดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ โดยใช้ทฤษฎีการเคลื่อนที่ของดวงจันทร์(Theory of Lunar Motion)ปรากฏว่า พระองค์ทรงสามารถคำนวณตำแหน่งเทหวัตถุหลักของการเกิดสุริยุปราคานี้ได้อย่างถูกต้อง
2.หลังจากทำการคำนวณตำแหน่งดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ได้แล้ว จะต้องทำการคำนวณเพื่อตรวจสอบว่า จะมีโอกาสเกิดอุปราคาได้หรือไม่ ถ้าไม่ได้ก็ผ่านไป ถ้าสามารถเกิดได้จึงจะคำนวณขั้นต่อไป
3.ทำการคำนวณว่าการเกิดอุปราคาครั้งนั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีนี้ การเกิดสุริยุปราคาจะมีลักษณะอย่างไร ชนิดมืดหมดดวงหรือชนิดวงแหวนหรือชนิดมืดบางส่วน จะเห็นได้ที่ไหน และเวลาเท่าไรถึงเท่าไรตามระบบเวลามาตรฐาน ซึ่งจะต้องนำมาใช้ในการคำนวณด้วยตลอดตั้งแต่ต้น
พระองค์ทรงคำนวณได้อย่างถูกต้อง ทั้งในลักษณะของการเกิด เวลาที่เกิด และตำบลที่จะสังเกต ซึ่งเมื่อได้ทำการศึกษาเปรียบเทียบจากหลักฐานการคำนวณของหอดูดาวกรีนิชแล้ว ปรากฏว่าระบบคำนวณของพระองค์ถูกต้อง แต่ตัวเลขของพระองค์ไม่มีในระบบของกรีนิช แสดงว่าพระองค์ได้ทรงคำนวณขึ้นมาด้วยพระองค์เอง มิได้นำเอาผลการศึกษาคำนวณของฝรั่งมา
การบูรณาการงานด้านวิทยาศสาตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม กับจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
หลักการและเหตุผล
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(วท.)มีนโยบาย นำวิทยาศาสตร์ (ว.) เทคโนโลยี(ท.) และนวัตกรรม(น.) สู่จังหวัดและท้องถิ่น และมีการลงนามบันทึกความร่วมมือกับกระทรวงมหาดไทย(มท.) ในการดำเนินงานพัฒนาจังหวัดมาผสมผสานกับองค์ความรู้จากการวิจัยและพัฒนา ในการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ การบริการและการจัดการทรัพยากรของท้องถิ่นรวมทั้ง พัฒนาแหล่งเรียนรู้ด้าน ว. และ ท. ให้แก่ท้องถิ่นเพื่อสามารถพึ่งตนเองและสร้างความเข้มแข็งแก่สังคมและเศรษฐกิจอันจะนำไปสู่การสร้างงานสร้างเงินและสร้างคุณภาพชีวิตให้กับประชาชน
วัตถุประสงค์
1.เพื่อหาแนวทาง กรอบการจัดทำกิจกรรม โครงการด้าน วทน.กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
2.เพื่อนำองค์ความรู้เทคโนโลยี วทน.ไปถ่ายทอด เผยแพร่ดำเนินการในจังหวัด กลุ่มจังหวัด และองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
เป้าหมาย
1.เพื่อให้จังหวัดมีการนำ วทน.ไปใช้ในการพัฒนา
2.เพื่อการจัดทำโครงการด้าน วทน.บรรจุในแผนพัฒนาจังหวัด





นางสาวปรียาภรณ์ หนองบัว รหัสนักศึกษา 56191860103 สาขาการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์

Unknown กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์
จากการที่ข้าพเจ้าได้เข้าร่วมกิจกรรมวันวิทยาศาสตร์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ซึ่งในงานมีการจัดซุ้มต่างๆดังต่อไปนี้
1.ซุ้มฟิสิกส์
2.อาหารเพื่อสุขภาพ
3.วิทยาศาสตร์สุขภาพ
4.กลเคมี
5.Ssc Biology
6.คุณเฮง ไอที
7.อาหารอาเซียน คหกรรมศาสตร์
8. Information Technology Program
นอกจากนี้แล้วยังมีการจัดการแข่งขันประกวดชุดรีไซเคิล และมีการตอบคำถามเพื่อรับรางวัลทั้งยังมีกิจกรรมต่าง ๆและการแสดงจากกนักดนตรีต่างๆอีกด้วยซึ่งข้าพเจ้าได้เข้าไปศึกษาดูงานกิจกรรมวันวิทยาศาสตร์ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาฟิสิกส์ ได้ความรู้ในเรื่องของส้อมสมดุล ประโยชน์ที่นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น ประโยชน์ของส้อมสมดุล
หากสังเกตวัตถุต่าง ๆ ที่เป็นของแข็งและมีรูปทรง การวางวัตถุบนพื้นระนาบจะมีลักษณะสมดลย์ได้ขึ้นอยู่กับตำแหน่งและแนวของจุดศูนย์ถ่วง
จุดศูนย์ถ่วง คือจุดที่เหมือนตำแหน่งที่รวมของน้ำหนักของวัตถุทั้งก้อน
ตุ๊กตาล้มลุกมีตำแหน่งจุดศูนย์ถ่วงต่ำ การโยกตุ๊กตาจึงไม่ล้มและจะกลับมาตั้งตามเดิม
วัตถุในรูป A วางอยู่ในลักษณะสมดุลย์ เพราะแนวของ CG ที่ตั้งดิ่งลงสู่พื้นโลก อยู่ในกรอบฐาน ถ้าโยกวัตถุรูป A ให้อยู่ในตำแหน่ง B มีแนวของจุดศูนย์ถ่วง CG ยังอยู่ในฐาน วัตถุจะกลับมาตำแหน่งเดิมตามรูป A ถ้าโยกวัตถุรูป A ให้อยู่ในตำแหน่ง C มีแนวจุดศูนย์ถ่วง CG เลยออกจากฐานวัตถุจะล้ม
ในโมบายที่จัดวางในแนวระนาบได้ เพราะตำแหน่งของ CG รวมของวัตถุทั้งหมดอยู่ในตำแหน่งของเส้นเชือกในแนวดิ่ง
การผูกเชือกกับวัตถุและปล่อยวัตถุห้อยลง แนวของ CG ของวัตถุจะอยู่สมดุลย์ได้ในแนวระดับตรงกับเชือกในแนวดิ่ง
สรุปได้ว่าวัตถุรูปร่างใดก็ตาม ถ้าแขวนแล้ววัตถุหยุดนิ่งสมดุลย์ของวัตถุนั้นจะเกิดขึ้นได้ต้องให้แนว CG อยู่ในแนวเดียวกับเชือก
นางสาวปาริชาติ ชัยรังษี ค.บ. 5/2 สาขาภาษาไทย
รหัสนักศึกษา 55191010238

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์ สาขาฟิสิกส์ ข้าพเจ้าได้เป็นผู้ควบคุมดูแลเรื่อง วงจรไฟฟ้า ความรู้ที่ข้าพเจ้าได้รับคือ วงจรไฟฟ้ามี 3 วงจร ได้แก่
1. การต่อวงจรแบบอนุกรม เป็นการต่อความต้านทานเรียงกันไปตามลำดับ โดยที่ปลายสายของความต้านทานหรืออุปกรณ์ไฟฟ้า (หลอด) ของตัวที่หนึ่งต่อกับต้นสายของความต้านทานหรืออุปกรณ์ไฟฟ้า (หลอด) ของตัวที่สอง และอีกปลายหนึ่งของความต้านทานหรืออุปกรณ์ไฟฟ้าตัวที่สองต่อกับต้นสายของความต้านทาน
2. การต่อแบบวงจรขนาน การต่อความต้านทานแบบขนาน เป็นการต่อสายของความต้านทานแต่ละตัวไว้ที่เดียวกัน และปลายสายอีกด้านหนึ่งต่อร่วมกันไว้ที่เดียวกัน
3. การต่อวงจรแบบผสม เป็นการต่อความต้านทานที่มีทั้ง 2 แบบในวงจรเดียวกัน
3.1 วงจรผสมแบบอนุกรม-ขนาน เป็นการนำเครื่องใช้ไฟฟ้าหรือโหลดไปต่อกันอย่างอนุกรมก่อน แล้วจึงนำไปต่อกันแบบขนานอีกครั้งหนึ่ง
3.2 วงจรผสมแบบขนาน-อนุกรม เป็นการนำเครื่องใช้ไฟฟ้าหรือโหลดไปต่อกันอย่างขนานก่อน แล้วจึงนำไปต่อกันแบบอนุกรมอีกครั้งหนึ่ง

นางสาวจิรัฐกาล สามาลย์ ค.บ.ฟิสิกส์ 5/1 รหัสนักศึกษา 56191430135

Unknown กล่าวว่า...
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
Unknown กล่าวว่า...

งานสัปดาห์ได้จัดเต็นส์ของสาขาฟิสิกส์โดยเฉพาะ ให้พวกเราปี1ทุกคนในเอกได้ร่วกิจกรรมให้พวกเราสอนแล็ปแกน้องๆที่มาเข้าร่วมกิจกรรมพวกเราก็ได้อธิบายหลักการต่างๆแล็ปที่ดิฉันรับผิดชอบคือการเหนี่ยวนำทางไฟฟ้าได้ศึกษาหลักการทดลองคือจากการทดลองของไมเคิลฟาราเดย์ และเฮนรี่เฮริตสรุปว่า สนามแม่เหล็กเคลื่อนที่ตัดผ่านขดลวด ทำให้เกิดการเหนี่ยวนำแรงดันภายในขดลวด ถ้าต่อมิเตอร์แบบมีค่า 0 อยู่ตรงกลาง เข็มของมิเตอร์จะแสดงค่าเพิ่มขึ้นไปทางบวกหรือลดลงมาทางด้านลบ ขึ้นอยู่กับทิศทางของสนามแม่เหล็ก หรือในกรณีที่ใช้ตัวนำเคลื่อนที่ตัดผ่านสนามแม่เหล็ก ก็จะเกิดการเหนี่ยวนำแรงดัน ถ้าเคลื่อนที่ไปทางขวา เข็มมิเตอร์ก็จะเบี่ยงเบนไปทางด้านบวก แต่ถ้าเคลื่อนตัวนำไปทางด้านซ้าย เข็มมิเตอร์ก็จะเบี่ยงเบนกลับทิศทางไปยังด้านลบ

นางสาว ธารีรัตน์ มะยมหิน
ค.บ.ฟิสิกส์ 56191430127

Unknown กล่าวว่า...

1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4 ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจากนั้นก็นำมาวางบนไข่ให้เต็มปากขวดโหล ปิดฝา
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และได้ความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพโดยสาขาสาธารณะสุขได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อน้ำมันประกอบอาหารและข้อปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีคือหลีกเหลี่ยงการกินอาหารที่ใช้น้ำมันที่มีสีเข้มทอดหรือมีควันจำนวนมาก
ได้รู้จักหลักการเลียงไก่
การทำนาข้าว
ได้รู้จักวิถีเศรฐกิจพอเพียง ได้รู้จัการใช้ชีวิตของเกษตรกร

นายจิรพงศ์ ทานงาม 56191500201
ค.บ.เกษตรศาสตร์

Unknown กล่าวว่า...

จากที่ดิฉันได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆดังนี้1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจาก

ซุ้มของนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์ชั้นปีที่ 2 ซึ่งได้ให้ความรู้เรื่อง เปลวไฟลอยน้ำ มีวิธีการทดลองดังนี้
อุปกรณ์การทดลอง
1. เทียนไข
2. แก้วทรงสูงใส่น้ำ (ต้องสูงกว่าความยาวเทียนน)
3. หมุดหัวหมวก หรือตะปูเกลียวตัวเล็กๆ
วิธีทดลอง
1. เติมน้ำลงในแก้ว 5/6 แก้ว
2. นำหมุดมาปักลงที่ฐานเทียนไข(ด้านป้าน)
3. นำแท่งเทียนใส่ลงไปในแก้วน้ำ แล้วจุดเทียน
ผลการทดลอง
เทียนไขลอยอยู่ที่ผิวน้ำได้ และไฟก็จะไม่ดับ เพราะเทียนทำจากขี้ผึ้งพาราฟินจึงไม่เปียกน้ำ และหมุดหัวหมวก ทำหน้าที่เป็นจุดรวมน้ำหนักให้อยู่ที่แกนกลางแท่งเทียนจึงไม่เอียงคว่ำ ขี้ผึ้งพาราฟินเป็นไขมันที่ได้จากการกลั่นจากปิโตรเลียมมีลักษณะใส ไม่มีกลิ่น ไม่มีรสชาติ คล้ายกับขี้ผึ้ง จุดหลอมเหลวที่ 47-64 องศาเซลเซียส ซึ่งขี้ผึ้งพาราฟินบริสุทธิ์จะมีคุณสมบัติเป็นฉนวนกันความร้อนที่ดี ไม่ละลายน้ำ พาราฟินมักนำมาทำเทียนไข หรือเคลือบวัสดุต่าง ๆ เพื่อป้องกันไม่ให้โดนความชื้นจากน้ำ

Unknown กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์
จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆ ข้าพเจ้าได้เข้าไปศึกษาดูงานจากซุ้มของนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์ชั้นปีที่ 2 ซึ่งได้ให้ความรู้เรื่อง ขวดเป่าลูกโป่ง มีวิธีการทดลองดังนี้
อุปกรณ์การทดลอง
1. ขวดแก้วเตี้ย อย่างขวดน้ำส้มสแปลช 1 ขวด
2. ลูกโป่ง 1 ใบ
3. ผงฟู (เบกกิ้งโซดา) 5 ช้อนโต๊ะ
4. น้ำส้มสายชู
วิธีทดลอง
1. เป่าลูกโป่งให้ยืดตัวก่อนทดลองสัก 2 รอบ
2. ใส่เบกกิ้งโซดา ลงในขวดแก้ว
3. เติมน้ำส้มสายชูลงไป
4. ครอบลูกโป่งลงบนปากขวด
ผลการทดลอง
เมื่อเบกกิ้งโซดา ทำปฏิกิริยากับน้ำส้มสายชูจะเกิดก๊าซคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ขึ้นก๊าซเบากว่าอากาศ จึงลอยสูงขึ้น เมื่อมีก๊าซมากๆก็จะดันลูกโป่งให้พองออกได้ เบกกิ้งโซดา (Baking Soda) มีชื่อทางวิทย่ศาสตร์ว่า โซเดียมไบคาร์บอเนต (Sodium Bicarbonate) หรือที่คุณแม่เรียกว่า ผงฟู นั่นเอง

นางสาวนลิตา คำโฮม 54191700212 สาขาอุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี หมู่2 ปี3

Unknown กล่าวว่า...

ข้าพเจ้าได้เป็นผู้ควบคุมกิจกรรมวันวิทยาศาสตร์สาขา ฟิสิกส์ เรื่อง เส้นแรงแม่เหล็ก ความรู้ที่ข้าพเจ้าได้รับคือ เส้นแรงแม่เหล็ก (Magnetic Lines of Force) คือ เส้นสมมติเสมือนว่าแท่งแม่เหล็กส่งอำนาจการดึงดูดไปถึง วิธีหาเส้นแรงแม่เหล็ก
ทำได้โดย
1.ใช้ผงตะไบเหล็ก โรยบนกระดาษที่วางทับแท่งแม่เหล็กไว้เมื่อกระดาษ เมื่อเคาะเบา ๆ จะมองเห็นแนวของเส้นแรง

2. ใช้เข็มทิศ แนวการวางตัวของเข็มทิศ คือ แนวของเส้นแรงแม่เหล็กจากวิธีการนี้จะทำให้เห็นว่าเส้นแรงแม่เหล็กมีทิศออกจากขั้วเหนือ
ไปสู่ขั้วใต้เสมอ

สมบัติของเส้นแรงแม่เหล็ก
1. มีทิศพุ่งออกจากขั้วเหนือไปขั้วใต้ และมีความหนาแน่นมากบริเวณใกล้ขั้วแม่เหล็ก ส่วนทิศของเส้นแรงแม่เหล็กโลกจะมีทิศจาก
ขั้วโลกใต้สู่ขั้วโลกเหนือ เพราะแท่งแม่เหล็กโลกมีขั้วเหนืออยู่ทางทิศใต้ และขั้วใต้อยู่ทางทิศเหนือ
2. เส้นแรงแม่เหล็กไม่ตัดกัน แต่จะรวมกันหรือต้านกันออกไป
และความรู้ที่ข้าพเจ้าได้รับนี้ ข้าพเจ้ายังได้ถ่ายทอดให้กับนักเรียน นักศึกษา และผู้ที่สนใจศึกษาทั่วไป ได้รับฟังด้วย ในซุ้ม เฉพาะเอกฟิสิกส์ ยังมีความรู้ที่ให้ผูสนใจศึกษามากมาย ไม่ว่าจะเป็น ไฟฟ้าสถิต ปรากฏการณ์จันทรุปราคา ปรากฏการณ์คลื่น เป็นต้น

นางสาวพีรยา เพ็งน้ำคำ 56191430107
คบ.ฟิสิกส์ หมู่ 1

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์
จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆ ข้าพเจ้าได้เข้าไปศึกษาดูงานจากซุ้มของนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์ชั้นปีที่ 2 ซึ่งได้ให้ความรู้เรื่อง เปลวไปลอยน้ำ มีวิธีการทดลองดังนี้
อุปกรณ์การทดลอง
1. เทียนไข
2. แก้วทรงสูงใส่น้ำ (ต้องสูงกว่าความยาวเทียนนะ)
3. หมุดหัวหมวก หรือตะปูเกลียวตัวเล็กๆ
วิธีทดลอง
1. เติมน้ำลงในแก้ว 5/6 แก้ว
2. นำหมุดมาปักลงที่ฐานเทียนไข(ด้านป้าน)
3. นำแท่งเทียนใส่ลงไปในแก้วน้ำ แล้วจุดเทียน
ผลการทดลอง
เทียนไขลอยอยู่ที่ผิวน้ำได้ และไฟก็จะไม่ดับ เพราะเทียนทำจากขี้ผึ้งพาราฟินจึงไม่เปียกน้ำ และหมุดหัวหมวก ทำหน้าที่เป็นจุดรวมน้ำหนักให้อยู่ที่แกนกลางแท่งเทียนจึงไม่เอียงคว่ำ ขี้ผึ้งพาราฟินเป็นไขมันที่ได้จากการกลั่นจากปิโตรเลียมมีลักษณะใส ไม่มีกลิ่น ไม่มีรสชาติ คล้ายกับขี้ผึ้ง จุดหลอมเหลวที่ 47-64 องศาเซลเซียส ซึ่งขี้ผึ้งพาราฟินบริสุทธิ์จะมีคุณสมบัติเป็นฉนวนกันความร้อนที่ดี ไม่ละลายน้ำ พาราฟินมักนำมาทำเทียนไข หรือเคลือบวัสดุต่าง ๆ เพื่อป้องกันไม่ให้โดนความชื้นจากน้ำ

นางสาวนิลวรรณ เยาวลักษณื
สาขาอุตสาหกรรมศิลป์
54191700214

Unknown กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้เข้าร่วมกิจกรรมวันวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ซึ่งในงานมีการจัดซุ้มต่างๆดังนี้
1.ซุ้มฟิสิกส์
2.อาหารเพื่อสุขภาพ
3.วิทยาศาสตร์สุขภาพ
4.กลเคมี
5.Ssc Biology
6.คุณเฮง ไอที
7.อาหารอาเซียน คหกรรมศาสตร์
8. Information Technology Program
และมีการจัดการแข่งขันประกวดชุดรีไซเคิล และมีการตอบคำถามเพื่อรับรางวัลทั้งยังมีกิจกรรมต่าง ๆและการแสดงจากกนักดนตรีต่างๆอีกด้วยซึ่งข้าพเจ้าได้เข้าซุ้มฟิสิกส์ในซุ้มมีการจัดนิทรรศการเรื่องระบบสุริยะ ทั้งยังมีการจัดจำหน่ายอาหารเพื่อสุขภาพอีกด้วย
นางสาวกวินนา พันธ์พงษ์ 55191010101
สาขาภาษาไทย หมู่ 1

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆดังนี้
1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจากนั้นก็นำมาวางบนไข่ให้เต็มปากขวดโหล ปิดฝา
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และได้ความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพโดยสาขาสาธารณะสุขได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อน้ำมันประกอบอาหารและข้อปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีคือหลีกเหลี่ยงการกินอาหารที่ใช้น้ำมันที่มีสีเข้มทอดหรือมีควันจำนวนมาก ได้รู้จักหลักการเลียงไก่
การทำนาข้าว ได้รู้จักวิถีเศรฐกิจพอเพียง
นางสาวมะลิ สำคัญยิ่ง หมูเรียนที่ 1 รหัสนักศึกษา 55191010136 สาขาวิชาภาษาไทย ระดับ ค.บ. 5/2

Unknown กล่าวว่า...

ข้าพเจ้าได้เป็นผู้ควบคุมกิจกรรมวันวิทยาศาสตร์สาขา ฟิสิกส์ เรื่อง เส้นแรงแม่เหล็ก ความรู้ที่ข้าพเจ้าได้รับคือ เส้นแรงแม่เหล็ก (Magnetic Lines of Force) คือ เส้นสมมติเสมือนว่าแท่งแม่เหล็กส่งอำนาจการดึงดูดไปถึง วิธีหาเส้นแรงแม่เหล็ก
ทำได้โดย
1.ใช้ผงตะไบเหล็ก โรยบนกระดาษที่วางทับแท่งแม่เหล็กไว้เมื่อกระดาษ เมื่อเคาะเบา ๆ จะมองเห็นแนวของเส้นแรง

2. ใช้เข็มทิศ แนวการวางตัวของเข็มทิศ คือ แนวของเส้นแรงแม่เหล็กจากวิธีการนี้จะทำให้เห็นว่าเส้นแรงแม่เหล็กมีทิศออกจากขั้วเหนือ
ไปสู่ขั้วใต้เสมอ
แม่เหล็กและสนามแม่เหล็ก แม่เหล็กหมายถึงสารซึ่งมีสมบัติดังต่อไปนี้ ...
1. สามารถก่อให้เกิดแรงดูดหรือแรงพลักกับแม่เหล็กได้
2. มีขั้ว 2 ชนิดคือขั้วเหนือและขั้วใต้ขั้วทั้งสองของแม่เหล็กแท่งเดียวกัน
จะมีกำลังเท่ากันเสมอ
3. เมื่ออยู่ในภาวะอิสระสามารถเคลื่อนที่คล่องตัวในแนวราบ จะวางตัว
ในแนวเหนือใต้เสมอ
4. ขั้วชนิดเดียวกันจะพลักกัน ขั้วต่างชนิดกันจะดูดกัน
5. สามารถเหนี่ยวนำให้สารแม่เหล็กกลายเป็นแม่เหล็กได้
6. อำนาจแม่เหล็กมีคุณสมบัติทำให้ประจุไฟฟ้าเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อน
ที่ประจุไฟฟ้าบวกกับประจุไฟฟ้าลบ
จะเปลี่ยนทิศทางในสนามแม่เหล็กไปในทางตรงกันข้าม
7. อำนาจแม่เหล็กทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าได้



สนามแม่เหล็ก ......
เมื่อมีแม่เหล็กวางอยู่ ณ ตำแหน่งใดๆก็ตาม แม่เหล็กนั้นจะส่งอำนาจแม่เหล็กไปรอบบริเวณนั้น ถ้าเอาแม่เหล็กที่อื่นหรือวัตถุที่เป็นสารแม่เหล็กเข้าไปในบริเวณนั้นจะเกิดมี
แรงแม่เหล็กส่งมากระทำทันทีจากแม่เหล็กที่วางอยู่นั้นอย่างที่เราถือว่าแม่เหล็กหรือสารแม่เหล็กที่เรานำเข้าไปทีหลังเข้าไป
อยู่ในบริเวณซึ่งเป็น สนามแม่เหล็กของแม่เหล็กอันแรกถ้าเราถอยแม่เหล็ก
หรือสารแม่เหล็กออกมาให้ห่างมากๆแรงแม่เหล็กที่เคยเกิดขึ้นดังกล่าว
จะหมดไปหมายความว่า แม่เหล็กอันแรงส่งแรงไปกะะทำไม่ถึงจึงเห็นได้ว่า....
สนามแม่เหล็กคือ .. บริเวณหรือของเขตที่แม่เหล็กส่งอำนาจ
การดึงดูดออกไปถึง อำนาจแม่เหล็กที่ส่งออกจากแท่งแม่เหล็ก ส่งออกมาในรูปของเส้นแรงแม่เหล็ก

เส้นแรงแม่เหล็ก ( Magnetic Lines of Force )
เป็นเส้นสมมุติเหมือนว่าแท่งแม่เหล็กส่งอำนาจไปถึงวิธีหาเส้นแรงแม่เหล็กหาได้โดย
1. ใช้ผงตะไบเหลล็ก โรบลงบนกระดาษที่วางทับแม่เหล็กเอาไว้ เมื่อเคาะกระดาษเบาๆ
จะมองเห็นแนวของเส้นแรง
2. ใข้เข็มทิศ แนวทางการวางตัวของเข็มทิศคือแนวของเส้นแรงแม่เหล็ก วิธีการนี้ทำให้
เห็นว่าเส้นแรงแม่เหล้กม่ทิศทางออกจากขั้วเหนือไปสู่ขั้วใต้เสมอ



สนามแม่เหล็กของแท่งแม่เหล็กหาได้จากการใช้เข็มทิศ

สมบัติของเส้นแรงแม่เหล็ก ...
1. มีทิศทางออกจากขั้วเหนือไปขั้วใต้และมีความหนาแน้นมากบริเวณขั้วแม่เหล็กส่วนทิศทางของ
เส้นแรงแม่เหล็กโลกจะมีทิศทางจากขั้วโลกใต้สู่ขั้วโลกเหนือ
2. เส้นแรงแม่เหล็กไม่ตัดกันแต่จะรวมกันออกไปหรือต้านกันถ้ามีแม่เหล็กมากกว่า 1 ทำ
ให้เกิดจุดสะเทิน

จุดสะเทิน ( Neutural Poite ) คือจุดที่มีค่าความเข้มของสนามแม่เหล็กเป็นศูนย์

นางสาวสายฝน ไหมทอง
54191700234
สาขาอุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี

Unknown กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทนาศาสตร์
จากวันวิทยาศาสตร์ของทางมหาวิทยาลัยได้มีการจักกิจกรรมนี้ขึ้นมาเพื่อให้ความรู้แก่นักเรียน นักศึกษา โดยมีการจัดเป็นซุ้มต่างๆ โดยมี ศูนย์อนามัยและสุขาภิบาล
ฟื้นดิน คืนป่า พัฒนาคุณภาพชีวิต ในซุ้มนี้จะเป็นการให้ความรู้ในเรื่องของเศรษฐกิจพอเพียง
ความพอประมาณ ความพอดีไม่น้อยเกินไป ไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนผู้อื่นและตนเอง
ความมีเหตุผล การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น ต้องเป็งไปอย่างมีเหตุผลโดยพิจารณาเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้นๆ
การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆที่จะเกิดขึ้น โดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล
เงื่อนไข
การตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระด้บพอเพียงนั้นต้องอาศัยทั้งความรู้ และคุณธรรมเป็นพื้นฐานกล่าวคือ
เงื่อนไขความรู้
ประกอบด้วยความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน
เงื่อนไขคุณธรรม
ต้องมีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต
และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนินชิวิต

นางสาวสุนิษา จูงงาม
รหัส 54191700239
สาขา: อุตสาหกรรมศิลปืและเทคโนโลยี หมู่ 2

Unknown กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์
จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆ ข้าพเจ้าได้เข้าไปศึกษาดูงานจากซุ้มของนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์ชั้นปีที่ 2 ซึ่งได้ให้ความรู้เรื่อง ขวดเป่าลูกโป่ง มีวิธีการทดลองดังนี้
อุปกรณ์การทดลอง
1. ขวดแก้วเตี้ย อย่างขวดน้ำส้มสแปลช 1 ขวด
2. ลูกโป่ง 1 ใบ
3. ผงฟู (เบกกิ้งโซดา) 5 ช้อนโต๊ะ
4. น้ำส้มสายชู
วิธีทดลอง
1. เป่าลูกโป่งให้ยืดตัวก่อนทดลองสัก 2 รอบ
2. ใส่เบกกิ้งโซดา ลงในขวดแก้ว
3. เติมน้ำส้มสายชูลงไป
4. ครอบลูกโป่งลงบนปากขวด
ผลการทดลอง
เมื่อเบกกิ้งโซดา ทำปฏิกิริยากับน้ำส้มสายชูจะเกิดก๊าซคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ขึ้นก๊าซเบากว่าอากาศ จึงลอยสูงขึ้น เมื่อมีก๊าซมากๆก็จะดันลูกโป่งให้พองออกได้ เบกกิ้งโซดา (Baking Soda) มีชื่อทางวิทย่ศาสตร์ว่า โซเดียมไบคาร์บอเนต (Sodium Bicarbonate) หรือที่คุณแม่เรียกว่า ผงฟู นั่นเอง

นางสาวมาริสา เรพล
รหัส 54191700223
สาขาอุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี หมู่ 2

Unknown กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์
จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆ ข้าพเจ้าได้เข้าไปศึกษาดูงานจากซุ้มของนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์ชั้นปีที่ 2 ซึ่งได้ให้ความรู้เรื่อง ขวดเป่าลูกโป่ง มีวิธีการทดลองดังนี้
อุปกรณ์การทดลอง
1. ขวดแก้วเตี้ย อย่างขวดน้ำส้มสแปลช 1 ขวด
2. ลูกโป่ง 1 ใบ
3. ผงฟู (เบกกิ้งโซดา) 5 ช้อนโต๊ะ
4. น้ำส้มสายชู
วิธีทดลอง
1. เป่าลูกโป่งให้ยืดตัวก่อนทดลองสัก 2 รอบ
2. ใส่เบกกิ้งโซดา ลงในขวดแก้ว
3. เติมน้ำส้มสายชูลงไป
4. ครอบลูกโป่งลงบนปากขวด
ผลการทดลอง
เมื่อเบกกิ้งโซดา ทำปฏิกิริยากับน้ำส้มสายชูจะเกิดก๊าซคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ขึ้นก๊าซเบากว่าอากาศ จึงลอยสูงขึ้น เมื่อมีก๊าซมากๆก็จะดันลูกโป่งให้พองออกได้ เบกกิ้งโซดา (Baking Soda) มีชื่อทางวิทย่ศาสตร์ว่า โซเดียมไบคาร์บอเนต (Sodium Bicarbonate) หรือที่คุณแม่เรียกว่า ผงฟู นั่นเอง

นางสาวทิวาภรณ์ กรมภักดี 54191700209 สาขาอุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี หมู่2 ปี3

Unknown กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์
จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆ ข้าพเจ้าได้เข้าไปศึกษาดูงานจากซุ้มของนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์ชั้นปีที่ 2 ซึ่งได้ให้ความรู้เรื่อง ขวดเป่าลูกโป่ง มีวิธีการทดลองดังนี้
อุปกรณ์การทดลอง
1. ขวดแก้วเตี้ย อย่างขวดน้ำส้มสแปลช 1 ขวด
2. ลูกโป่ง 1 ใบ
3. ผงฟู (เบกกิ้งโซดา) 5 ช้อนโต๊ะ
4. น้ำส้มสายชู
วิธีทดลอง
1. เป่าลูกโป่งให้ยืดตัวก่อนทดลองสัก 2 รอบ
2. ใส่เบกกิ้งโซดา ลงในขวดแก้ว
3. เติมน้ำส้มสายชูลงไป
4. ครอบลูกโป่งลงบนปากขวด
ผลการทดลอง
เมื่อเบกกิ้งโซดา ทำปฏิกิริยากับน้ำส้มสายชูจะเกิดก๊าซคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ขึ้นก๊าซเบากว่าอากาศ จึงลอยสูงขึ้น เมื่อมีก๊าซมากๆก็จะดันลูกโป่งให้พองออกได้ เบกกิ้งโซดา (Baking Soda) มีชื่อทางวิทย่ศาสตร์ว่า โซเดียมไบคาร์บอเนต (Sodium Bicarbonate) หรือที่คุณแม่เรียกว่า ผงฟู นั่นเอง
นางสาวสุมาลี วันเพ็ญ
54191700242
สาขา อุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี หมู่ 2

Unknown กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้ม
สาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่่4ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจากนั้นก็นำมาวางบนไข่ให้เต็มปากขวดโหล ปิดฝา
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และได้ความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพโดยสาขาสาธารณะสุขได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อน้ำมันประกอบอาหารและข้อปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีคือหลีกเหลี่ยงการกินอาหารที่ใช้น้ำมันที่มีสีเข้มทอดหรือมีควันจำนวนมาก
นางสาวเกษศิรินทร์ เพ็ญสวรรค์
สาขาภาษาไทยระดับค.บ.5/2

Unknown กล่าวว่า...

กระผมได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์สาขา ฟิสิกส์ เรื่อง เส้นแรงแม่เหล็ก ความรู้ที่ข้าพเจ้าได้รับคือ เส้นแรงแม่เหล็ก (Magnetic Lines of Force) คือ เส้นสมมติเสมือนว่าแท่งแม่เหล็กส่งอำนาจการดึงดูดไปถึง วิธีหาเส้นแรงแม่เหล็ก
ทำได้โดย
1.ใช้ผงตะไบเหล็ก โรยบนกระดาษที่วางทับแท่งแม่เหล็กไว้เมื่อกระดาษ เมื่อเคาะเบา ๆ จะมองเห็นแนวของเส้นแรง
2. ใช้เข็มทิศ แนวการวางตัวของเข็มทิศ คือ แนวของเส้นแรงแม่เหล็กจากวิธีการนี้จะทำให้เห็นว่าเส้นแรงแม่เหล็กมีทิศออกจากขั้วเหนือ
ไปสู่ขั้วใต้เสมอ
แม่เหล็กและสนามแม่เหล็ก แม่เหล็กหมายถึงสารซึ่งมีสมบัติดังต่อไปนี้ ...
1. สามารถก่อให้เกิดแรงดูดหรือแรงพลักกับแม่เหล็กได้
2. มีขั้ว 2 ชนิดคือขั้วเหนือและขั้วใต้ขั้วทั้งสองของแม่เหล็กแท่งเดียวกัน
จะมีกำลังเท่ากันเสมอ
3. เมื่ออยู่ในภาวะอิสระสามารถเคลื่อนที่คล่องตัวในแนวราบ จะวางตัว
ในแนวเหนือใต้เสมอ
4. ขั้วชนิดเดียวกันจะพลักกัน ขั้วต่างชนิดกันจะดูดกัน
5. สามารถเหนี่ยวนำให้สารแม่เหล็กกลายเป็นแม่เหล็กได้
6. อำนาจแม่เหล็กมีคุณสมบัติทำให้ประจุไฟฟ้าเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อน
ที่ประจุไฟฟ้าบวกกับประจุไฟฟ้าลบ
จะเปลี่ยนทิศทางในสนามแม่เหล็กไปในทางตรงกันข้าม
7. อำนาจแม่เหล็กทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าได้

สนามแม่เหล็ก ......
เมื่อมีแม่เหล็กวางอยู่ ณ ตำแหน่งใดๆก็ตาม แม่เหล็กนั้นจะส่งอำนาจแม่เหล็กไปรอบบริเวณนั้น ถ้าเอาแม่เหล็กที่อื่นหรือวัตถุที่เป็นสารแม่เหล็กเข้าไปในบริเวณนั้นจะเกิดมี
แรงแม่เหล็กส่งมากระทำทันทีจากแม่เหล็กที่วางอยู่นั้นอย่างที่เราถือว่าแม่เหล็กหรือสารแม่เหล็กที่เรานำเข้าไปทีหลังเข้าไป
อยู่ในบริเวณซึ่งเป็น สนามแม่เหล็กของแม่เหล็กอันแรกถ้าเราถอยแม่เหล็ก
หรือสารแม่เหล็กออกมาให้ห่างมากๆแรงแม่เหล็กที่เคยเกิดขึ้นดังกล่าว
จะหมดไปหมายความว่า แม่เหล็กอันแรงส่งแรงไปกะะทำไม่ถึงจึงเห็นได้ว่า....
สนามแม่เหล็กคือ .. บริเวณหรือของเขตที่แม่เหล็กส่งอำนาจ
การดึงดูดออกไปถึง อำนาจแม่เหล็กที่ส่งออกจากแท่งแม่เหล็ก ส่งออกมาในรูปของเส้นแรงแม่เหล็ก

เส้นแรงแม่เหล็ก ( Magnetic Lines of Force )
เป็นเส้นสมมุติเหมือนว่าแท่งแม่เหล็กส่งอำนาจไปถึงวิธีหาเส้นแรงแม่เหล็กหาได้โดย
1. ใช้ผงตะไบเหลล็ก โรบลงบนกระดาษที่วางทับแม่เหล็กเอาไว้ เมื่อเคาะกระดาษเบาๆ
จะมองเห็นแนวของเส้นแรง
2. ใข้เข็มทิศ แนวทางการวางตัวของเข็มทิศคือแนวของเส้นแรงแม่เหล็ก วิธีการนี้ทำให้
เห็นว่าเส้นแรงแม่เหล้กม่ทิศทางออกจากขั้วเหนือไปสู่ขั้วใต้เสมอ

สนามแม่เหล็กของแท่งแม่เหล็กหาได้จากการใช้เข็มทิศ
สมบัติของเส้นแรงแม่เหล็ก ...
1. มีทิศทางออกจากขั้วเหนือไปขั้วใต้และมีความหนาแน้นมากบริเวณขั้วแม่เหล็กส่วนทิศทางของ
เส้นแรงแม่เหล็กโลกจะมีทิศทางจากขั้วโลกใต้สู่ขั้วโลกเหนือ
2. เส้นแรงแม่เหล็กไม่ตัดกันแต่จะรวมกันออกไปหรือต้านกันถ้ามีแม่เหล็กมากกว่า 1 ทำ
ให้เกิดจุดสะเทิน

จุดสะเทิน ( Neutural Poite ) คือจุดที่มีค่าความเข้มของสนามแม่เหล็กเป็นศูนย์

นายพัฒนพงศ์ พรหมบุตร 54191700221
สาขาอุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี หมู่2ปี3

Unknown กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆดังนี้1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจากนั้นก็นำมาวางบนไข่ให้เต็มปากขวดโหล ปิดฝา
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และได้ความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพโดยสาขาสาธารณะสุขได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อน้ำมันประกอบอาหารและข้อปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีคือหลีกเหลี่ยงการกินอาหารที่ใช้น้ำมันที่มีสีเข้มทอดหรือมีควันจำนวนมาก
ได้รู้จักหลักการเลียงไก่
การทำนาข้าว้
ได้รู้จักวิถีเศรฐกิจพอเพียง

นางสาวจิราภรณ์ สุวงษ์
พลศึกษา 55191890159

Unknown กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆดังนี้1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจากนั้นก็นำมาวางบนไข่ให้เต็มปากขวดโหล ปิดฝา
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และได้ความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพโดยสาขาสาธารณะสุขได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อน้ำมันประกอบอาหารและข้อปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีคือหลีกเหลี่ยงการกินอาหารที่ใช้น้ำมันที่มีสีเข้มทอดหรือมีควันจำนวนมาก

นายสุริยา กัญญาพันธ์
54191700244
สาขาอุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี

นางสาววิดาพร โทระษา กล่าวว่า...
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
นางสาววิดาพร โทระษา กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆดังนี้1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจากนั้นก็นำมาวางบนไข่ให้เต็มปากขวดโหล ปิดฝา
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และได้ความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพโดยสาขาสาธารณะสุขได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อน้ำมันประกอบอาหารและข้อปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีคือหลีกเหลี่ยงการกินอาหารที่ใช้น้ำมันที่มีสีเข้มทอดหรือมีควันจำนวนมาก


นางสาววิดาพร โทระษา
รหัสนักศึกษา 54191700227
สาขาวิชาอุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี หมู่ 2

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้เข้าร่วมกิจกรรมวันวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ซึ่งในงานมีการจัดซุ้มต่างๆดังนี้
1.ซุ้มฟิสิกส์
2.อาหารเพื่อสุขภาพ
3.วิทยาศาสตร์สุขภาพ
4.กลเคมี
5.Ssc Biology
6.คุณเฮง ไอที
7.อาหารอาเซียน คหกรรมศาสตร์
8. Information Technology Program
และมีการจัดการแข่งขันประกวดชุดรีไซเคิล และมีการตอบคำถามเพื่อรับรางวัลทั้งยังมีกิจกรรมต่าง ๆและการแสดงจากกนักดนตรีต่างๆอีกด้วยซึ่งข้าพเจ้าได้เข้าซุ้มฟิสิกส์ในซุ้มมีการจัดนิทรรศการเรื่องระบบสุริยะ ทั้งยังมีการจัดจำหน่ายอาหารเพื่อสุขภาพอีกด้วย

นายวิริยะ พรหมวันดี สาขาภาษาทย
55191010157 ระดับ ค.บ. 5/2

Unknown กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆดังนี้1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจากนั้นก็นำมาวางบนไข่ให้เต็มปากขวดโหล ปิดฝา
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และได้ความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพโดยสาขาสาธารณะสุขได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อน้ำมันประกอบอาหารและข้อปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีคือหลีกเหลี่ยงการกินอาหารที่ใช้น้ำมันที่มีสีเข้มทอดหรือมีควันจำนวนมาก


นางสาววิภาวี มีชัย
รหัส54191700229
สาขาอุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี

Unknown กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์
จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆ ข้าพเจ้าได้เข้าไปศึกษาดูงานจากซุ้มของนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์ชั้นปีที่ 2 ซึ่งได้ให้ความรู้เรื่อง เปลวไปลอยน้ำ มีวิธีการทดลองดังนี้
อุปกรณ์การทดลอง
1. เทียนไข
2. แก้วทรงสูงใส่น้ำ (ต้องสูงกว่าความยาวเทียนนะ)
3. หมุดหัวหมวก หรือตะปูเกลียวตัวเล็กๆ
วิธีทดลอง
1. เติมน้ำลงในแก้ว 5/6 แก้ว
2. นำหมุดมาปักลงที่ฐานเทียนไข(ด้านป้าน)
3. นำแท่งเทียนใส่ลงไปในแก้วน้ำ แล้วจุดเทียน
ผลการทดลอง
เทียนไขลอยอยู่ที่ผิวน้ำได้ และไฟก็จะไม่ดับ เพราะเทียนทำจากขี้ผึ้งพาราฟินจึงไม่เปียกน้ำ และหมุดหัวหมวก ทำหน้าที่เป็นจุดรวมน้ำหนักให้อยู่ที่แกนกลางแท่งเทียนจึงไม่เอียงคว่ำ ขี้ผึ้งพาราฟินเป็นไขมันที่ได้จากการกลั่นจากปิโตรเลียมมีลักษณะใส ไม่มีกลิ่น ไม่มีรสชาติ คล้ายกับขี้ผึ้ง จุดหลอมเหลวที่ 47-64 องศาเซลเซียส ซึ่งขี้ผึ้งพาราฟินบริสุทธิ์จะมีคุณสมบัติเป็นฉนวนกันความร้อนที่ดี ไม่ละลายน้ำ พาราฟินมักนำมาทำเทียนไข หรือเคลือบวัสดุต่าง ๆ เพื่อป้องกันไม่ให้โดนความชื้นจากน้ำ
นางสาวอรอุมา ทรงวาจา
สาขาอุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี หมู่ 2
รหัสนักศึกษา 54191700246

นางสาวพณิดา ภาษี กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์
จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆ ข้าพเจ้าได้เข้าไปศึกษาดูงานจากซุ้มของนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์ชั้นปีที่ 2 ซึ่งได้ให้ความรู้เรื่อง ขวดเป่าลูกโป่ง มีวิธีการทดลองดังนี้
อุปกรณ์การทดลอง
1. ขวดแก้วเตี้ย อย่างขวดน้ำส้มสแปลช 1 ขวด
2. ลูกโป่ง 1 ใบ
3. ผงฟู (เบกกิ้งโซดา) 5 ช้อนโต๊ะ
4. น้ำส้มสายชู
วิธีทดลอง
1. เป่าลูกโป่งให้ยืดตัวก่อนทดลองสัก 2 รอบ
2. ใส่เบกกิ้งโซดา ลงในขวดแก้ว
3. เติมน้ำส้มสายชูลงไป
4. ครอบลูกโป่งลงบนปากขวด
ผลการทดลอง
เมื่อเบกกิ้งโซดา ทำปฏิกิริยากับน้ำส้มสายชูจะเกิดก๊าซคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ขึ้นก๊าซเบากว่าอากาศ จึงลอยสูงขึ้น เมื่อมีก๊าซมากๆก็จะดันลูกโป่งให้พองออกได้ เบกกิ้งโซดา (Baking Soda) มีชื่อทางวิทย่ศาสตร์ว่า โซเดียมไบคาร์บอเนต (Sodium Bicarbonate) หรือที่คุณแม่เรียกว่า ผงฟู นั่นเอง
นางสาวพณิดา ภาษี 55128040212 รปศ

Unknown กล่าวว่า...

Unknown กล่าวว่า...
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
Unknown กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์จากการที่ได้ไปศึกษาดูงานกิจกรรมวันวิทยาศาสตร์ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาฟิสิกส์ ได้ความรู้ในเรื่อง การตีถาด ซึ่งได้รู้เกี่ยวกับเรื่องกฎของความเฉื่อยรู้ถึงหลักการและสามารถอธิบายถึงหลักการของกฏของความเฉื่อยได้และเข้าใจมากยิ่งขึ้นและได้ดูส้อมสมดุล ได้รู้ถึงประโยชน์ที่นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น ประโยชน์ของส้อมสมดุล
หากสังเกตวัตถุต่าง ๆ ที่เป็นของแข็งและมีรูปทรง การวางวัตถุบนพื้นระนาบจะมีลักษณะสมดลย์ได้ขึ้นอยู่กับตำแหน่งและแนวของจุดศูนย์ถ่วงและหาความรู้จากซุ้มต่างๆเพื่อนำมาจัดทำงานและหาความรู้โดยมีซุ้มแต่ละสาขาดังนี้
1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
แต่ละซุ้มจะมีเกมส์ให้น้องที่มาจากประถมศึกษาได้เข้าร่วมเล่นเกมส์ และร่วมตอบคำถามเพื่อแลกกับของรางวัล ซึ่งมีเพื่อน ๆและพี่ๆให้ความร่วมมือเป็นอย่างมากกับกิจกรรมนี้

นางสาวลัดดาวัลย์ กรวยทอง 56191430115คบ.ฟิสิกส์

Unknown กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์
จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆ ข้าพเจ้าได้เข้าไปศึกษาดูงานจากซุ้มของนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์ชั้นปีที่ 2 ซึ่งได้ให้ความรู้เรื่อง ขวดเป่าลูกโป่ง มีวิธีการทดลองดังนี้
อุปกรณ์การทดลอง
1. ขวดแก้วเตี้ย อย่างขวดน้ำส้มสแปลช 1 ขวด
2. ลูกโป่ง 1 ใบ
3. ผงฟู (เบกกิ้งโซดา) 5 ช้อนโต๊ะ
4. น้ำส้มสายชู
วิธีทดลอง
1. เป่าลูกโป่งให้ยืดตัวก่อนทดลองสัก 2 รอบ
2. ใส่เบกกิ้งโซดา ลงในขวดแก้ว
3. เติมน้ำส้มสายชูลงไป
4. ครอบลูกโป่งลงบนปากขวด
ผลการทดลอง
เมื่อเบกกิ้งโซดา ทำปฏิกิริยากับน้ำส้มสายชูจะเกิดก๊าซคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ขึ้นก๊าซเบากว่าอากาศ จึงลอยสูงขึ้น เมื่อมีก๊าซมากๆก็จะดันลูกโป่งให้พองออกได้ เบกกิ้งโซดา (Baking Soda) มีชื่อทางวิทย่ศาสตร์ว่า โซเดียมไบคาร์บอเนต (Sodium Bicarbonate) หรือที่คุณแม่เรียกว่า ผงฟู นั่นเอง

นางสาวสมพร ไชยรัมย์ 54191700233 สาขาอุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี หมู่2 ปี3

Unknown กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆดังนี้1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจากนั้นก็นำมาวางบนไข่ให้เต็มปากขวดโหล ปิดฝา
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และได้ความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพโดยสาขาสาธารณะสุขได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อน้ำมันประกอบอาหารและข้อปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีคือหลีกเหลี่ยงการกินอาหารที่ใช้น้ำมันที่มีสีเข้มทอดหรือมีควันจำนวนมาก

นางสาวขนิษฐา นิลแก้ว 54191700202 สาขาอุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี หมู่2 ปี3

Unknown กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆดังนี้1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจากนั้นก็นำมาวางบนไข่ให้เต็มปากขวดโหล ปิดฝา
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และได้ความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพโดยสาขาสาธารณะสุขได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อน้ำมันประกอบอาหารและข้อปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีคือหลีกเหลี่ยงการกินอาหารที่ใช้น้ำมันที่มีสีเข้มทอดหรือมีควันจำนวนมาก
ได้รู้จักหลักการเลียงไก่
การทำนาข้าว้
ได้รู้จักวิถีเศรฐกิจพอเพียง

นางสาวนวลปรางค์ ถือดียิ่ง 54191700213 สาขาอุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี หมู่2 ปี3

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆดังนี้
1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจากนั้นก็นำมาวางบนไข่ให้เต็มปากขวดโหล ปิดฝา
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และได้ความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพโดยสาขาสาธารณะสุขได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อน้ำมันประกอบอาหารและข้อปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีคือหลีกเหลี่ยงการกินอาหารที่ใช้น้ำมันที่มีสีเข้มทอดหรือมีควันจำนวนมาก ได้รู้จักหลักการเลียงไก่
การทำนาข้าว ได้รู้จักวิถีเศรฐกิจพอเพียง
นางสาวสุวิภา อยู่สุข หมูเรียนที่ 1 รหัสนักศึกษา 55191010154 สาขาวิชาภาษาไทย ระดับ ค.บ. 5/2

Unknown กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆดังนี้1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจากนั้นก็นำมาวางบนไข่ให้เต็มปากขวดโหล ปิดฝา
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และได้ความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพโดยสาขาสาธารณะสุขได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อน้ำมันประกอบอาหารและข้อปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีคือหลีกเหลี่ยงการกินอาหารที่ใช้น้ำมันที่มีสีเข้มทอดหรือมีควันจำนวนมาก
ได้รู้จักหลักการเลียงไก่
การทำนาข้าว้
ได้รู้จักวิถีเศรฐกิจพอเพียง


นางสาวปองฤทัย สุวรรณลา 54191700216 สาขาอุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี หมู่2 ปี3

Unknown กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์
จากการที่ข้าพเจ้าได้เข้าร่วมกิจกรรมวันวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ซึ่งในงานมีการจัดซุ้มต่างๆดังนี้
1.ซุ้มฟิสิกส์
2.อาหารเพื่อสุขภาพ
3.วิทยาศาสตร์สุขภาพ
4.กลเคมี
5.Ssc Biology
6.คุณเฮง ไอที
7.อาหารอาเซียน คหกรรมศาสตร์
8. Information Technology Program
ข้าพเจ้าได้เข้าไปศึกษาดูงานจากซุ้มของนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์ชั้นปีที่ 2 ซึ่งได้ให้ความรู้เรื่อง เปลวไปลอยน้ำ มีวิธีการทดลองดังนี้
อุปกรณ์การทดลอง
1. เทียนไข
2. แก้วทรงสูงใส่น้ำ (ต้องสูงกว่าความยาวเทียนนะ)
3. หมุดหัวหมวก หรือตะปูเกลียวตัวเล็กๆ
วิธีทดลอง
1. เติมน้ำลงในแก้ว 5/6 แก้ว
2. นำหมุดมาปักลงที่ฐานเทียนไข(ด้านป้าน)
3. นำแท่งเทียนใส่ลงไปในแก้วน้ำ แล้วจุดเทียน
ผลการทดลอง
เทียนไขลอยอยู่ที่ผิวน้ำได้ และไฟก็จะไม่ดับ เพราะเทียนทำจากขี้ผึ้งพาราฟินจึงไม่เปียกน้ำ และหมุดหัวหมวก ทำหน้าที่เป็นจุดรวมน้ำหนักให้อยู่ที่แกนกลางแท่งเทียนจึงไม่เอียงคว่ำ ขี้ผึ้งพาราฟินเป็นไขมันที่ได้จากการกลั่นจากปิโตรเลียมมีลักษณะใส ไม่มีกลิ่น ไม่มีรสชาติ คล้ายกับขี้ผึ้ง จุดหลอมเหลวที่ 47-64 องศาเซลเซียส ซึ่งขี้ผึ้งพาราฟินบริสุทธิ์จะมีคุณสมบัติเป็นฉนวนกันความร้อนที่ดี ไม่ละลายน้ำ พาราฟินมักนำมาทำเทียนไข หรือเคลือบวัสดุต่าง ๆ เพื่อป้องกันไม่ให้โดนความชื้นจากน้ำ
นอกจากนี้แล้วงานวันวิทยาศาสตร์ก็ยังมีการจัดการแข่งขันประกวดชุดรีไซเคิล และมีการตอบคำถามเพื่อรับรางวัลทั้งยังมีกิจกรรมต่าง ๆและการแสดงจากกนักดนตรีต่างๆอีกด้วยซึ่งข้าพเจ้าได้เข้าซุ้มฟิสิกส์ในซุ้มมีการจัดนิทรรศการเรื่องระบบสุริยะ ทั้งยังมีการจัดจำหน่ายอาหารเพื่อสุขภาพอีกด้วย
นางสาวปาริชาติ ชัยรังษี ค.บ.5/2 สาขาภาษาไทย รหัสนักศึกษา 55191010238

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

กะผมได้มีส่วนร่วมในงานวันวิทยาศาสตร์ได้เข้าร่วมกิจกรรม เข้าร่วมแข็งขันการทำบายศรี ในครั้งนี้แล้วกะผมได้เข้าร่วมกิจกรรมขายของเอกคหกรรมศาสตร์ และได้เข้าชมผลงานในแต่ละซุ้มต่างๆ
นาย ประสิทธิ์ บุลา เอกคหกรรมศาสตร์ 55191600202

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต
การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท
นาย ประสิทธิ์ บุลา เอก คหกรรมศาสตร์ รหัส 55191600202

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ ชื่อเรียกสำหรับโปรแกรมประเภทหนึ่งที่มีพฤติกรรมคล้ายๆ กับไวรัสที่เป็นเชื้อโรค ที่สามารถแพร่เชื้อได้และมักทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่มันอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรงที่ว่าคอมพิวเตอร์ไวรัสเป็นแค่เพียงโปรแกรมเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต
การป้องกันไวรัส
1.สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
2.สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
3.ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
4.อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
5.เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
6.เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วงๆ
7. เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
8. เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
9. สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
10. เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสก์ขึ้นมาทำงานได้
11. เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

จริยธรรมในการใช้ ICT
1.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(มาตรา 5 ) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 7) แฮกเกอร์ที่เจาะเข้าระบบและได้เข้าไปดูข้อมูลของผู้อื่นจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 8) ผู้ที่ชอบดักรับข้อมูลของผู้อื่นระหว่างการส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 9,10 และ 12) ผู้ที่ทำการปลอมแปลง ทำลาย แก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หรือทำการใดๆ ที่ไประงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จำคุกสูงสุดยี่สิบปี
(มาตรา 11 ) ผู้ที่ส่งอีเมล์ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา เช่น สแปมเมล์ (spam mail ) ทำให้รบกวนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(มาตรา 14) ผู้ที่นำเข้าข้อมูลที่ไม่เหมาะสมเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ เช่นข้อมูลอันเป็นเท็จที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ข้อมูลลามกอนาจาร หรือผู้ที่เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นทางเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ โทรศัพท์มือถือ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ จำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 16) ผู้ที่นำเข้าภาพตัดต่อ ภาพดัดแปลงด้วยวิธีการใดๆ ของบุคคลอื่นเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์โดยมีเจตนาให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(มาตรา 26) ผู้ให้บริการ เช่น อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ผู้ให้บริการสัญญาณอินเตอร์เน็ต กลุ่มผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ช รวมถึงมหาวิทยาลัย ต้องเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน เพื่อใช้ติดตามผู้กระทำความผิดมาลงโทษ หากผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามนี้ ปรับสูงสุดถึงห้าแสนบาท
นาย ประสิทธิ์ บุลา เอก คหกรรมศาสตร์ รหัส 55191600202

Unknown กล่าวว่า...

จากที่ได้เข้าไปศึกษาดูงาน ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาฟิสิกส์ ก็ได้ความรู้ในหลายๆเรื่อง เช่น การทดลองเรื่องไข่ลอยน้ำ ไฟฟ้าสถิต เก้าอี้โมเมนตัม ไจโรสโคป ถาดคลื่น และอื่น
ตังอย่าง ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต (Static electricity) เป็นปรากฏการณ์ที่ปริมาณประจุไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วลบบนผิววัสดุมีไม่เท่ากัน ปกติจะแสดงในรูปการดึงดูด, การผลักกัน และเกิดประกายไฟ

การเกิดไฟฟ้าสถิต
การที่ปริมาณประจุไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วลบบนผิววัสดุมีไม่เท่ากันทำให้เกิดแรงดึงดูดเมื่อวัตถุทั้ง 2 ชิ้นมีประจุต่างชนิดกัน หรือเกิดแรงผลักกันเมื่อวัสดุทั้ง 2 ชิ้นมีประจุชนิดเดียวกัน เราสามารถสร้างไฟฟ้าสถิตโดยการนำผิวสัมผัสของวัสดุ 2 ชิ้นมาขัดสีกัน พลังงานที่เกิดจากการขัดสีกันทำให้ประจุไฟฟ้าบนผิววัสดุจะเกิดการแลกเปลี่ยนกัน โดยจะเกิดกับวัสดุประเภทที่ไม่นำไฟฟ้า หรือที่เรียกว่า ฉนวน ตัวอย่างเช่น ยาง, พลาสติก และแก้ว สำหรับวัสดุประเภทที่นำไฟฟ้านั้นโอกาสเกิดปรากฏการณ์ประจุไฟฟ้าบนผิววัสดุไม่เท่ากันนั้นยากแต่ก็สามารถเกิดขึ้นได้ เช่น กรณีที่ผิวโลหะถูกกระแทกด้วยของแข็งหรือของเหลวที่ไม่เป็นตัวนำ ประจุที่เกิดการเคลื่อนย้ายระหว่างการสัมผัสจะถูกเก็บบนผิวของวัสดุทั้ง 2 ชิ้น

ไฟฟ้าสถิตเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่คุ้นเคยสำหรับประเทศที่มีอากาศหนาว ในฤดูหนาวสำหรับประเทศเหล่านี้ความชื้นในอากาศจะต่ำมาก การเกิดไฟฟ้าสถิตบนผิวหนังจะเกิดขึ้นง่ายมาก ดังนั้นเมื่อเกิดการสัมผัสกับวัสดุประเภทตัวนำจะทำให้เกิดการถ่ายเทประจุไปยังตัวนำอย่างรวดเร็วทำให้เกิดอาการสะดุ้งได้ และนอกจากนั้นยังสามารถทำความเสียหายให้กับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

การนำความรู้เกี่ยวกับไฟฟ้าสถิตไปใช้ประโยชน์

เช่น
1. เครื่องถ่ายเอกสาร

2. เครื่องกำจัดฝุ่นในอากาศ

3. เครื่องพ่นสี

4. ไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุ

นายภาณุพงษ์ พิมพา รหัสนักศึกษา 56191430122 สาขาฟิสิกส์ ค.บ. 5/1

Unknown กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์
ในงานจะประกอบไปดัวยซุ้มต่างของสาขาที่สังกัด
คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ได้แก่
1.ซุ้มฟิสิกส์
2.อาหารเพื่อสุขภาพ
3.วิทยาศาสตร์สุขภาพ
4.กลเคมี
5.Ssc Biology
6.คุณเฮง ไอที
7.อาหารอาเซียน คหกรรมศาสตร์
8. วิทยาศาสตร์

ซุ้มวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ การทดลอง
ระเบิดขวดน้ำ และเกมต่างๆ พร้อมของรางวัล

นางสาวนัยนา สีสมงาม คบ. วิทยาศาสตร์ หมู่ 2
รหัส 56191960237

Unknown กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆดังนี้1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจากนั้นก็นำมาวางบนไข่ให้เต็มปากขวดโหล ปิดฝา
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และได้ความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพโดยสาขาสาธารณะสุขได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อน้ำมันประกอบอาหารและข้อปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีคือหลีกเหลี่ยงการกินอาหารที่ใช้น้ำมันที่มีสีเข้มทอดหรือมีควันจำนวนมาก
นางสาวกมลมาศ บุญเพ็ง 56191860144
สาขาการศึกษาปฐมวัย คบ.5/1

Unknown กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆซึ่งจัด โดยคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีซุ้มที่ให้ความรู้มากมายดังนี้
1.การทดลองไฟฟ้าสถิต
2.การทำไข่เค็มแบบดองเกลือ
3.การทำอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
4.การโคจรของดาวเทียม
5.สนามแม่เหล็ก ......
เมื่อมีแม่เหล็กวางอยู่ ณ ตำแหน่งใดๆก็ตาม แม่เหล็กนั้นจะส่งอำนาจแม่เหล็กไปรอบบริเวณนั้น ถ้าเอาแม่เหล็กที่อื่นหรือวัตถุที่เป็นสารแม่เหล็กเข้าไปในบริเวณนั้นจะเกิดมี
แรงแม่เหล็กส่งมากระทำทันทีจากแม่เหล็กที่วางอยู่นั้นอย่างที่เราถือว่าแม่เหล็กหรือสารแม่เหล็กที่เรานำเข้าไปทีหลังเข้าไป
อยู่ในบริเวณซึ่งเป็น สนามแม่เหล็กของแม่เหล็กอันแรกถ้าเราถอยแม่เหล็ก
หรือสารแม่เหล็กออกมาให้ห่างมากๆแรงแม่เหล็กที่เคยเกิดขึ้นดังกล่าว
จะหมดไปหมายความว่า แม่เหล็กอันแรงส่งแรงไปกะะทำไม่ถึงจึงเห็นได้ว่า....
สนามแม่เหล็กคือ .. บริเวณหรือของเขตที่แม่เหล็กส่งอำนาจ
การดึงดูดออกไปถึง อำนาจแม่เหล็กที่ส่งออกจากแท่งแม่เหล็ก ส่งออกมาในรูปของเส้นแรงแม่เหล็ก

เส้นแรงแม่เหล็ก ( Magnetic Lines of Force )
เป็นเส้นสมมุติเหมือนว่าแท่งแม่เหล็กส่งอำนาจไปถึงวิธีหาเส้นแรงแม่เหล็กหาได้โดย
1. ใช้ผงตะไบเหลล็ก โรบลงบนกระดาษที่วางทับแม่เหล็กเอาไว้ เมื่อเคาะกระดาษเบาๆ
จะมองเห็นแนวของเส้นแรง
2. ใข้เข็มทิศ แนวทางการวางตัวของเข็มทิศคือแนวของเส้นแรงแม่เหล็ก วิธีการนี้ทำให้
เห็นว่าเส้นแรงแม่เหล้กม่ทิศทางออกจากขั้วเหนือไปสู่ขั้วใต้เสมอ



สนามแม่เหล็กของแท่งแม่เหล็กหาได้จากการใช้เข็มทิศ

สมบัติของเส้นแรงแม่เหล็ก ...
1. มีทิศทางออกจากขั้วเหนือไปขั้วใต้และมีความหนาแน้นมากบริเวณขั้วแม่เหล็กส่วนทิศทางของ
เส้นแรงแม่เหล็กโลกจะมีทิศทางจากขั้วโลกใต้สู่ขั้วโลกเหนือ
2. เส้นแรงแม่เหล็กไม่ตัดกันแต่จะรวมกันออกไปหรือต้านกันถ้ามีแม่เหล็กมากกว่า 1 ทำ
ให้เกิดจุดสะเทิน

นางสาวกมลมาศ บุญเพ็ง 56191860144
สาขาการศึกษาปฐมวัย คบ.5/1

Unknown กล่าวว่า...

จากการที่ได้ไปศึกษาดูงานกิจกรรมวันวิทยาศาสตร์ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาฟิสิกส์ ได้ความรู้ในเรื่องของไจโรสโคป ประโยชน์ที่นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น ประโยชน์ของไจโรสโคป

- ดาวเทียมบางดวงใช้หลักของไจโร เพื่อปรับตำแหน่งของดาวเทียมในอวกาศ ดังรูป ภายในดาวเทียมจะประกอบด้วยล้อ 3 อัน ตั้งฉากซึ่งกันและกัน แต่ละอันมีมอเตอร์และเบรกไว้สำหรับควบคุมการหมุน เมื่อล้อเริ่มหมุน ดาวเทียมจะเริ่มหมุนเช่นกันแต่ไปในทิศตรงกันข้ามกับล้อ หลังจากที่อยู่ในตำแหน่งที่ต้องการ ก็บังคับให้ล้อหยุดหมุนดาวเทียม ก็จะหยุดหมุนตามไปด้วยเมื่อใช้วิธีนี้เราสามารถที่จะบังคับทิศทางของดาวเทียมได้โดยไม่ต้องใช้เชื้อเพลิหรือพลังงานมากมายนักรูปบนขณะที่ดาวเทียมโคจรอยู่รอบโลกตำแหน่งของแผงโซลาร์อาจจะไม่ตรงกัแสงอาทิตย์ ดังนั้นจึงต้องมีการปรับแต่งตำแหน่งของดาวเทียมเพื่อให้พลังงานแสงที่ตกลงบนแผงโซลาร์มากที่สุด

นายโกศล แป้นนะริน
56191430123 ค.บ.ฟิสิกส์

Unknown กล่าวว่า...

จากการที่ได้ไปศึกษาดูงานกิจกรรมวันวิทยาศาสตร์ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาฟิสิกส์ ได้ความรู้ในเรื่องของไจโรสโคป ประโยชน์ที่นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น ประโยชน์ของไจโรสโคป

- ดาวเทียมบางดวงใช้หลักของไจโร เพื่อปรับตำแหน่งของดาวเทียมในอวกาศ ดังรูป ภายในดาวเทียมจะประกอบด้วยล้อ 3 อัน ตั้งฉากซึ่งกันและกัน แต่ละอันมีมอเตอร์และเบรกไว้สำหรับควบคุมการหมุน เมื่อล้อเริ่มหมุน ดาวเทียมจะเริ่มหมุนเช่นกันแต่ไปในทิศตรงกันข้ามกับล้อ หลังจากที่อยู่ในตำแหน่งที่ต้องการ ก็บังคับให้ล้อหยุดหมุนดาวเทียม ก็จะหยุดหมุนตามไปด้วยเมื่อใช้วิธีนี้เราสามารถที่จะบังคับทิศทางของดาวเทียมได้โดยไม่ต้องใช้เชื้อเพลิหรือพลังงานมากมายนักรูปบนขณะที่ดาวเทียมโคจรอยู่รอบโลกตำแหน่งของแผงโซลาร์อาจจะไม่ตรงกัแสงอาทิตย์ ดังนั้นจึงต้องมีการปรับแต่งตำแหน่งของดาวเทียมเพื่อให้พลังงานแสงที่ตกลงบนแผงโซลาร์มากที่สุด

นายโกศล แป้นนะริน
56191430123 ค.บ.ฟิสิกส์

Unknown กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์ สาขาฟิสิกส์ ข้าพเจ้าได้เป็นผู้ควบคุมดูแลเรื่อง วงจรไฟฟ้า ความรู้ที่ข้าพเจ้าได้รับคือ วงจรไฟฟ้ามี 3 วงจร ได้แก่
1. การต่อวงจรแบบอนุกรม เป็นการต่อความต้านทานเรียงกันไปตามลำดับ โดยที่ปลายสายของความต้านทานหรืออุปกรณ์ไฟฟ้า (หลอด) ของตัวที่หนึ่งต่อกับต้นสายของความต้านทานหรืออุปกรณ์ไฟฟ้า (หลอด) ของตัวที่สอง และอีกปลายหนึ่งของความต้านทานหรืออุปกรณ์ไฟฟ้าตัวที่สองต่อกับต้นสายของความต้านทาน
2. การต่อแบบวงจรขนาน การต่อความต้านทานแบบขนาน เป็นการต่อสายของความต้านทานแต่ละตัวไว้ที่เดียวกัน และปลายสายอีกด้านหนึ่งต่อร่วมกันไว้ที่เดียวกัน
3. การต่อวงจรแบบผสม เป็นการต่อความต้านทานที่มีทั้ง 2 แบบในวงจรเดียวกัน
3.1 วงจรผสมแบบอนุกรม-ขนาน เป็นการนำเครื่องใช้ไฟฟ้าหรือโหลดไปต่อกันอย่างอนุกรมก่อน แล้วจึงนำไปต่อกันแบบขนานอกครั้งหนึ่ง
3.2 วงจรผสมแบบขนาน-อนุกรม เป็นการนำเครื่องใช้ไฟฟ้าหรือโหลดไปต่อกันอย่างขนานก่อน แล้วจึงนำไปต่อกันแบบอนุกรมอีกครั้งหนึ่ง
นางสาวเมธาวดี สิมมา ค.บ.ฟิสิกส์ รหัส56191430116

Unknown กล่าวว่า...

ผมนำเสนอเรื่อง ไจโรสโคปให้เพื่อนๆ พี่ๆ น้องๆที่สนใจฟัง เนื้อหามีว่าไจโรสโคป เป็นอุปกรณ์ที่อาศัยแรงเฉื่อยของล้อหมุน เพื่อช่วยรักษาระดับทิศทางของแกนหมุน ประกอบด้วยล้อหมุนเร็วบรรจุอยู่ในกรอบอีกทีหนึ่ง ทำให้เอียงในทิศทางต่างๆ ได้โดยอิสระ นั่นคือ หมุนในแกนใดๆ ก็ได้ โมเมนตัมเชิงมุมของล้อดังกล่าวทำให้มันคงรักษาตำแหน่งของมันไว้แม้กรอบล้อจะเอียง จากคุณสมบัติดังกล่าวทำให้สามารถนำหลักการนี้ไปประยุกต์ใช้เพื่อประโยชน์ต่างๆ มากมาย เช่น เข็มทิศ และนักบินอัตโนมัติของเครื่องบิน เรือ กลไกบังคับหางเสือของตอร์ปิโด อุปกรณ์ป้องกันการกลิ้งบนเรือใหญ่ และระบบนำร่องเฉื่อย (inertial guidance) รวมถึงระบบในยานอวกาศ และสถานีอวกาศ
นายสนธยา แสนกล้า สาขา ค.บ. พิสิกส์ รหัส 56191430133

www.rash3086 กล่าวว่า...

จากการได้ศึกษาดูงาน วันวิทยาศาสตาร์ ได้ เดินดู ทุกๆ กิจกรรม เเต่ละกิจกรรมจะมีเกมส์ให้เล่น จะเป็นเกมส์เชิงคิดสร้างสรรค์ เเละเกมส์สร้างเสียงหัวเราะ เเต่มีเกมส์หนึ่งที่เห็นเด็กๆสนใจมาก เพราะ มี ความรู้ + ความบันเทิง + ขวามสนุกสนาน + ของรางวัล เป็น กิจกรรม ของ เเลป วิทยาศาสาคร์ เกี๋ยวกับความดัน เกี๋ยวกับ เเก๊ส ทำจากขวดน้ำอัดลง ธรรมดา + เเอลกอฮอร์ เเค่นี้ก็ทำเล่นได้ ครับ สนุกดี ครับ เด็ก เข้าเยอะมาก
นายเจษฎา สายเเสง ค.บ ฟิสิกส์ 56191430131

Unknown กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้เข้าร่วมกิจกรรมวันวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ซึ่งในงานมีการจัดซุ้มต่างๆดังนี้
1.ซุ้มฟิสิกส์
2.อาหารเพื่อสุขภาพ
3.วิทยาศาสตร์สุขภาพ
4.กลเคมี
5.Ssc Biology
6.คุณเฮง ไอที
7.อาหารอาเซียน คหกรรมศาสตร์
8. Information Technology Program
และมีการจัดการแข่งขันประกวดชุดรีไซเคิล และมีการตอบคำถามเพื่อรับรางวัลทั้งยังมีกิจกรรมต่าง ๆและการแสดงจากกนักดนตรีต่างๆอีกด้วยซึ่งข้าพเจ้าได้เข้าซุ้มฟิสิกส์ในซุ้มมีการจัดนิทรรศการเรื่องระบบสุริยะ ทั้งยังมีการจัดจำหน่ายอาหารเพื่อสุขภาพอีกด้วย

นางสาวสุชาดา สศรีธาตุ รหัส56191860132 หมู่1
การศึกษาปฐมวัย ค.บ.5/1

Unknown กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์
จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆ ข้าพเจ้าได้เข้าไปศึกษาดูงานจากซุ้มของนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์ชั้นปีที่ 2 ซึ่งได้ให้ความรู้เรื่อง เปลวไปลอยน้ำ มีวิธีการทดลองดังนี้
อุปกรณ์การทดลอง
1. เทียนไข
2. แก้วทรงสูงใส่น้ำ (ต้องสูงกว่าความยาวเทียนนะ)
3. หมุดหัวหมวก หรือตะปูเกลียวตัวเล็กๆ
วิธีทดลอง
1. เติมน้ำลงในแก้ว 5/6 แก้ว
2. นำหมุดมาปักลงที่ฐานเทียนไข(ด้านป้าน)
3. นำแท่งเทียนใส่ลงไปในแก้วน้ำ แล้วจุดเทียน
ผลการทดลอง
เทียนไขลอยอยู่ที่ผิวน้ำได้ และไฟก็จะไม่ดับ เพราะเทียนทำจากขี้ผึ้งพาราฟินจึงไม่เปียกน้ำ และหมุดหัวหมวก ทำหน้าที่เป็นจุดรวมน้ำหนักให้อยู่ที่แกนกลางแท่งเทียนจึงไม่เอียงคว่ำ ขี้ผึ้งพาราฟินเป็นไขมันที่ได้จากการกลั่นจากปิโตรเลียมมีลักษณะใส ไม่มีกลิ่น ไม่มีรสชาติ คล้ายกับขี้ผึ้ง จุดหลอมเหลวที่ 47-64 องศาเซลเซียส ซึ่งขี้ผึ้งพาราฟินบริสุทธิ์จะมีคุณสมบัติเป็นฉนวนกันความร้อนที่ดี ไม่ละลายน้ำ พาราฟินมักนำมาทำเทียนไข หรือเคลือบวัสดุต่าง ๆ เพื่อป้องกันไม่ให้โดนความชื้นจากน้ำ
นางสาวสมฤดี สมคิด 56191960235
ค.บ.วิทยาศาสตร์

Unknown กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์
จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆ ข้าพเจ้าได้เข้าไปศึกษาดูงานจากซุ้มของนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์ชั้นปีที่ 2 ซึ่งได้ให้ความรู้เรื่อง เปลวไปลอยน้ำ มีวิธีการทดลองดังนี้
อุปกรณ์การทดลอง
1. เทียนไข
2. แก้วทรงสูงใส่น้ำ (ต้องสูงกว่าความยาวเทียนนะ)
3. หมุดหัวหมวก หรือตะปูเกลียวตัวเล็กๆ
วิธีทดลอง
1. เติมน้ำลงในแก้ว 5/6 แก้ว
2. นำหมุดมาปักลงที่ฐานเทียนไข(ด้านป้าน)
3. นำแท่งเทียนใส่ลงไปในแก้วน้ำ แล้วจุดเทียน
ผลการทดลอง
เทียนไขลอยอยู่ที่ผิวน้ำได้ และไฟก็จะไม่ดับ เพราะเทียนทำจากขี้ผึ้งพาราฟินจึงไม่เปียกน้ำ และหมุดหัวหมวก ทำหน้าที่เป็นจุดรวมน้ำหนักให้อยู่ที่แกนกลางแท่งเทียนจึงไม่เอียงคว่ำ ขี้ผึ้งพาราฟินเป็นไขมันที่ได้จากการกลั่นจากปิโตรเลียมมีลักษณะใส ไม่มีกลิ่น ไม่มีรสชาติ คล้ายกับขี้ผึ้ง จุดหลอมเหลวที่ 47-64 องศาเซลเซียส ซึ่งขี้ผึ้งพาราฟินบริสุทธิ์จะมีคุณสมบัติเป็นฉนวนกันความร้อนที่ดี ไม่ละลายน้ำ พาราฟินมักนำมาทำเทียนไข หรือเคลือบวัสดุต่าง ๆ เพื่อป้องกันไม่ให้โดนความชื้นจากน้ำ
นางสาวรุ้งนภา สืบวงศา เอก การศึกษาปฐมวัย
รหัส 56191860227 หมู่ 2 ค.บ 5/1

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ข้าพเจ้าได้มีส่วนร่วมในงานวันวิทยาศาสตร์ได้เข้าร่วมกิจกรรมขายของเอกคหกรรมศาสตร์ และได้เข้าชมผลงานในแต่ละซุ้มต่างๆด้วยและได้ไปศึกษาดูงานกิจกรรมวันวิทยาศาสตร์ของนักศึกษาชั้นปีที่2สาขา รัฐประศาสนศาสตร์ ได้ความรู้ในเรื่องของไจโรสโคป ประโยชน์ที่นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น ประโยชน์ของไจโรสโคป
- ดาวเทียมบางดวงใช้หลักของไจโร เพื่อปรับตำแหน่งของดาวเทียมในอวกาศ ดังรูป ภายในดาวเทียมจะประกอบด้วยล้อ 3 อัน ตั้งฉากซึ่งกันและกัน แต่ละอันมีมอเตอร์และเบรกไว้สำหรับควบคุมการหมุน เมื่อล้อเริ่มหมุน ดาวเทียมจะเริ่มหมุนเช่นกันแต่ไปในทิศตรงกันข้ามกับล้อ หลังจากที่อยู่ในตำแหน่งที่ต้องการ ก็บังคับให้ล้อหยุดหมุนดาวเทียม ก็จะหยุดหมุนตามไปด้วยเมื่อใช้วิธีนี้เราสามารถที่จะบังคับทิศทางของดาวเทียมได้โดยไม่ต้องใช้เชื้อเพลิหรือพลังงานมากมายนักรูปบนขณะที่ดาวเทียมโคจรอยู่รอบโลกตำแหน่ง
นางสาวราตรี เนียมมูล คหกรรมศาสตร์ หมู่ 2 รหัสนักศึกษา 55191600214

รุ่งนภา งามประจบ กล่าวว่า...

จากที่ดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆดังนี้1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจากนั้นก็นำมาวางบนไข่ให้เต็มปากขวดโหล ปิดฝา
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และได้ความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพโดยสาขาสาธารณะสุขได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อน้ำมันประกอบอาหารและข้อปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีคือหลีกเหลี่ยงการกินอาหารที่ใช้น้ำมันที่มีสีเข้มทอดหรือมีควันจำนวนมาก
นางสาวรุ่งนภา งามประจบ
รหัส 55128040240
รปศ (การปกครองท้องถิ่น)

Unknown กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆดังนี้1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจากนั้นก็นำมาวางบนไข่ให้เต็มปากขวดโหล ปิดฝา
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และได้ความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพโดยสาขาสาธารณะสุขได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อน้ำมันประกอบอาหารและข้อปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีคือหลีกเหลี่ยงการกินอาหารที่ใช้น้ำมันที่มีสีเข้มทอดหรือมีควันจำนวนมาก
ได้รู้จักหลักการเลียงไก่
การทำนาข้าว้
ได้รู้จักวิถีเศรฐกิจพอเพียง

นางสาวศิริกาญจน์ ปัจฉิมานนท์ รหัส 54191700231 หมู่2 ปี3 ค.บ.อุตสาหกรรมศิลป์

Unknown กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์
จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆ ข้าพเจ้าได้เข้าไปศึกษาดูงานจากซุ้มของนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์ชั้นปีที่ 2 ซึ่งได้ให้ความรู้เรื่อง ขวดเป่าลูกโป่ง มีวิธีการทดลองดังนี้
อุปกรณ์การทดลอง
1. ขวดแก้วเตี้ย อย่างขวดน้ำส้มสแปลช 1 ขวด
2. ลูกโป่ง 1 ใบ
3. ผงฟู (เบกกิ้งโซดา) 5 ช้อนโต๊ะ
4. น้ำส้มสายชู
วิธีทดลอง
1. เป่าลูกโป่งให้ยืดตัวก่อนทดลองสัก 2 รอบ
2. ใส่เบกกิ้งโซดา ลงในขวดแก้ว
3. เติมน้ำส้มสายชูลงไป
4. ครอบลูกโป่งลงบนปากขวด
ผลการทดลอง
เมื่อเบกกิ้งโซดา ทำปฏิกิริยากับน้ำส้มสายชูจะเกิดก๊าซคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ขึ้นก๊าซเบากว่าอากาศ จึงลอยสูงขึ้น เมื่อมีก๊าซมากๆก็จะดันลูกโป่งให้พองออกได้ เบกกิ้งโซดา (Baking Soda) มีชื่อทางวิทย่ศาสตร์ว่า โซเดียมไบคาร์บอเนต (Sodium Bicarbonate) หรือที่คุณแม่เรียกว่า ผงฟู นั่นเอง
นางสาวนภสร ขบวนฉลาด
54191700211
สาขาอุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี หมู่2

Unknown กล่าวว่า...
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
Unknown กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์
จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆ ข้าพเจ้าได้เข้าไปศึกษาดูงานจากซุ้มของนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์ชั้นปีที่ 2 ซึ่งได้ให้ความรู้เรื่อง ขวดเป่าลูกโป่ง มีวิธีการทดลองดังนี้
อุปกรณ์การทดลอง
1. ขวดแก้วเตี้ย อย่างขวดน้ำส้มสแปลช 1 ขวด
2. ลูกโป่ง 1 ใบ
3. ผงฟู (เบกกิ้งโซดา) 5 ช้อนโต๊ะ
4. น้ำส้มสายชู
วิธีทดลอง
1. เป่าลูกโป่งให้ยืดตัวก่อนทดลองสัก 2 รอบ
2. ใส่เบกกิ้งโซดา ลงในขวดแก้ว
3. เติมน้ำส้มสายชูลงไป
4. ครอบลูกโป่งลงบนปากขวด
ผลการทดลอง
เมื่อเบกกิ้งโซดา ทำปฏิกิริยากับน้ำส้มสายชูจะเกิดก๊าซคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ขึ้นก๊าซเบากว่าอากาศ จึงลอยสูงขึ้น เมื่อมีก๊าซมากๆก็จะดันลูกโป่งให้พองออกได้ เบกกิ้งโซดา (Baking Soda) มีชื่อทางวิทย่ศาสตร์ว่า โซเดียมไบคาร์บอเนต (Sodium Bicarbonate) หรือที่คุณแม่เรียกว่า ผงฟู นั่นเอง
นางสาวนภสร ขบวนฉลาด
54191700211
สาขา อุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี หมู่ 2

pimol กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์
จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆ ข้าพเจ้าได้เข้าไปศึกษาดูงานจากซุ้มของนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์ชั้นปีที่ 2 ซึ่งได้ให้ความรู้เรื่อง ขวดเป่าลูกโป่ง มีวิธีการทดลองดังนี้
อุปกรณ์การทดลอง
1. ขวดแก้วเตี้ย อย่างขวดน้ำส้มสแปลช 1 ขวด
2. ลูกโป่ง 1 ใบ
3. ผงฟู (เบกกิ้งโซดา) 5 ช้อนโต๊ะ
4. น้ำส้มสายชู
วิธีทดลอง
1. เป่าลูกโป่งให้ยืดตัวก่อนทดลองสัก 2 รอบ
2. ใส่เบกกิ้งโซดา ลงในขวดแก้ว
3. เติมน้ำส้มสายชูลงไป
4. ครอบลูกโป่งลงบนปากขวด
ผลการทดลอง
เมื่อเบกกิ้งโซดา ทำปฏิกิริยากับน้ำส้มสายชูจะเกิดก๊าซคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ขึ้นก๊าซเบากว่าอากาศ จึงลอยสูงขึ้น เมื่อมีก๊าซมากๆก็จะดันลูกโป่งให้พองออกได้ เบกกิ้งโซดา (Baking Soda) มีชื่อทางวิทย่ศาสตร์ว่า โซเดียมไบคาร์บอเนต (Sodium Bicarbonate) หรือที่คุณแม่เรียกว่า ผงฟู นั่นเอง

นายเกียรติศักดิ์ แก้วจรัญ
ค.บ. ดนตรีศึกษา ระดับ 5/1
56191470116

Unknown กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆดังนี้1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจากนั้นก็นำมาวางบนไข่ให้เต็มปากขวดโหล ปิดฝา
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และได้ความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพโดยสาขาสาธารณะสุขได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อน้ำมันประกอบอาหารและข้อปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีคือหลีกเหลี่ยงการกินอาหารที่ใช้น้ำมันที่มีสีเข้มทอดหรือมีควันจำนวนมาก
นางสาวกมลมาศ บุญเพ็ง56191860144
สาขาการศึกษาปฐมวัย คบ.5/1

Unknown กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆดังนี้1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจากนั้นก็นำมาวางบนไข่ให้เต็มปากขวดโหล ปิดฝา
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และได้ความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพโดยสาขาสาธารณะสุขได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อน้ำมันประกอบอาหารและข้อปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีคือหลีกเหลี่ยงการกินอาหารที่ใช้น้ำมันที่มีสีเข้มทอดหรือมีควันจำนวนมาก
นางสาวกมลมาศ บญเพ็ง56191860144
สาขาการศึกษาปฐมวัย คบ.5/1

Unknown กล่าวว่า...

จากกิจกรรมวันวิทยาศาสตร์ที่ทางคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้จัดกิจกรรมขึ้น นักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาฟิสิกส์ ได้ความรู้ในเรื่องต่างๆเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์มากมาย ซึ่งนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ของสาขาฟิสิกส์ ได้รับมอบหมายให้จัดซุ้มความรู้เกี่ยวกับสาขาของตนและนำเสนอให้แก่ผู้ที่สนใจที่มาชมงาน ซึ่งกิจกรรมที่ดิฉันรับผิดชอบคือ การทดลองเรื่องไข่ลอยน้ำ ซึ่งมีการเตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง บอร์ดความรู้ แผ่นพับ ซึ่ง เป็นการทดลองเกี่ยวกับ ความหนาแน่น
และยังมีการทดลอง กิจกรรมอื่นๆอีกมากมาย ซึ่งแต่ละวิชาสาขา ก็ได้จัดบอร์ดความรู้ เกี่ยวกับสาขาวิชาที่เกี่ยวกับของตน

นางสาวเจนจิรา พอกพูน 56191430101 สาขาฟิสิกส์ ค.บ.5/1

Unknown กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์
จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆ ข้าพเจ้าได้เข้าไปศึกษาดูงานจากซุ้มของนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์ชั้นปีที่ 2 ซึ่งได้ให้ความรู้เรื่อง ขวดเป่าลูกโป่ง มีวิธีการทดลองดังนี้
อุปกรณ์การทดลอง
1. ขวดแก้วเตี้ย อย่างขวดน้ำส้มสแปลช 1 ขวด
2. ลูกโป่ง 1 ใบ
3. ผงฟู (เบกกิ้งโซดา) 5 ช้อนโต๊ะ
4. น้ำส้มสายชู
วิธีทดลอง
1. เป่าลูกโป่งให้ยืดตัวก่อนทดลองสัก 2 รอบ
2. ใส่เบกกิ้งโซดา ลงในขวดแก้ว
3. เติมน้ำส้มสายชูลงไป
4. ครอบลูกโป่งลงบนปากขวด
ผลการทดลอง
เมื่อเบกกิ้งโซดา ทำปฏิกิริยากับน้ำส้มสายชูจะเกิดก๊าซคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ขึ้นก๊าซเบากว่าอากาศ จึงลอยสูงขึ้น เมื่อมีก๊าซมากๆก็จะดันลูกโป่งให้พองออกได้ เบกกิ้งโซดา (Baking Soda) มีชื่อทางวิทย่ศาสตร์ว่า โซเดียมไบคาร์บอเนต (Sodium Bicarbonate) หรือที่คุณแม่เรียกว่า ผงฟู นั่นเอง
นาย วัชรพงษ์ ทองลอย
55128040250
สาขารัฐประศาสนศาสตร์

Unknown กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆดัง นี้
1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำ ไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจากนั้นก็นำมา วางบนไข่ให้เต็มปากขวดโหล ปิดฝา
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และ ได้ความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพโดยสาขาสาธารณะสุขได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการ เลือกซื้อน้ำมันประกอบอาหารและข้อปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีคือ หลีกเหลี่ยงการกินอาหารที่ใช้น้ำมันที่มีสีเข้มทอดหรือมีควันจำนวนมาก
ได้รู้จักหลักการเลียงไก่
การทำนาข้าว
ได้รู้จักวิถีเศรฐกิจพอเพียง

นางสาวพูนทรัพย์ ไกรเพชร
55191600206 สาขาวิชาคหกรรมศาสตร

Unknown กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์ ดังนี้
ซุ้มสาขาคหกรรมศาสตร์ ได้มีการประกอบอาหารขายให้ผู้ที่มาร่วมงานวันวิทยาศาสตร์ได้ทานได้ชิม โดยข้าพเจ้ามาส่วนร่วมในการทำอาหารด้วย คือการทำผัดไท หมี่กะทิ ขนมจีนน้ำยา จากการเข้าร่วมงานวันวิทยาศาสตร์ครั้งนี้ข้าพเจ้าได้รับความรู้ ประสบการณ์หลายสิ่งหลายอย่าง และข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างยิ่งว่าความรู้และประสบการณ์เหล่านี้จะเป็นประโยชน์กับข้าพเจ้าและจะมีโอกาศนำไปประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันได้อย่างดี

นางสาวภรณ์ทิพย์ อินทร์เพ็ง 55191600207
สาขาคหกรรมศาสตร์ คบ.5/2

Unknown กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้มต่างๆดังนี้1.ซุ้มสาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่ 4ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจากนั้นก็นำมาวางบนไข่ให้เต็มปากขวดโหล ปิดฝา
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และได้ความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพโดยสาขาสาธารณะสุขได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อน้ำมันประกอบอาหารและข้อปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีคือหลีกเหลี่ยงการกินอาหารที่ใช้น้ำมันที่มีสีเข้มทอดหรือมีควันจำนวนมาก

นางสาวรพีพร โพธิ์ทอง รปศ. หมู่ 2 (55128040232)

Unknown กล่าวว่า...
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
Unknown กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์
จากที่ได้ไปศึกษาดูงานจากซุ้มต่างๆชึ่งได้มีสาขาแต่ละสาขามาจัดซุัมนิทรรศการให้ได้เดินชมและเล่นเกมส์ และหาความรู้จากซุ้มต่างๆเพื่อนำมาจัดทำงานและหาความรู้โดยมีซุ้มแต่ละสาขา เช่น
ซุ้มกลเคมี
ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1
ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และยังมีซุ้มศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติมาจัดมาจัดแสดงเพื่อให้ความรู้อีกด้วย และแต่ละซุ้มจะมีเกมส์ให้น้องที่มาจากประถมศึกษาได้เข้าร่วมเล่นเกมส์ และร่วมตอบคำถามเพื่อแลกกับของรางวัล ซึ่งมีน้องๆให้ความร่วมมือเป็นอย่างมากกับกิจกรรมนี้

นางสาวศิรินภา อยู่ปูน รหัส 56191960118 ค.บ.วิทยาศาสตร์

Unknown กล่าวว่า...
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
Unknown กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์
จากที่ได้ไปศึกษาดูงานจากซุ้มต่างๆชึ่งได้มีสาขาแต่ละสาขามาจัดซุัมนิทรรศการให้ได้เดินชมและเล่นเกมส์ และหาความรู้จากซุ้มต่างๆเพื่อนำมาจัดทำงานและหาความรู้โดยมีซุ้มแต่ละสาขา เช่น
ซุ้มกลเคมี
ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1
ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และยังมีซุ้มศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติมาจัดมาจัดแสดงเพื่อให้ความรู้อีกด้วย และแต่ละซุ้มจะมีเกมส์ให้น้องที่มาจากประถมศึกษาได้เข้าร่วมเล่นเกมส์ และร่วมตอบคำถามเพื่อแลกกับของรางวัล ซึ่งมีน้องๆให้ความร่วมมือเป็นอย่างมากกับกิจกรรมนี้

นางสาวสุกัญญา ว่องไว รหัส 56191960119 ค.บ.วิทยาศาสตร์ 5/1

เจตริน ศรีสรรงาม กล่าวว่า...

การจัดนิทรรศการเกี่ยวกับข้าว ได้เเก่ นิทรรศการปลูกข้าวต้นเดี่ยวเเบบประณีต การการปลูกข้าวลอยน้ำ วิวัฒนาการวิธีการปลูกข้าว นวัตกรรมการปลูกข้าวนอกนาการเจริญเติบโตของข้าว การเก็บเกี่ยวเเละการเก็บรักษาการผลิตข้าวในประเทศเเละต่างประเทศ การผลิตเมล็ดพันธ์ข้าว การค้าข้าว โครงการรับจำำนำข้าว เป็นต้น เเละมีนิทรรศการเกี่ยวกับผ้าไหม ได้เเก่ การเลี้ยงไหม การทอผ้า การสาธิตการสาวไหม อุปกรณ์ที่ใช้ในการทอผ้าไหม วงจรชีวิตของหนอนไหม เป็นต้น
นายเจตริน ศรีสรรงาม สาขาภาษาอังกฤษ 55191020106

นางสาวศิรินภา มะลิงาม หมู่ 2 คบ. คหกรรมศาสตร์ 55191600221 กล่าวว่า...

จากที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานวันวิทยาศาสตร์จากซุ้ม
สาขาเกษตรศาสตร์ของนักศึกษา วท.บ.ปีที่่4ได้ให้ความรู้เรื่องการทำไข่เค็มแบบดองเกลือ โดยมีส่วนประกอบและขั้นตอนดังนี้
1.ไข่เป็ดสด 10-15ฟอง ล้างสะอาด ผึ่งให้แห้ง
2.เกลือทะเล (เกลือเม็ด) 2 ถ้อยตวง น้ำ 8 ถ้วยตวง(อัตราส่วนเกลือ:น้ำ=1:4 ผสมรวมกันแล้วตั้งไฟต้มจนเดือดพักไว้จนเย็นสนิท
3.นำไข่เป็ดใส่ลงในขวดโหล เทน้ำเกลือลงให้ท่วมเพื่อไม่ให้ไข่ลอย เราจะต้องเอาน้ำเกลือที่เหลือใส่ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่นจากนั้นก็นำมาวางบนไข่ให้เต็มปากขวดโหล ปิดฝา
2.ซุ้มภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์ชั้นปีที่ 1เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.ซุ้ม ค.บ.วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบสุริยะ
และได้ความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพโดยสาขาสาธารณะสุขได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อน้ำมันประกอบอาหารและข้อปฏิบัติในการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีคือหลีกเหลี่ยงการกินอาหารที่ใช้น้ำมันที่มีสีเข้มทอดหรือมีควันจำนวนมาก

Unknown กล่าวว่า...

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์ กระผมได้เดินดูในแต่ละซุ้มของแต่ละสาขา ได้จัดตั้งเป็นซุ้มขึ้นมาโดยบางซุ้มมีกิจกรรมให้เล่นและร่วมสนุกได้ เช่น การเข้าร่วมทดลองไฟฟ้าสถิต และต่างๆอิกมากมาย ถัดไปอีกก้อมีซุ้มของ
เอก วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร มีการทำอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายเป็นสาขาวิชาที่ประยุกต์มาจากวิทยาศาสตร์การอาหาร มีเนื้อหาเกี่ยวกับการถนอมอาหาร การแปรรูปอาหาร บรรจุภัณฑ์ การจัดจำหน่ายอาหาร และหลักโภชนาการของอาหาร
นักวิทยาศาสตร์การอาหารและนักเทคโนโลยีอาหารเป็นจะศึกษาลักษณะทางกายภาพ ทางจุลชีววิทยา และทางเคมีของอาหาร
นายมานะศักดิ์ มาพบ เอกคหกรรมศาสตร์
55191600210

วิท กล่าวว่า...

ข้าพเจ้าได้เป็นผู้ควบคุมกิจกรรมวันวิทยาศาสตร์สาขา ฟิสิกส์ เรื่อง เส้นแรงแม่เหล็ก ความรู้ที่ข้าพเจ้าได้รับคือ เส้นแรงแม่เหล็ก (Magnetic Lines of Force) คือ เส้นสมมติเสมือนว่าแท่งแม่เหล็กส่งอำนาจการดึงดูดไปถึง วิธีหาเส้นแรงแม่เหล็ก
ทำได้โดย
1.ใช้ผงตะไบเหล็ก โรยบนกระดาษที่วางทับแท่งแม่เหล็กไว้เมื่อกระดาษ เมื่อเคาะเบา ๆ จะมองเห็นแนวของเส้นแรง

2. ใช้เข็มทิศ แนวการวางตัวของเข็มทิศ คือ แนวของเส้นแรงแม่เหล็กจากวิธีการนี้จะทำให้เห็นว่าเส้นแรงแม่เหล็กมีทิศออกจากขั้วเหนือ
ไปสู่ขั้วใต้เสมอ

สมบัติของเส้นแรงแม่เหล็ก
1. มีทิศพุ่งออกจากขั้วเหนือไปขั้วใต้ และมีความหนาแน่นมากบริเวณใกล้ขั้วแม่เหล็ก ส่วนทิศของเส้นแรงแม่เหล็กโลกจะมีทิศจาก
ขั้วโลกใต้สู่ขั้วโลกเหนือ เพราะแท่งแม่เหล็กโลกมีขั้วเหนืออยู่ทางทิศใต้ และขั้วใต้อยู่ทางทิศเหนือ
2. เส้นแรงแม่เหล็กไม่ตัดกัน แต่จะรวมกันหรือต้านกันออกไป
และความรู้ที่ข้าพเจ้าได้รับนี้ ข้าพเจ้ายังได้ถ่ายทอดให้กับนักเรียน นักศึกษา และผู้ที่สนใจศึกษาทั่วไป ได้รับฟังด้วย ในซุ้ม เฉพาะเอกฟิสิกส์ ยังมีความรู้ที่ให้ผูสนใจศึกษามากมาย ไม่ว่าจะเป็น ไฟฟ้าสถิต ปรากฏการณ์จันทรุปราคา ปรากฏการณ์คลื่น เป็นต้น
นายสุวิทย์ ศรีบุญเรือง 55128040257
รปศ. หมู่ 2

การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึม

หลักการเขียนโปรแกรม องค์ประกอบของประโยคคำสั่ง ชนิดของข้อมูล โครงสร้างข้อมูลแบบอาร์เรย์ โครงสร้างคำสั่งแบบลำดับ โครงสร้างคำสั่งแบบวนซ้ำ การ...