วันจันทร์ที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2558

เทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน (สำหรับนักศึกษา อังคาร 11.20-15.30 น)

ปัจจุบันนี้มนุษย์เราได้รับเทคโนโลยีต่าง ๆ ที่มีการพัฒนาตามลำดับ การดำรงอยู่ในโลกยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ ต้องเรียนรู้และก้าวให้ทัน นักศึกษาสืบค้นเทคโนโลยีด้านต่าง ๆ สมัยใหม่ในปัจจุบัน แล้วสรุปความรู้เป็นข้อ ๆ ทุกสัปดาห์

45 ความคิดเห็น:

Thongin Waidee กล่าวว่า...

10 สุดยอดแนวโน้มเทคโนโลยีที่เป็นกลยุทธ์ของปี 2015 ที่ Gartner ระบุว่ามีศักยภาพที่จะส่งผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อองค์กรในอีก 3 ปีข้างหน้า ปัจจัยที่เป็นผลกระทบมีตั้งแต่ การหยุดชะงัก ของธุรกิจ ของผู้ใช้งานหรือของฝ่ายไอที ความต้องการเงินลงทุนขนานใหญ่ หรือ ความเสี่ยงจากการเป็นผู้ที่ล้าหลัง เทคโนโลยีต่อไปนี้จะส่งผลต่อแผนงานและโครงการระยะยาวขององค์กร
"แนวโน้มเทคโนโลยีทั้ง 10 นี้ องค์กรไม่อาจละเลยที่จะบรรจุไว้ในกระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์ได้ แม้ว่าองค์กรจะไม่ถึงขั้นต้องรับเอาแนวโน้มทุกอย่างไปและลงทุนอย่างเท่าเทียมกัน แต่ก็ควรจะพิจารณาตัดสินใจอย่างรอบคอบภายใน 2 ปีข้างหน้า"
สุดยอดแนวโน้มเทคโนโลยีทั้ง 10 ประจำปี 2015 นี้ครอบคลุม 3 หัวเรื่องใหญ่คือ การหลอมรวมกันของโลกจริงและโลกเสมือน การมาถึงของความเฉลียวฉลาดที่มีอยู่ทุกหนทุกแห่ง และ ผลกระทบทางเทคโนโลยีของการเคลื่อนสู่ธุรกิจดิจิตอล
10 สุดยอดแนวโน้มเทคโนโลยีที่เป็นกลยุทธ์ของปี 2015 ได้แก่
1. Computing Everywhere แม้ว่าอุปกรณ์พกพาจะยังคงพัฒนาต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง Gartner พยากรณ์ว่าต่อจากนี้จะมุ่งเน้นที่การตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานที่มีความหลากหลายทั้งด้านเนื้อหาและสภาพแวดล้อมมากกว่า
2. The Internet of Things ข้อมูลที่พรั่งพรูจากอุปกรณ์ดิจิตอลจะก่อให้เกิดการใช้งาน 4 รูปแบบคือ การบริหารจัดการ การคิดค่าใช้จ่าย การควบคุม และ การขยายผล ซึ่งรูปแบบการใช้งานทั้ง 4 จะประยุกต์ใช้กับอุปกรณ์อินเตอร์เน็ตได้ 4-5 ชนิด คือ สินทรัพย์ บริการ บุคคล สถานที่ และ ระบบ
3. 3D Printing คาดกันว่ายอดจำหน่ายเครื่องพิมพ์ 3 มิติซึ่งมีราคาย่อมเยาว์จะเพิ่มขึ้นอีกเท่าตัวในปี 2015 ก่อให้เกิดขยายการใช้งานไปตามอุตสาหกรรมแขนงต่างๆ อย่างรวดเร็ว เช่น ชีวการแพทย์ การทำสินค้าต้นแบบ และ การผลิดปริมาณน้อยๆ
4. Advanced, Pervasive and Invisible Analytics การวิเคราะห์เชิงลึกหรือ Analytics จะได้เป็นพระเอกเนื่องด้วยมีการผลิตข้อมูลจากระบบต่างๆ ทั้งที่อยู่ภายในและภายนอกองค์กรเพิ่มขึ้นเป็นปริมาณมหาศาล องค์กรจะต้องสามารถบริหารจัดการและกลั่นกรองข้อมูลให้ได้เป็นผลลัพธ์ที่เป็นประโยชน์จริงๆ กับแต่บุคคล
5. Context-Rich Systems ระบบที่ปราดเปรื่องรอบรู้ซึ่งประกอบด้วยอุปกรณ์อัจฉริยะและการวิเคราะห์เชิงลึก จะเป็นระบบที่สามารถแจ้งเตือนไปยังสิ่งต่างๆ รอบๆ ตัวและสามารถตอบสนองได้อย่างเหมาะสม
6. Smart Machines จักรกลอันชาญฉลาด เช่น รถยนต์ไร้คนขับ หุ่นยนต์ล้ำสมัย ผู้ช่วยเสมือน จะถูกพัฒนาต่อยอดขึ้นอย่างรวดเร็วจนเข้าสู่ยุคของผู้ช่วยที่เป็นจักรกล จักรกลอันชาญฉลาดจะเป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงไอทีไปอย่างสิ้นเชิง
7. Cloud/Client Computing การผนวกเข้ากันของการประมวลผลคลาวด์กับอุปกรณ์พกพาจะกระตุ้นการเติบโตของซอฟต์แวร์ต่างๆ ที่ประสานงานจากส่วนกลาง Cloud เป็นการประมวลผลสมัยใหม่ที่สามารถขยับขยายได้และเป็นบริการด้วยตนเอง ต่อไปซอฟต์แวร์ทั้งที่ใช้ภายในและภายนอกองค์กรจะใช้การประมวลผลสมัยใหม่นี้
8. Software-Defined Applications and Infrastructure การใช้ชุดคำสั่งโปรแกรมมิ่งไปกำหนด infrastructure ต่างๆ เช่น network, storage, data center และความปลอดภัย จะเป็นสิ่งที่จำเป็นต่อองค์กรเพื่อให้มีความคล่องตัวในการดำเนินธุรกิจดิจิตอล ธุรกิจดิจิตอลมักมีการเปลี่ยนแปลงด้านความต้องการอย่างรวดเร็วจึงจะต้องมีการขยับขยายเพิ่ม หรือ ลด ขนาดของระบบอย่างรวดเร็วด้วย
9. Web-Scale IT เป็นการประมวลผลทั่วโลกที่อาศัยขีดความสามารถของผู้ให้บริการ cloud ขนาดใหญ่ จะมีองค์กรจำนวนมากขึ้นเรื่ิอยๆ ที่ได้เริ่มคิด ลงมือ และสร้างซอฟต์แวร์ที่มีขนาดใหญ่ยักษ์อย่าง Facebook
10. Risk-Based Security and Self-Protection แม้ว่าถนนดิจิตอลแห่งอนาคตทุกๆ สายจะมุ่งสู่ประเด็นความปลอดภัย แต่ในโลกของธุรกิจดิจิตอลประเด็นความปลอดภัยก็ไม่อาจเป็นสิ่งกีดขวางที่จะหยุดยั้งความก้าวหน้าได้ องค์กรจะรับรู้ว่าไม่มีระบบอะไรที่จะปลอดภัย 100 % เมื่อองค์กรยอมรับเช่นนี้แล้วก็จะประเมินความเสี่ยงเข้มข้นขึ้นและเพิ่มเครื่องมือในป้องกันความปลอดภัยมากขึ้น
ที่มา:
www.gartner.com
http://www.whitespace-cloud.com/

Thongin Waidee กล่าวว่า...

ยูบิควิตัส (UBIQUITOUS) เทคโนโลยีสมัยใหม่
ปัจจุบันสังคมก้าวเข้าสู่สังคมเทคโนโลยีการสื่อสาร มีการนำคอมพิวเตอร์เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการดำรงชีวิต รูป ลักษณะของคอมพิวเตอร์จะแฝงอยู่ในรูปของเครื่องใช้ต่าง ๆ เช่น เครื่องแต่งกาย เครื่องมือสื่อสาร ยานพาหนะเครื่องอำนวยความสะดวกในบ้าน และฝังตัวอยู่ในสรรพสิ่งรอบตัวเรา สารสนเทศที่ได้จากการประมวลผล สามารถเชื่อมโยงซึ่งกันและกันระหว่างอุปกรณ์ผ่านระบบเครือข่ายความเร็วสูง ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศ ข้อมูลข่าวสารมีเพิ่มขึ้นอยู่ตลอดเวลาทำให้ต้องหาวิธีการใหม่ๆ เพื่อจัดการกับข้อมูลจำนวนมากให้เป็นระบบ ทั้งการจัดเก็บและการใช้ เกิดการสร้างอุปกรณ์หรือโปรแกรมใหม่เพื่อรองรับกับข้อมูล จึงทำให้เกิดระบบเทคโนโลยีระดับสูง ที่เรียกกันว่า “เทคโนโลยียูบิควิตัส” (Ubiquitous technology) และสิ่งนี้เองกำลังเป็นแนวโน้มแห่งโลกปัจจุบันและอนาคตที่เรียกได้ว่าเป็น “สังคมยูบิควิตัส
ยูบิควิตัสเทคโนโลยี (Ubiquitous technology) Ubiquitous ( ยูบิควิตัส ) เป็นภาษาลาติน มีความหมายว่า อยู่ในทุกแห่ง หรือ มีอยู่ทุกหนทุกแห่ง Mark Weiser (มาร์ค ไวเซอร์) แห่งศูนย์วิจัย Palo Alto ของบริษัท Xerox ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ให้คำนิยาม Ubiquitous Computing (ยูบิควิตัสคอมพิวติง) ไว้ว่า หมายถึงกระบวนการบูรณาการ (integrating) คอมพิวเตอร์เข้ากับ Physical World อย่างไร้ของเขต (seamlessly) การพัฒนาสิ่งเหล่านี้ทำให้เทคโนโลยีต่างๆ เข้ามาเกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิตประจำวัน Ubiquitous Computing รวมถึงเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ประเภท microprocessors โทรศัพท์เคลื่อนที่ (mobile phones) กล้องดิจิตอล และอุปกรณ์อื่นๆ หมายความว่าเราสามารถเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศได้ทุกหนทุกแห่งสภาพแวดล้อมที่ สามารถใช้คอมพิวเตอร์เชื่อมต่อกับเครือข่ายไม่ว่าจะอยู่ในที่แห่งใด
Ubiquitous Learning คือ การจัดการเรียนการสอนหรือบทเรียนสำเร็จรูป (Instruction Package) ที่นำเสนอเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านเทคโนโลยีเครือข่ายทั้งแบบใช้ สายและไร้สาย รวมไปถึงพวกอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการประมวลผลแบบไร้ขอบเขต ผู้เรียนสามารถเรียนได้ทุกที่และทุกเวลา ที่จริงแล้ว น่าจะมาจากคำว่า Ubiquitous e-learning แต่ e- ได้ถูกตัดหายไป เนื่องจากเป็นการเรียนรู้ที่เป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินชีวิต ซึ่งเกี่ยวพันธ์กับวิธีการเรียนหลากหลายแบบรวมกัน ทั้งแบบดังเดิมและการใช้เทคโนโลยีด้านสารสนเทศ
การพัฒนาโลกเทคโนโลยีของโลกกำลังเข้าสู่ยุคที่สามของโลกไอทีหรือที่เรียกว่า ยูบิควิตัส คอมพิวติ้ง (Ubiquitus Computing ) ที่หมายถึง การมีคอมพิวเตอร์อยู่ทุกหนทุกแห่ง (PC anywhere) ทั้งในบ้าน ทีที่ทำงาน โรงเรียน ตามถนนหนทาง ผู้คนจะสามารถใช้คอมพิวเตอร์ได้จากทุกสถานที่โดยเชื่อมต่อถึงกันด้วยเครือข่ายคอมพิวเตอร์ตามกระแสแห่งการพัฒนากล่าวได้ว่าโลกกำลังก้าวเข้าสู่ยุคยูบิควิตัส ส่วนประเทศไทยต้องใช้เวลาพัฒนาเทคโนโลยีอีกระยะ อย่างไรก็ดี การเข้าสู่สังคมยุคใหม่มีผลกระทบทั้งทางที่ดีและทางลบต่อสังคมทำให้ผู้ใช้เทคโนโลยีและคนที่อยู่ในทุกสังคมต้องตระหนักและทำความเข้าใจกับปรากฏการณ์ที่จะเกิดขึ้น
ข้อดีของยูบิควิตัสคอมพ์ คือการความสะดวกสบายในการดำเนินชีวิต โดยมีเครือข่ายคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีสื่อสารบรอดแบนด์ และโทรศัพท์มือถือเป็นกุญแจสำคัญ โดยหลักสำคัญของยูบิควิตัส คือการที่ผู้คนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ในโทรศัพท์มือถือสั่งซื้อสินค้า ,รถยนต์พูดได้ที่สามารถเตือนข้อบกพร้องในการขับขี่ หรือใช้อินเทอร์เน็ตที่ติดตั้งกับตู้เย็นในการสั่งอาหาร รวมถึงการสะดวกสบายในการทำงาน การดำเนินชีวิต ส่วนผลลบของยูบิควิตัส คือการสิ้นเปลื้องพลังงานจำนวนมากในการใช้งานเครื่องมือในอนาคต ความแตกต่างในการพัฒนาช่องว่างทางด้านดิจิตอล รวมถึงการใช้เงินจำนวนมากเพื่อลงทุนซื้อเทคโนโลยี
ที่มา :
http://www.scriptthai.com/
http://hitech.sanook.com/computer/news_00230.php

Unknown กล่าวว่า...

นางสาวพิมชนก วังหอม
รหัส 56191880217
สาขา การประถมศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
ใน สังคมปัจจุบันไม่ว่าใครจะอยู่ที่ใด แม้ในเมืองหรือชนบทก็ตาม ย่อมมีการติดต่อสื่อสารกับบุคคลหรือสังคมอื่นอยู่เสมอไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็นหรือการรับรู้ข้อมูลข่าวสารในชีวิตประจำ วันด้วยสื่อต่าง ๆ เช่นวิทยุโทรทัศน์ โทรศัพท์ โทรสาร ล้วนเป็นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทั้งสิ้น นอกจากนี้ยังใช้เทคโนโลยีเครื่องมือหรือกลไกเพื่ออำนวยความสะดวก เช่น การถอนเงินจากเครื่องจ่ายเงินอัตโนมัติ การสแกนลายนิ้วมือการเข้าปฏิบัติงานในสำนักงาน การจ่ายค่าโดยสารรถไฟฟ้าผ่านบัตรแถบแม่เหล็ก เป็นต้น
อ้างอิง_http://gangza-yui01.blogspot.com/p/blog-page_2734.html?m=1

Unknown กล่าวว่า...

นางสาววิจิตตราภรณ์ วงศ์วิไล
สาขา การบัญชี 4/2 56125210214
สหรัฐฯ-แอปเปิล เปิดตัวสมาร์ทว็อทช์
แอปเปิล เปิดตัวสมาร์ทว็อทช์ นาฬิกาข้อมืออัจฉริยะมีราคาเริ่มต้นตั้งแต่หมื่นกว่าบาทไปจนถึง 3 แสนบาทขึ้นไป ขึ้นอยู่กับโลหะที่ใช้และสายนาฬิกา
นายทิม คุก ซีอีโอแอปเปิล ขึ้นเวทีเปิดตัวในงานแถลงข่าวที่เมืองซานฟรานซิสโก โดยเรียกนาฬิกาข้อมือใหม่ของแอปเปิล เป็นอุปกรณ์ส่วนตัวที่สุดที่แอปเปิลเคยสร้างสรรค์ขึ้น และมันจะปฏิวัติวิธีที่ผู้คนเชื่อมโยงถึงกัน

แอปเปิลว็อทช์ มีความสามารถต่างๆอย่างเช่น รับโทรศัพท์ รับข้อความและอีเมล์ และมีเทคโนโลยีที่เรียกว่า ดิจิตอลทัช ทำให้ผู้ใช้งานสามารถเชื่อมโยงถึงกันระหว่างแอปเปิลว็อทช์ด้วยกัน

ส่วนหน้าปัดนาฬิกามีลักษณะสี่เหลี่ยม มี 2 ขนาดคือ ขนาดเล็ก 1.5 นิ้ว มีราคาเริ่มต้น 349 ดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณ 1 หมื่น 1 พัน 300 บาท มีความสามารถต่างๆ อย่างเช่น เชื่อมต่อไอโฟนได้แบบไร้สาย, วัดอัตราการเต้นของหัวใจ และสามารถสะกิดเตือนเวลาที่มีนัดหมาย หรือมีข้อความใหม่ส่งเข้ามา, ส่วนนาฬิกาที่มีขนาดหน้าปัดใหญ่กว่าคือ 1.7 นิ้วจะมีราคาแพงกว่า โดยบวกเข้าไปอีก 50 ดอลลาร์สหรัฐ

นอกจากนี้ยังแอปเปิลว็อทช์ แบบที่ราคาแพงเกิน 1 หมื่นดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งใช้ทองคำเป็นวัสดุทำตัวเรือนและสายนาฬิกา
แอปเปิลกำหนดวันจำหน่าย แอปเปิลว็อทช์ในวันที่ 24 เมษายนนี้ ด้านนักวิเคราะห์ประเมินว่า แอปเปิลจะสามารถขายแอปเปิลว็อทช์ได้ตั้งแต่ 10 ล้านถึง 32 ล้านเครื่องภายในปีนี้ เปรียบเทียบกับไอแพดที่เคยขายได้ประมาณ 15 ล้านเครื่องตอนเปิดตัวครั้งแรกในปี 201
อ้างอิง_http://www.krobkruakao.com/ข่าวเทคโนโลยี/118567/สหรัฐฯ-แอปเปิล-เปิดตัวสมาร์ทว็อทช์.html

Unknown กล่าวว่า...

นางสาวอักษร บุญสอน การบัญชี 56125210220
ฮิตาชิ ดาต้า ซิสเต็มส์ คอร์ปอเรชั่น (HDS) ธุรกิจในเครือของบริษัท ฮิตาชิ จำกัด (TSE: 6501) เผยการคาดการณ์ 5 แนวโน้มธุรกิจและไอทีของภาคพื้นเอเซียแปซิฟิค ใน Business and Technology Predictions for Asia Pacific in 2015
มร. Adrian De Luca ประธานเจ้าหน้าที่บริหารฝ่ายเทคโนโลยี (CTO) บริษัท ฮิตาชิ ดาต้า ซิสเต็มส์ เอเชีย แปซิฟิก จำกัด ว่า ในปี 2015 จะเป็นยุคสำคัญที่เทคโนโลยีสารสนเทศและธุรกิจต้องเชื่อมโยงเพื่อเป้าหมายเดียวกัน และถึงเวลาที่เทคโนโลยีสารสนเทศจะเปิดรับ แพลทฟอร์มที่สาม หรือ “the 3rd platform” คลื่นลูกใหม่ที่จะมีผลกระทบต่อการดำเนินงาน
อาทิ อุปกรณ์เคลื่อนที่และแอพพลิเคชั่นต่างๆ, บริการด้านคลาวด์คอมพิวติ้ง, การวิเคราะห์ Big data และโซเชียลมีเดีย ซึ่งผู้บริหารระดับสูงด้านสารสนเทศจำต้องตอบสนองความจำเป็นเหล่านี้ พร้อมปรับตัวให้เป็นผู้ให้บริการทางธุรกิจมากกว่าที่จะเป็นผู้สร้างเทคโนโลยีที่มุ่งเน้นแต่โครงสร้างไอทีของศูนย์ข้อมูลเท่านั้น
ปัจจุบันมีตลาดใหม่เกิดอยู่ตลอดเวลา และความคาดหวังด้านการบริการของผู้บริโภคมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ องค์กรธุรกิจที่ตกยุคจะหายไป เหลือไว้แต่ผู้ชนะสำหรับระบบเศรษฐกิจแห่งอนาคตที่พร้อมปรับตัวในทันที ทั้งนี้ 5 แนวโน้มหลัก อาทิ การสร้างเมืองอัจฉริยะ, Big Dataในธุรกิจที่มีการแข่งขันสูง, ไฮบริดคลาวด์, อุปกรณ์เคลื่อนที่เน้นด้านข้อมูล และการพัฒนากฎระเบียบข้อบังคับ ร่วมกับแรงขับเคลื่อนต่างๆด้านธุรกิจในภูมิภาค จะกำหนดอนาคตของเทคโนโลยีสารสนเทศในเอเชียแปซิฟิก ในปี 2015
1. แนวคิดเรื่องเมืองอัจฉริยะจะผลักดันให้มีการลงทุนอย่างมากใน Internet of Things
2. ภาคธุรกิจจะเพิ่มศักยภาพด้าน Big Data เพื่อเพิ่มความได้เปรียบทางการแข่งขัน
3. Hybrid Cloud จะเป็นทางเลือกอันดับต้นๆ สำหรับการติดตั้งแอพพลิเคชั่นระดับองค์กร
4. ความนิยมของอุปกรณ์เคลื่อนที่จะผลักดันโครงสร้างด้านเทคโนโลยีให้รองรับข้อมูลมากขึ้น
5. ระเบียบใหม่เพื่อคุ้มครองความเป็นส่วนตัวและป้องกันข้อมูลทำให้ธุรกิจต้องเพิ่มการลงทุนด้านนี้
นอกจากการคาดการณ์สำหรับภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกของ มร. Adrain แล้ว ทาง มร.Hu Yoshida ประธานเจ้าหน้าที่บริหารฝ่ายเทคโนโลยีของ HDS ได้เผยถึงแนวโน้มของ 10 เทคโนโลยีสารสนเทศระดับโลกไว้ที่นี่
อ้างอิง
http://www.smethailandclub.com/knowledges-view.php?id=610

Unknown กล่าวว่า...

นางสาวสุพรรณิการณ์ เข็มทอง การบัญชี4/2 เลขที่56125210213
เทคโนโลยียานยนต์แห่งอนาคตHome > Japan Corner > เทคโนโลยียานยนต์แห่งอนาคต

NextPrevious
เทคโนโลยียานยนต์แห่งอนาคต

จากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีส่งผลให้เกิดแนวคิดและนวัตกรรมใหม่ๆ เกิดขึ้นมากมาย ในอุตสาหกรรมยานยนต์ญี่ปุ่นก็เช่นเดียวกัน บริษัทผู้ผลิตรถยนต์ต่างก็คิดค้นเทคโนโลยีใหม่ๆ มานำเสนอในรถต้นแบบของตน แนวโน้มรถยนต์ในวันข้างหน้าจะเป็นอย่างไรเราลองไปติดตามดูกันนะค่ะ

1.Honda EV-STER
ต้นแบบสปอร์ตเปิดประทุนขนาดเล็กขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้า โดยใช้มอเตอร์ไฟฟ้าขับเคลื่อนที่ล้อหลัง สามารถทำความเร็วสูงสุดที่ 160 กม./ชม. อัตราเร่ง 0-100 กม.ที่ 5 วินาที แหล่งพลังงานเป็นแบตเตอรี่ลิเธียมไอออนขนาด 10 กิโลวัตต์ ตัวถังรถทำจากคาร์บอนไฟเบอร์ทำให้รถมีน้ำหนักเบาและประหยัดพลังงาน


Car_1_1.jpg
Car_1_1_2.jpg


2. Mazda Takeri

สิ่งที่น่าสนใจใน Mazda Takeri คือ เทคโนโลยี i-ELOOP (Intelligent Energy Loop) ระบบแปลงพลังงานจลน์จากการเบรคเป็นพลังงานไฟฟ้าและนำไปสะสมไว้ที่ตัวเก็บประจุ ซึ่งพลังงานไฟฟ้าที่เก็บสะสมไว้นี้จะถูกนำไปเลี้ยงอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆภายในรถ เช่น เครื่องปรับอากาศ, ชุดเครื่องเสียงและอื่น ๆ ระบบนี้นับว่าเหมาะสมมากสำหรับรถที่ใช้งานในชีวิตประจำวันที่มีทั้งการเร่งและการเบรคบ่อยๆ มาสด้ากล่าวว่าเทคโนโลยี i-ELOOP นี้จะช่วยประหยัดเชื้อเพลิงเพิ่มขึ้นถึง 10%

หัวใจสำคัญของระบบ i-ELOOP คือ ตัวเก็บประจุแบบพิเศษที่เรียกว่า EDLC (Electric Double Layer Capacitor) ซึ่งสามารถเก็บพลังงานได้มากกว่าแบตเตอรี่ สามารถเก็บประจุและคายประจุได้อย่างรวดเร็ว มีอายุการใช้งานที่ยาวนานกว่าแบตเตอรี่ และทำให้ระบบ i-STOP สามารถหยุดเครื่องยนต์ระหว่างรถติดได้นานๆ โดยที่อุปกรณ์ไฟฟ้ายังทำงานอยู่และไม่ต้องกลัวว่าแบตเตอรี่จะหมด

เทคโนโลยี i-ELOOP นี้เป็นหนึ่งใน SKYACTIV TECHNOLOGY ซึ่งเป็นกลุ่มเทคโนโลยียุคใหม่ที่มาสด้าพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ในรถยนต์รุ่นใหม่ๆที่จะออกจำหน่ายตั้งแต่ปี 2012 เป็นต้นไป


Car_2_2.jpg

3.Mitsubishi EMIRAI

EMIRAI คิอระบบควบคุมและแสดงผลภายในห้องโดยสารที่ทันสมัยที่สุดที่มิตซูบิชิตั้งใจจะนำมาใช้ในรถยนต์ที่จะออกจำหน่ายในอนาคตอันใกล้ซึ่งคาดว่าจะสามารถนำมาใช้ได้จริงใน 10 ปีข้างหน้า ระบบดังกล่าวใช้จอแสดงผลแบบโปรเจคเตอร์ขนาดใหญ่ที่ออกแบบให้โค้งรับกับที่นั่งของผู้ขับขี่ สามารถแสดงข้อมูลต่างๆของรถ พร้อมทั้งยังมีกล้องอินฟราเรดและเซ็นเซอร์ที่จะตรวจวัดอุณหภูมิใบหน้าและอัตราการเต้นของหัวใจของผู้ขับขี่ ระบบปุ่มควบคุมและสั่งงานเป็นระบบสัมผัสแบบเดียวกับสมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ทในปัจจุบัน นอกจากนี้ที่นั่งผู้โดยสารด้านหลังยังมีจอแสดงผลแบบสามมิติที่สามารถดูได้ด้วยตาเปล่าโดยไม่ต้องสวมแว่น

Car_3_3.jpg

4.Nissan PIVO 3

ยานยนต์ไฟฟ้าอัจฉริยะที่จะช่วยอำนวยความสะดวกสบายแก่ผู้ขับขี่โดยมีระบบ Automated Valet Parking (AVP) สามารถนำรถเข้าที่จอดและชาร์จไฟได้เองโดยไม่ต้องมีคนขับ และวิ่งไปหาเจ้าของรถได้เมื่อถูกเรียกโดยสมาร์ทโฟน และเนื่องจากเป็นรถแบบ 3 ที่นั่งซึ่งมีความยาวไม่ถึง 3 เมตร ทำให้สามารถกลับรถบนถนนที่กว้างเพียง 4 เมตรได้อย่างสบาย


Car_4_4.jpg

5.Nissan TOWNPOD
รถยนต์ไฟฟ้าที่ถูกออกแบบให้สะดวกในการเข้าถึงพื้นที่ใช้สอยภายในตัวรถ โดยสามารถเปิดโล่งได้ทั้งด้านข้างและด้านหลัง

Car_5_5_1.jpg
Car_5_5.jpg


6.Toyota FCV-R

“FCV” ย่อมาจาก “Fuel Cell Vehicle” ส่วนตัว “R” ที่ต่อท้ายย่อมาจาก “Reality & Revolution” ยานยนต์ต้นแบบคันนี้ใช้เซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจนเป็นแหล่งพลังงาน โตโยต้าวางแผนว่าจะสามารถพัฒนาจนผลิตออกจำหน่ายได้จริงภายในปี 2015

Car_6_6.jpg


ทั้งหมดนี้คือส่วนหนึ่งของเทคโนโลยียานยนต์ที่เราอาจได้ใช้กันในอนาคต สิ่งที่เห็นได้ชัดคือผู้ผลิตรถยนต์ญี่ปุ่นต่างให้ความสำคัญกับการรักษาสิ่งแวดล้อมโดยการเน้นพัฒนารถยนต์ที่ใช้พลังงานสะอาด ไม่ว่าจะเป็นพลังงานจากเซลล์เชื้อเพลิงหรือจากพลังงานไฟฟ้า ในขณะเดียวกันก็ยังให้ความสำคัญกับความปลอดภัยและความสะดวกสบายควบคู่กันไปด้วย เชื่อว่าในอนาคตอันใกล้เราคงจะได้ใช้รถที่เรียกว่า “สมาร์ทคาร์” เช่นเดียวกับ “สมาร์ทโฟน” ที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้

เรื่องโดย : SuperBlack www.marumura.com

Unknown กล่าวว่า...

นางสาวสุพรรณิการณ์ เข็มทอง การบัญชี4/2 เลขที่56125210213
เทคโนโลยียานยนต์แห่งอนาคตHome > Japan Corner > เทคโนโลยียานยนต์แห่งอนาคต

NextPrevious
เทคโนโลยียานยนต์แห่งอนาคต

จากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีส่งผลให้เกิดแนวคิดและนวัตกรรมใหม่ๆ เกิดขึ้นมากมาย ในอุตสาหกรรมยานยนต์ญี่ปุ่นก็เช่นเดียวกัน บริษัทผู้ผลิตรถยนต์ต่างก็คิดค้นเทคโนโลยีใหม่ๆ มานำเสนอในรถต้นแบบของตน แนวโน้มรถยนต์ในวันข้างหน้าจะเป็นอย่างไรเราลองไปติดตามดูกันนะค่ะ

1.Honda EV-STER
ต้นแบบสปอร์ตเปิดประทุนขนาดเล็กขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้า โดยใช้มอเตอร์ไฟฟ้าขับเคลื่อนที่ล้อหลัง สามารถทำความเร็วสูงสุดที่ 160 กม./ชม. อัตราเร่ง 0-100 กม.ที่ 5 วินาที แหล่งพลังงานเป็นแบตเตอรี่ลิเธียมไอออนขนาด 10 กิโลวัตต์ ตัวถังรถทำจากคาร์บอนไฟเบอร์ทำให้รถมีน้ำหนักเบาและประหยัดพลังงาน


Car_1_1.jpg
Car_1_1_2.jpg


2. Mazda Takeri

สิ่งที่น่าสนใจใน Mazda Takeri คือ เทคโนโลยี i-ELOOP (Intelligent Energy Loop) ระบบแปลงพลังงานจลน์จากการเบรคเป็นพลังงานไฟฟ้าและนำไปสะสมไว้ที่ตัวเก็บประจุ ซึ่งพลังงานไฟฟ้าที่เก็บสะสมไว้นี้จะถูกนำไปเลี้ยงอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆภายในรถ เช่น เครื่องปรับอากาศ, ชุดเครื่องเสียงและอื่น ๆ ระบบนี้นับว่าเหมาะสมมากสำหรับรถที่ใช้งานในชีวิตประจำวันที่มีทั้งการเร่งและการเบรคบ่อยๆ มาสด้ากล่าวว่าเทคโนโลยี i-ELOOP นี้จะช่วยประหยัดเชื้อเพลิงเพิ่มขึ้นถึง 10%

หัวใจสำคัญของระบบ i-ELOOP คือ ตัวเก็บประจุแบบพิเศษที่เรียกว่า EDLC (Electric Double Layer Capacitor) ซึ่งสามารถเก็บพลังงานได้มากกว่าแบตเตอรี่ สามารถเก็บประจุและคายประจุได้อย่างรวดเร็ว มีอายุการใช้งานที่ยาวนานกว่าแบตเตอรี่ และทำให้ระบบ i-STOP สามารถหยุดเครื่องยนต์ระหว่างรถติดได้นานๆ โดยที่อุปกรณ์ไฟฟ้ายังทำงานอยู่และไม่ต้องกลัวว่าแบตเตอรี่จะหมด

เทคโนโลยี i-ELOOP นี้เป็นหนึ่งใน SKYACTIV TECHNOLOGY ซึ่งเป็นกลุ่มเทคโนโลยียุคใหม่ที่มาสด้าพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ในรถยนต์รุ่นใหม่ๆที่จะออกจำหน่ายตั้งแต่ปี 2012 เป็นต้นไป


Car_2_2.jpg

3.Mitsubishi EMIRAI

EMIRAI คิอระบบควบคุมและแสดงผลภายในห้องโดยสารที่ทันสมัยที่สุดที่มิตซูบิชิตั้งใจจะนำมาใช้ในรถยนต์ที่จะออกจำหน่ายในอนาคตอันใกล้ซึ่งคาดว่าจะสามารถนำมาใช้ได้จริงใน 10 ปีข้างหน้า ระบบดังกล่าวใช้จอแสดงผลแบบโปรเจคเตอร์ขนาดใหญ่ที่ออกแบบให้โค้งรับกับที่นั่งของผู้ขับขี่ สามารถแสดงข้อมูลต่างๆของรถ พร้อมทั้งยังมีกล้องอินฟราเรดและเซ็นเซอร์ที่จะตรวจวัดอุณหภูมิใบหน้าและอัตราการเต้นของหัวใจของผู้ขับขี่ ระบบปุ่มควบคุมและสั่งงานเป็นระบบสัมผัสแบบเดียวกับสมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ทในปัจจุบัน นอกจากนี้ที่นั่งผู้โดยสารด้านหลังยังมีจอแสดงผลแบบสามมิติที่สามารถดูได้ด้วยตาเปล่าโดยไม่ต้องสวมแว่น

Car_3_3.jpg

4.Nissan PIVO 3

ยานยนต์ไฟฟ้าอัจฉริยะที่จะช่วยอำนวยความสะดวกสบายแก่ผู้ขับขี่โดยมีระบบ Automated Valet Parking (AVP) สามารถนำรถเข้าที่จอดและชาร์จไฟได้เองโดยไม่ต้องมีคนขับ และวิ่งไปหาเจ้าของรถได้เมื่อถูกเรียกโดยสมาร์ทโฟน และเนื่องจากเป็นรถแบบ 3 ที่นั่งซึ่งมีความยาวไม่ถึง 3 เมตร ทำให้สามารถกลับรถบนถนนที่กว้างเพียง 4 เมตรได้อย่างสบาย


Car_4_4.jpg

5.Nissan TOWNPOD
รถยนต์ไฟฟ้าที่ถูกออกแบบให้สะดวกในการเข้าถึงพื้นที่ใช้สอยภายในตัวรถ โดยสามารถเปิดโล่งได้ทั้งด้านข้างและด้านหลัง

Car_5_5_1.jpg
Car_5_5.jpg


6.Toyota FCV-R

“FCV” ย่อมาจาก “Fuel Cell Vehicle” ส่วนตัว “R” ที่ต่อท้ายย่อมาจาก “Reality & Revolution” ยานยนต์ต้นแบบคันนี้ใช้เซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจนเป็นแหล่งพลังงาน โตโยต้าวางแผนว่าจะสามารถพัฒนาจนผลิตออกจำหน่ายได้จริงภายในปี 2015

Car_6_6.jpg


ทั้งหมดนี้คือส่วนหนึ่งของเทคโนโลยียานยนต์ที่เราอาจได้ใช้กันในอนาคต สิ่งที่เห็นได้ชัดคือผู้ผลิตรถยนต์ญี่ปุ่นต่างให้ความสำคัญกับการรักษาสิ่งแวดล้อมโดยการเน้นพัฒนารถยนต์ที่ใช้พลังงานสะอาด ไม่ว่าจะเป็นพลังงานจากเซลล์เชื้อเพลิงหรือจากพลังงานไฟฟ้า ในขณะเดียวกันก็ยังให้ความสำคัญกับความปลอดภัยและความสะดวกสบายควบคู่กันไปด้วย เชื่อว่าในอนาคตอันใกล้เราคงจะได้ใช้รถที่เรียกว่า “สมาร์ทคาร์” เช่นเดียวกับ “สมาร์ทโฟน” ที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้

เรื่องโดย : SuperBlack www.marumura.com

Unknown กล่าวว่า...

นางสาวสุพรรณิการณ์ เข็มทอง การบัญชี4/2 เลขที่56125210213
เทคโนโลยียานยนต์แห่งอนาคตHome > Japan Corner > เทคโนโลยียานยนต์แห่งอนาคต

NextPrevious
เทคโนโลยียานยนต์แห่งอนาคต

จากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีส่งผลให้เกิดแนวคิดและนวัตกรรมใหม่ๆ เกิดขึ้นมากมาย ในอุตสาหกรรมยานยนต์ญี่ปุ่นก็เช่นเดียวกัน บริษัทผู้ผลิตรถยนต์ต่างก็คิดค้นเทคโนโลยีใหม่ๆ มานำเสนอในรถต้นแบบของตน แนวโน้มรถยนต์ในวันข้างหน้าจะเป็นอย่างไรเราลองไปติดตามดูกันนะค่ะ

1.Honda EV-STER
ต้นแบบสปอร์ตเปิดประทุนขนาดเล็กขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้า โดยใช้มอเตอร์ไฟฟ้าขับเคลื่อนที่ล้อหลัง สามารถทำความเร็วสูงสุดที่ 160 กม./ชม. อัตราเร่ง 0-100 กม.ที่ 5 วินาที แหล่งพลังงานเป็นแบตเตอรี่ลิเธียมไอออนขนาด 10 กิโลวัตต์ ตัวถังรถทำจากคาร์บอนไฟเบอร์ทำให้รถมีน้ำหนักเบาและประหยัดพลังงาน


Car_1_1.jpg
Car_1_1_2.jpg


2. Mazda Takeri

สิ่งที่น่าสนใจใน Mazda Takeri คือ เทคโนโลยี i-ELOOP (Intelligent Energy Loop) ระบบแปลงพลังงานจลน์จากการเบรคเป็นพลังงานไฟฟ้าและนำไปสะสมไว้ที่ตัวเก็บประจุ ซึ่งพลังงานไฟฟ้าที่เก็บสะสมไว้นี้จะถูกนำไปเลี้ยงอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆภายในรถ เช่น เครื่องปรับอากาศ, ชุดเครื่องเสียงและอื่น ๆ ระบบนี้นับว่าเหมาะสมมากสำหรับรถที่ใช้งานในชีวิตประจำวันที่มีทั้งการเร่งและการเบรคบ่อยๆ มาสด้ากล่าวว่าเทคโนโลยี i-ELOOP นี้จะช่วยประหยัดเชื้อเพลิงเพิ่มขึ้นถึง 10%

หัวใจสำคัญของระบบ i-ELOOP คือ ตัวเก็บประจุแบบพิเศษที่เรียกว่า EDLC (Electric Double Layer Capacitor) ซึ่งสามารถเก็บพลังงานได้มากกว่าแบตเตอรี่ สามารถเก็บประจุและคายประจุได้อย่างรวดเร็ว มีอายุการใช้งานที่ยาวนานกว่าแบตเตอรี่ และทำให้ระบบ i-STOP สามารถหยุดเครื่องยนต์ระหว่างรถติดได้นานๆ โดยที่อุปกรณ์ไฟฟ้ายังทำงานอยู่และไม่ต้องกลัวว่าแบตเตอรี่จะหมด

เทคโนโลยี i-ELOOP นี้เป็นหนึ่งใน SKYACTIV TECHNOLOGY ซึ่งเป็นกลุ่มเทคโนโลยียุคใหม่ที่มาสด้าพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ในรถยนต์รุ่นใหม่ๆที่จะออกจำหน่ายตั้งแต่ปี 2012 เป็นต้นไป


Car_2_2.jpg

3.Mitsubishi EMIRAI

EMIRAI คิอระบบควบคุมและแสดงผลภายในห้องโดยสารที่ทันสมัยที่สุดที่มิตซูบิชิตั้งใจจะนำมาใช้ในรถยนต์ที่จะออกจำหน่ายในอนาคตอันใกล้ซึ่งคาดว่าจะสามารถนำมาใช้ได้จริงใน 10 ปีข้างหน้า ระบบดังกล่าวใช้จอแสดงผลแบบโปรเจคเตอร์ขนาดใหญ่ที่ออกแบบให้โค้งรับกับที่นั่งของผู้ขับขี่ สามารถแสดงข้อมูลต่างๆของรถ พร้อมทั้งยังมีกล้องอินฟราเรดและเซ็นเซอร์ที่จะตรวจวัดอุณหภูมิใบหน้าและอัตราการเต้นของหัวใจของผู้ขับขี่ ระบบปุ่มควบคุมและสั่งงานเป็นระบบสัมผัสแบบเดียวกับสมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ทในปัจจุบัน นอกจากนี้ที่นั่งผู้โดยสารด้านหลังยังมีจอแสดงผลแบบสามมิติที่สามารถดูได้ด้วยตาเปล่าโดยไม่ต้องสวมแว่น

Car_3_3.jpg

4.Nissan PIVO 3

ยานยนต์ไฟฟ้าอัจฉริยะที่จะช่วยอำนวยความสะดวกสบายแก่ผู้ขับขี่โดยมีระบบ Automated Valet Parking (AVP) สามารถนำรถเข้าที่จอดและชาร์จไฟได้เองโดยไม่ต้องมีคนขับ และวิ่งไปหาเจ้าของรถได้เมื่อถูกเรียกโดยสมาร์ทโฟน และเนื่องจากเป็นรถแบบ 3 ที่นั่งซึ่งมีความยาวไม่ถึง 3 เมตร ทำให้สามารถกลับรถบนถนนที่กว้างเพียง 4 เมตรได้อย่างสบาย


Car_4_4.jpg

5.Nissan TOWNPOD
รถยนต์ไฟฟ้าที่ถูกออกแบบให้สะดวกในการเข้าถึงพื้นที่ใช้สอยภายในตัวรถ โดยสามารถเปิดโล่งได้ทั้งด้านข้างและด้านหลัง

Car_5_5_1.jpg
Car_5_5.jpg


6.Toyota FCV-R

“FCV” ย่อมาจาก “Fuel Cell Vehicle” ส่วนตัว “R” ที่ต่อท้ายย่อมาจาก “Reality & Revolution” ยานยนต์ต้นแบบคันนี้ใช้เซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจนเป็นแหล่งพลังงาน โตโยต้าวางแผนว่าจะสามารถพัฒนาจนผลิตออกจำหน่ายได้จริงภายในปี 2015

Car_6_6.jpg


ทั้งหมดนี้คือส่วนหนึ่งของเทคโนโลยียานยนต์ที่เราอาจได้ใช้กันในอนาคต สิ่งที่เห็นได้ชัดคือผู้ผลิตรถยนต์ญี่ปุ่นต่างให้ความสำคัญกับการรักษาสิ่งแวดล้อมโดยการเน้นพัฒนารถยนต์ที่ใช้พลังงานสะอาด ไม่ว่าจะเป็นพลังงานจากเซลล์เชื้อเพลิงหรือจากพลังงานไฟฟ้า ในขณะเดียวกันก็ยังให้ความสำคัญกับความปลอดภัยและความสะดวกสบายควบคู่กันไปด้วย เชื่อว่าในอนาคตอันใกล้เราคงจะได้ใช้รถที่เรียกว่า “สมาร์ทคาร์” เช่นเดียวกับ “สมาร์ทโฟน” ที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้

เรื่องโดย : SuperBlack www.marumura.com

Unknown กล่าวว่า...

นายสุรวุฒิ แพนสิงห์ สาขาวิชาการบัญชี รหัส 56125210215
http://www.ryt9.com/s/prg/2116868
โซนี่ ร่วมออกบู๊ธจัดแสดงเทคโนโลยีล่าสุดในงาน Motor Show 2015
บริษัท โซนี่ ไทย จำกัด เตรียมจัดแสดงผลิตภัณฑ์ และเทคโนโลยีล่าสุดที่งาน Bangkok International Motor Show 2015 ณ อาคารชาเลนเจอร์ 3 บู๊ธ D02 อิมแพค เมืองทองธานี ศูนย์แสดงสินค้า และการประชุม อิมแพค เมืองทองธานี ได้ตั้งแต่วันที่ 25 มีนาคม ถึง 5 เมษายน ศกนี้พบกับผลิตภัณฑ์ และเทคโนโลยีล่าสุดของเครื่องเสียงรถยนต์ อาทิ ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ ชุดฟร้อนท์ระดับไฮเรสออดิโอ ซึ่งนำมาจัดแสดงเป็นครั้งแรกในเอเซีย ส่งตรงจากงาน CES 2015 และการเปิดตัวครั้งแรกของ เครื่องเล่นวิทยุซีดีในรถยนต์กำลังขับสูงถึง 100 วัตต์ในตัว เครื่องแรกในโลกที่ให้เสียงกระหึ่มทรงพลังโดยไม่ต้องต่อแอมป์พลิฟลายเออร์เพิ่มเติม นอกจากนี้ ยังมีการจัดแสดงผลิตภัณฑ์เครื่องเสียงพกพาระดับไฮเรสออดิโอ และกล้อง Action Cam และเร้าใจกับโปรโมชั่นราคาพิเศษ พร้อมของสมนาคุณสุดคุ้มภายในงาน ตลอดจนกิจกรรมอื่น ๆ อีกมากมาย

Unknown กล่าวว่า...

นายสุรวุฒิ แพนสิงห์ สาขาวิชาการบัญชี รหัส56125210215
http://www.ryt9.com/s/prg/2116868
โซนี่ ร่วมออกบู๊ธจัดแสดงเทคโนโลยีล่าสุดในงาน Motor Show 2015
บริษัท โซนี่ ไทย จำกัด เตรียมจัดแสดงผลิตภัณฑ์ และเทคโนโลยีล่าสุดที่งาน Bangkok International Motor Show 2015 ณ อาคารชาเลนเจอร์ 3 บู๊ธ D02 อิมแพค เมืองทองธานี ศูนย์แสดงสินค้า และการประชุม อิมแพค เมืองทองธานี ได้ตั้งแต่วันที่ 25 มีนาคม ถึง 5 เมษายน ศกนี้พบกับผลิตภัณฑ์ และเทคโนโลยีล่าสุดของเครื่องเสียงรถยนต์ อาทิ ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ ชุดฟร้อนท์ระดับไฮเรสออดิโอ ซึ่งนำมาจัดแสดงเป็นครั้งแรกในเอเซีย ส่งตรงจากงาน CES 2015 และการเปิดตัวครั้งแรกของ เครื่องเล่นวิทยุซีดีในรถยนต์กำลังขับสูงถึง 100 วัตต์ในตัว เครื่องแรกในโลกที่ให้เสียงกระหึ่มทรงพลังโดยไม่ต้องต่อแอมป์พลิฟลายเออร์เพิ่มเติม นอกจากนี้ ยังมีการจัดแสดงผลิตภัณฑ์เครื่องเสียงพกพาระดับไฮเรสออดิโอ และกล้อง Action Cam และเร้าใจกับโปรโมชั่นราคาพิเศษ พร้อมของสมนาคุณสุดคุ้มภายในงาน ตลอดจนกิจกรรมอื่น ๆ อีกมากมาย

Unknown กล่าวว่า...

นายสุรวุฒิ แพนสิงห์ สาขาวิชาการบัญชี รหัส56125210215
http://www.ryt9.com/s/prg/2116868
โซนี่ ร่วมออกบู๊ธจัดแสดงเทคโนโลยีล่าสุดในงาน Motor Show 2015
บริษัท โซนี่ ไทย จำกัด เตรียมจัดแสดงผลิตภัณฑ์ และเทคโนโลยีล่าสุดที่งาน Bangkok International Motor Show 2015 ณ อาคารชาเลนเจอร์ 3 บู๊ธ D02 อิมแพค เมืองทองธานี ศูนย์แสดงสินค้า และการประชุม อิมแพค เมืองทองธานี ได้ตั้งแต่วันที่ 25 มีนาคม ถึง 5 เมษายน ศกนี้พบกับผลิตภัณฑ์ และเทคโนโลยีล่าสุดของเครื่องเสียงรถยนต์ อาทิ ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ ชุดฟร้อนท์ระดับไฮเรสออดิโอ ซึ่งนำมาจัดแสดงเป็นครั้งแรกในเอเซีย ส่งตรงจากงาน CES 2015 และการเปิดตัวครั้งแรกของ เครื่องเล่นวิทยุซีดีในรถยนต์กำลังขับสูงถึง 100 วัตต์ในตัว เครื่องแรกในโลกที่ให้เสียงกระหึ่มทรงพลังโดยไม่ต้องต่อแอมป์พลิฟลายเออร์เพิ่มเติม นอกจากนี้ ยังมีการจัดแสดงผลิตภัณฑ์เครื่องเสียงพกพาระดับไฮเรสออดิโอ และกล้อง Action Cam และเร้าใจกับโปรโมชั่นราคาพิเศษ พร้อมของสมนาคุณสุดคุ้มภายในงาน ตลอดจนกิจกรรมอื่น ๆ อีกมากมาย

Unknown กล่าวว่า...

นายสุรวุฒิ แพนสิงห์ สาขาวิชาการบัญชี รหัส56125210215
http://www.ryt9.com/s/prg/2116868
โซนี่ ร่วมออกบู๊ธจัดแสดงเทคโนโลยีล่าสุดในงาน Motor Show 2015
บริษัท โซนี่ ไทย จำกัด เตรียมจัดแสดงผลิตภัณฑ์ และเทคโนโลยีล่าสุดที่งาน Bangkok International Motor Show 2015 ณ อาคารชาเลนเจอร์ 3 บู๊ธ D02 อิมแพค เมืองทองธานี ศูนย์แสดงสินค้า และการประชุม อิมแพค เมืองทองธานี ได้ตั้งแต่วันที่ 25 มีนาคม ถึง 5 เมษายน ศกนี้พบกับผลิตภัณฑ์ และเทคโนโลยีล่าสุดของเครื่องเสียงรถยนต์ อาทิ ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ ชุดฟร้อนท์ระดับไฮเรสออดิโอ ซึ่งนำมาจัดแสดงเป็นครั้งแรกในเอเซีย ส่งตรงจากงาน CES 2015 และการเปิดตัวครั้งแรกของ เครื่องเล่นวิทยุซีดีในรถยนต์กำลังขับสูงถึง 100 วัตต์ในตัว เครื่องแรกในโลกที่ให้เสียงกระหึ่มทรงพลังโดยไม่ต้องต่อแอมป์พลิฟลายเออร์เพิ่มเติม นอกจากนี้ ยังมีการจัดแสดงผลิตภัณฑ์เครื่องเสียงพกพาระดับไฮเรสออดิโอ และกล้อง Action Cam และเร้าใจกับโปรโมชั่นราคาพิเศษ พร้อมของสมนาคุณสุดคุ้มภายในงาน ตลอดจนกิจกรรมอื่น ๆ อีกมากมาย

Unknown กล่าวว่า...

นายสุรวุฒิ แพนสิงห์ สาขาวิชาการบัญชี รหัส 56125210215
http://www.ryt9.com/s/prg/2116868
โซนี่ ร่วมออกบู๊ธจัดแสดงเทคโนโลยีล่าสุดในงาน Motor Show 2015
บริษัท โซนี่ ไทย จำกัด เตรียมจัดแสดงผลิตภัณฑ์ และเทคโนโลยีล่าสุดที่งาน Bangkok International Motor Show 2015 ณ อาคารชาเลนเจอร์ 3 บู๊ธ D02 อิมแพค เมืองทองธานี ศูนย์แสดงสินค้า และการประชุม อิมแพค เมืองทองธานี ได้ตั้งแต่วันที่ 25 มีนาคม ถึง 5 เมษายน ศกนี้พบกับผลิตภัณฑ์ และเทคโนโลยีล่าสุดของเครื่องเสียงรถยนต์ อาทิ ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ ชุดฟร้อนท์ระดับไฮเรสออดิโอ ซึ่งนำมาจัดแสดงเป็นครั้งแรกในเอเซีย ส่งตรงจากงาน CES 2015 และการเปิดตัวครั้งแรกของ เครื่องเล่นวิทยุซีดีในรถยนต์กำลังขับสูงถึง 100 วัตต์ในตัว เครื่องแรกในโลกที่ให้เสียงกระหึ่มทรงพลังโดยไม่ต้องต่อแอมป์พลิฟลายเออร์เพิ่มเติม นอกจากนี้ ยังมีการจัดแสดงผลิตภัณฑ์เครื่องเสียงพกพาระดับไฮเรสออดิโอ และกล้อง Action Cam และเร้าใจกับโปรโมชั่นราคาพิเศษ พร้อมของสมนาคุณสุดคุ้มภายในงาน ตลอดจนกิจกรรมอื่น ๆ อีกมากมาย

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นางสาวอนุชิฎา อินทร์ตา
รหัสนักศึกษา 56191880219
สาขา การประถมศึกษา

ระบบ 4G คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร


ระบบ 4G คือระบบสื่อสารไร้สายความเร็วสูงยุคที่ 4 ซึ่งเป็นระบบที่สามารถรับส่งข้อมูลได้เร็วมาก สูงสุดถึง 100 Mbps
ในขณะประเทศไทยกำลังตื่นเต้นกับระบบ 3G คลื่น 2100 MHz ที่เพิ่มประมูลไปเมื่อปี พ.ศ. 2555 โดยมีผู้ได้รับใบอนุญาต 3 ราย คือ DTAC, AIS และ True ปรากฏว่า DTAC และ AIS นำคลื่นที่ประมูลได้ไปสร้างระบบ 3G ในขณะที่ TRUE นำคลื่นดังกล่าวไปทำระบบ 4G

ระบบ 3G นั้นสามารถทำให้เราใช้ระบบไร้สายความเร็วสูงได้เป็นอย่างดี บางระบบความเร็วสูงถึง 72 Mbps แต่ว่าระบบ 3G ทั่วไปที่เราใช้อยู่ยังไม่สามารถทำงานบางอย่างได้ดีนัก เช่น การรับชมวิดีโอระดับความละเอียดสูง (High Definition) การเรียนการสอนทางไกล และการผ่าตัดผ่านระบบวิดีโอความละเอียดสูง เป็นต้น
ดังนั้นระบบ 4G ได้เข้ามาช่วยเสริมระบบ 3G ในจุดที่ยังทำงานได้ไม่ดีเท่าที่ควรนั่นเอง
ระบบ 4G ที่นิยมใช้กันมีอยู่ 2 ระบบย่อย คือระบบ LTE (Long Term Evolution) และระบบ Wi-MAX ซึ่งระบบ LTE ได้รับความสูงกว่าและใช้กันทั่วโลก ในขณะที่ระบบ Wi-MAX นิยมใช้กันในบางประเทศเท่านั้น เช่น ญี่ปุ่น ไต้หวัน และบังกลาเทศ เป็นต้น

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ชื่อ นางสาวนัยนา นพพิบูลย์
รหัส 56191880244
สาขาการประถมศึกษา
เทคโนโลยีดาวเทียมกับการจัดการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลนั้น เน้นการศึกษาด้วยตนเอง ผู้เรียนจะเลือกเรียนและเลือกใช้สื่อที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ของตนเอง ระบบการจัดการศึกษาทางไกลจึงต้องมีการจัดการที่เป็นระบบ มีขั้นตอนที่ชัดเจนและมีคุณภาพเป็นที่แน่ใจว่าผู้เรียนจะเกิดผลสัมฤทธ์ทางการเรียนตามมาตรฐานทางวิชาการ เช่นเดียวกับการศึกษาในรูปแบบอื่น ๆ
อาจกล่าวได้ว่า การศึกษาทางไกลมีพัฒนาการมาอย่างยาวนาน ตั้งแต่ พ.ศ. 2379 ที่เริ่มมีการให้ปริญญาภายนอกของมหาวิทยาลัยลอนดอน ซึ่งต่อมาได้พัฒนาเป็นการสอนทางไปรษณีย์และได้พัฒนาใช้สื่อประเภทต่าง ๆ ได้แก่ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ ต่อมาเมื่อมีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยเปิดขึ้นในประเทศอังกฤษ ซึ่งใช้สื่อประสม หลังจากนั้นการศึกษาทางไกลก็ได้ขยายแนวความคิดกระจายออกไปยังภูมิภาค
จากการที่ประเทศไทย มีดาวเทียมแห่งชาติ คือ ไทยคม 1 ซึ่งมีช่องสัญญาณในระบบ KU-Band และมีระบบรับส่งสัญญาณด้วย Digital Technology ซึ่งมีประสิทธิภาพในการส่งสัญญาณได้คมชัดกว่าระบบอื่น บริษัทชินวัตร แซทเทลไลท์ จำกัด โดยผ่านมูลนิธิไทยคม เห็นความสำคัญของการพัฒนาด้านทรัพยากรมนุษย์ และเพื่อเป็นการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีดาวเทียมสำหรับจัดการศึกษาทางไกล จึงได้มีการลงนามในบันทึกข้อตกลงระหว่างมูลนิธิไทยคม และกระทรวงศึกษาธิการ ตามข้อตกลงมูลนิธิไทยคม จะให้ความช่วยเหลือแก่กระทรวงศึกษาธิการ ในการใช้ดาวเทียมเพื่อการศึกษาทางไกล จำนวน 1 ช่องสัญญาณ พร้อมทั้งสนับสนุนชุดอุปกรณ์รับ

การศึกษาทางไกลเข้ามามีบทบาทในการจัดการศึกษาในประเทศไทยปี พ.ศ. 2518 โดยแบ่งลักษณะของการพัฒนาการศึกษาออกเป็น 2 ระดับ คือ การศึกษาทางไกลระดับต่ำกว่าอุดมศึกษา และการศึกษาทางไกลระดับอุดมศึกษา อาจกล่าวได้ว่า กรมการศึกษานอกโรงเรียนได้รับผิดชอบการศึกษาทางไกล ในระดับต่ำกว่าอุดมศึกษา ซึ่งแต่เดิมกรมการศึกษานอกโรงเรียนได้จัดการศึกษาทางไกล โดยมีสื่อพิมพ์เป็นสื่อหลัก และเสริมด้วยรายการวิทยุกระจายเสียง ให้แก่นักศึกษาผู้ใหญ่ นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนได้ฟังและใช้บทเรียนทางวิทยุบ้าง ไม่ได้ใช้บ้าง บางคนอ้างว่า ไม่มีเวลาที่จะติดตามฟัง บทเรียนทางวิทยุมีเฉพาะเสียงอย่างเดียว ไม่ค่อยน่าสนใจฟัง ในปัจจุบันสื่อโทรทัศน์มีบทบาทต่อชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทยมากขึ้นเรื่อย ๆ สื่อที่มีทั้งภาพและเสียงมีข้อได้เปรียบในการสอนเนื้อหาวิชาต่าง ๆ ได้ชัดเจน สื่อโทรทัศน์ส่วนใหญ่ผูกพันอยู่กับวงการธุรกิจโฆษณา และความบันเทิง การเช่าเวลาจากสถานีโทรทัศน์ที่มีอยู่ต้องเสียค่าใช้จ่ายสูงมาก และที่สำคัญทางสถานีไม่อาจจะจัดสรรเวลาให้ตามที่หน่วยงานทางการศึกษาต้องการได้
การศึกษาผ่านดาวเทียมครั้งแรก คือ เมื่อวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ 12สิงหาคม 2537 โดยออกอากาศในระบบส่งตรงถึงผู้ชม (Direct to home : DTH) การออกอากาศในระบบนี้เป็นการส่งสัญญาณโทรทัศน์ขึ้นสู่ดาวเทียม จากนั้นสัญญาณจะถูกส่งจากดาวเทียมมายังอุปกรณ์รับสัญญาณซึ่งติดตั้งอยู่ที่จุดติดตั้งอุปกรณ์รับสัญญาณ ชุดอุปกรณ์ประกอบด้วย

1. จานรับสัญญาณดาวเทียม (Dish Antenna) พร้อมตัวรวมสัญญาณ (Low Noise Block and Feedhorn : LNBF)
2. เครื่องรับสัญญาณดาวเทียม (Integrated Receiver and Decoder : IRD)
3. เครื่องรับโทรทัศน์ (T.V. Monitor)

Unknown กล่าวว่า...
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
Unknown กล่าวว่า...

นางสาวอนุชิฎา อินทร์ตา
รหัสนักศึกษา 56191880219
สาขาการประถมศึกษา

ระบบ 4G คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร

ระบบ 4G คือระบบสื่อสารไร้สายความเร็วสูงยุคที่ 4 ซึ่งเป็นระบบที่สามารถรับส่งข้อมูลได้เร็วมาก สูงสุดถึง 100 Mbps
ในขณะประเทศไทยกำลังตื่นเต้นกับระบบ 3G คลื่น 2100 MHz ที่เพิ่มประมูลไปเมื่อปี พ.ศ. 2555 โดยมีผู้ได้รับใบอนุญาต 3 ราย คือ DTAC, AIS และ True ปรากฏว่า DTAC และ AIS นำคลื่นที่ประมูลได้ไปสร้างระบบ 3G ในขณะที่ TRUE นำคลื่นดังกล่าวไปทำระบบ 4G
ระบบ 4G
ระบบ 3G นั้นสามารถทำให้เราใช้ระบบไร้สายความเร็วสูงได้เป็นอย่างดี บางระบบความเร็วสูงถึง 72 Mbps แต่ว่าระบบ 3G ทั่วไปที่เราใช้อยู่ยังไม่สามารถทำงานบางอย่างได้ดีนัก เช่น การรับชมวิดีโอระดับความละเอียดสูง (High Definition) การเรียนการสอนทางไกล และการผ่าตัดผ่านระบบวิดีโอความละเอียดสูง เป็นต้น
ดังนั้นระบบ 4G ได้เข้ามาช่วยเสริมระบบ 3G ในจุดที่ยังทำงานได้ไม่ดีเท่าที่ควรนั่นเอง
ระบบ 4G ที่นิยมใช้กันมีอยู่ 2 ระบบย่อย คือระบบ LTE (Long Term Evolution) และระบบ Wi-MAX ซึ่งระบบ LTE ได้รับความสูงกว่าและใช้กันทั่วโลก ในขณะที่ระบบ Wi-MAX นิยมใช้กันในบางประเทศเท่านั้น เช่น ญี่ปุ่น ไต้หวัน และบังกลาเทศ เป็นต้น


อ้างอิง http://www.xn--12cg1cxchd0a2gzc1c5d5a.net/ระบบ-4g-คืออะไร-มีประโยชน์อย่างไร/

Unknown กล่าวว่า...

นางสาวอนุชิฎา อินทร์ตา
รหัสนักศึกษา 56191880219
สาขา การประถมศึกษา

ระบบ 4G คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร

ระบบ 4G คือระบบสื่อสารไร้สายความเร็วสูงยุคที่ 4 ซึ่งเป็นระบบที่สามารถรับส่งข้อมูลได้เร็วมาก สูงสุดถึง 100 Mbps
ในขณะประเทศไทยกำลังตื่นเต้นกับระบบ 3G คลื่น 2100 MHz ที่เพิ่มประมูลไปเมื่อปี พ.ศ. 2555 โดยมีผู้ได้รับใบอนุญาต 3 ราย คือ DTAC, AIS และ True ปรากฏว่า DTAC และ AIS นำคลื่นที่ประมูลได้ไปสร้างระบบ 3G ในขณะที่ TRUE นำคลื่นดังกล่าวไปทำระบบ 4G
ระบบ 4G
ระบบ 3G นั้นสามารถทำให้เราใช้ระบบไร้สายความเร็วสูงได้เป็นอย่างดี บางระบบความเร็วสูงถึง 72 Mbps แต่ว่าระบบ 3G ทั่วไปที่เราใช้อยู่ยังไม่สามารถทำงานบางอย่างได้ดีนัก เช่น การรับชมวิดีโอระดับความละเอียดสูง (High Definition) การเรียนการสอนทางไกล และการผ่าตัดผ่านระบบวิดีโอความละเอียดสูง เป็นต้น
ดังนั้นระบบ 4G ได้เข้ามาช่วยเสริมระบบ 3G ในจุดที่ยังทำงานได้ไม่ดีเท่าที่ควรนั่นเอง
ระบบ 4G ที่นิยมใช้กันมีอยู่ 2 ระบบย่อย คือระบบ LTE (Long Term Evolution) และระบบ Wi-MAX ซึ่งระบบ LTE ได้รับความสูงกว่าและใช้กันทั่วโลก ในขณะที่ระบบ Wi-MAX นิยมใช้กันในบางประเทศเท่านั้น เช่น ญี่ปุ่น ไต้หวัน และบังกลาเทศ เป็นต้น

อ้างอิง http://www.xn--12cg1cxchd0a2gzc1c5d5a.net/ระบบ-4g-คืออะไร-มีประโยชน์อย่างไร/

Unknown กล่าวว่า...

นางสาวอนุชิฎา อินทร์ตา
รหัสนักศึกษา 56191880219
สาขา การประถมศึกษา

ระบบ 4G คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร

ระบบ 4G คือระบบสื่อสารไร้สายความเร็วสูงยุคที่ 4 ซึ่งเป็นระบบที่สามารถรับส่งข้อมูลได้เร็วมาก สูงสุดถึง 100 Mbps
ในขณะประเทศไทยกำลังตื่นเต้นกับระบบ 3G คลื่น 2100 MHz ที่เพิ่มประมูลไปเมื่อปี พ.ศ. 2555 โดยมีผู้ได้รับใบอนุญาต 3 ราย คือ DTAC, AIS และ True ปรากฏว่า DTAC และ AIS นำคลื่นที่ประมูลได้ไปสร้างระบบ 3G ในขณะที่ TRUE นำคลื่นดังกล่าวไปทำระบบ 4G
ระบบ 4G
ระบบ 3G นั้นสามารถทำให้เราใช้ระบบไร้สายความเร็วสูงได้เป็นอย่างดี บางระบบความเร็วสูงถึง 72 Mbps แต่ว่าระบบ 3G ทั่วไปที่เราใช้อยู่ยังไม่สามารถทำงานบางอย่างได้ดีนัก เช่น การรับชมวิดีโอระดับความละเอียดสูง (High Definition) การเรียนการสอนทางไกล และการผ่าตัดผ่านระบบวิดีโอความละเอียดสูง เป็นต้น
ดังนั้นระบบ 4G ได้เข้ามาช่วยเสริมระบบ 3G ในจุดที่ยังทำงานได้ไม่ดีเท่าที่ควรนั่นเอง
ระบบ 4G ที่นิยมใช้กันมีอยู่ 2 ระบบย่อย คือระบบ LTE (Long Term Evolution) และระบบ Wi-MAX ซึ่งระบบ LTE ได้รับความสูงกว่าและใช้กันทั่วโลก ในขณะที่ระบบ Wi-MAX นิยมใช้กันในบางประเทศเท่านั้น เช่น ญี่ปุ่น ไต้หวัน และบังกลาเทศ เป็นต้น

อ้างอิง http://www.xn--12cg1cxchd0a2gzc1c5d5a.net/ระบบ-4g-คืออะไร-มีประโยชน์อย่างไร/

Unknown กล่าวว่า...

ดังที่ทราบกันแล้วว่านาโนเทคโนโลยีไม่ใช่เรื่องเหลวไหลที่ไม่สามารถที่จะเป็นไปได้ อีกทั้งยังเป็นเทคโนโลยีที่ได้เกิดขึ้นแล้วและมีการนำมาประยุกต์ใช้งานด้านต่างๆ แล้วอีกด้วย แล้วก็ยังมีการพัฒนารูปแบบหรือวิธีการทางเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นแล้วรูปแบบของนาโนเทคโนโลยีที่จะเกิดขึ้นในอนาคตเป็นสิ่งที่ยากจะทำนายได้ เนื่องจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีนั้น อาจกล่าวได้ว่ามีลักษณะการพัฒนาคล้ายวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย คือเมื่อเกิดขึ้นมาแล้ว ก็จะมีการปรับเปลี่ยนให้แตกต่างออกไปตามแต่ละช่วงเวลา จากนั้นก็จะแข่งขันกันขยายเผ่าพันธุ์ออกไป ลักษณะของเทคโนโลยีที่ขาดความสามารถในการแข่งขันก็จะค่อยๆ ลดจำนวนลงไป จนในที่สุดจะเหลือแต่กลุ่มของเทคโนโลยีที่สามารถรอดพ้นจากการสูญพันธุ์ที่จะอยู่ได้ ด้วยเหตุนี้จึงยากต่อการทำนายว่าทิศทางในอนาคตของนาโนเทคโนโลยีจะเป็นอย่างไรต่อไป แต่จากความรู้ความเข้าใจที่มากขึ้นในวิถีทางของนาโนเทคโนโลยีที่มีอยู่แล้วในธรรมชาติอันน่ามหัศจรรย์นั้น มีความเป็นไปได้ว่าในอนาคตเราอาจจะยึดแนวทางของนาโนเทคโนโลยีที่มีอยู่แล้วในธรรมชาติ เป็นตัวนำทางเพื่อนำไปสู่นาโนเทคโนโลยีฝีมือมนุษย์ที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดในอนาคตก็เป็นได้

แต่บางครั้งเราก็อาจจะทำนายหรือคาดการณ์อนาคตของนาโนเทคโนโลยีอย่างง่ายๆ ได้ เช่น ในอนคตคอมพิวเตอร์ที่เราใช้อาจจะสามารถเก็บข้อมูลได้มากขึ้นและประมวลผลได้รวดเร็วขึ้น วัสดุต่างๆ ที่นำมาใช้ประโยชน์อาจจะมีความแข็งแรง ทนทาน ยืดหยุ่นมากขึ้นเพื่อตอบสนองต่อลักษณะการใช้งาน การรักษาโรคร้ายต่างๆ จะมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้ป่วยมากยิ่งขึ้น เป็นต้น ซึ่งนาโนเทคโนโลยีสามารถที่จะก่อให้เกิดความเป็นไปได้ต่างๆ ที่ในปัจจุบันนี้ยังไม่สามารถที่จะทำได้อีกมากมายหลากหลายด้านก็เป็นได้

Unknown กล่าวว่า...

นางสาวเสาวลักษณ์ เช่นชาย
สาขาการประถมศึกษา
รหัส56191880235
ดังที่ทราบกันแล้วว่านาโนเทคโนโลยีไม่ใช่เรื่องเหลวไหลที่ไม่สามารถที่จะเป็นไปได้ อีกทั้งยังเป็นเทคโนโลยีที่ได้เกิดขึ้นแล้วและมีการนำมาประยุกต์ใช้งานด้านต่างๆ แล้วอีกด้วย แล้วก็ยังมีการพัฒนารูปแบบหรือวิธีการทางเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นแล้วรูปแบบของนาโนเทคโนโลยีที่จะเกิดขึ้นในอนาคตเป็นสิ่งที่ยากจะทำนายได้ เนื่องจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีนั้น อาจกล่าวได้ว่ามีลักษณะการพัฒนาคล้ายวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย คือเมื่อเกิดขึ้นมาแล้ว ก็จะมีการปรับเปลี่ยนให้แตกต่างออกไปตามแต่ละช่วงเวลา จากนั้นก็จะแข่งขันกันขยายเผ่าพันธุ์ออกไป ลักษณะของเทคโนโลยีที่ขาดความสามารถในการแข่งขันก็จะค่อยๆ ลดจำนวนลงไป จนในที่สุดจะเหลือแต่กลุ่มของเทคโนโลยีที่สามารถรอดพ้นจากการสูญพันธุ์ที่จะอยู่ได้ ด้วยเหตุนี้จึงยากต่อการทำนายว่าทิศทางในอนาคตของนาโนเทคโนโลยีจะเป็นอย่างไรต่อไป แต่จากความรู้ความเข้าใจที่มากขึ้นในวิถีทางของนาโนเทคโนโลยีที่มีอยู่แล้วในธรรมชาติอันน่ามหัศจรรย์นั้น มีความเป็นไปได้ว่าในอนาคตเราอาจจะยึดแนวทางของนาโนเทคโนโลยีที่มีอยู่แล้วในธรรมชาติ เป็นตัวนำทางเพื่อนำไปสู่นาโนเทคโนโลยีฝีมือมนุษย์ที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดในอนาคตก็เป็นได้

แต่บางครั้งเราก็อาจจะทำนายหรือคาดการณ์อนาคตของนาโนเทคโนโลยีอย่างง่ายๆ ได้ เช่น ในอนคตคอมพิวเตอร์ที่เราใช้อาจจะสามารถเก็บข้อมูลได้มากขึ้นและประมวลผลได้รวดเร็วขึ้น วัสดุต่างๆ ที่นำมาใช้ประโยชน์อาจจะมีความแข็งแรง ทนทาน ยืดหยุ่นมากขึ้นเพื่อตอบสนองต่อลักษณะการใช้งาน การรักษาโรคร้ายต่างๆ จะมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้ป่วยมากยิ่งขึ้น เป็นต้น ซึ่งนาโนเทคโนโลยีสามารถที่จะก่อให้เกิดความเป็นไปได้ต่างๆ ที่ในปัจจุบันนี้ยังไม่สามารถที่จะทำได้อีกมากมายหลากหลายด้านก็เป็นได้
http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/nano/Page/Unit6-1.html

Unknown กล่าวว่า...

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
ใน สังคมปัจจุบันไม่ว่าใครจะอยู่ที่ใด แม้ในเมืองหรือชนบทก็ตาม ย่อมมีการติดต่อสื่อสารกับบุคคลหรือสังคมอื่นอยู่เสมอไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็นหรือการรับรู้ข้อมูลข่าวสารในชีวิตประจำ วันด้วยสื่อต่าง ๆ เช่นวิทยุโทรทัศน์ โทรศัพท์ โทรสาร ล้วนเป็นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทั้งสิ้น นอกจากนี้ยังใช้เทคโนโลยีเครื่องมือหรือกลไกเพื่ออำนวยความสะดวก เช่น การถอนเงินจากเครื่องจ่ายเงินอัตโนมัติ การสแกนลายนิ้วมือการเข้าปฏิบัติงานในสำนักงาน การจ่ายค่าโดยสารรถไฟฟ้าผ่านบัตรแถบแม่เหล็ก เป็นต้น
อ้างอิง_http://gangza-yui01.blogspot.com/p/blog-page_2734.html?m=1
นางสาวเมวิกา วาลีประโคน 56128040209
รัฐประศาสนศาสตร์ (การปกครองท้องถิ่น)หมู่2

Unknown กล่าวว่า...

นางสาว วรรณิศา แก้วเหลี่ยม การบัญชี รหัส 56125210146
กล้องแคปซูล (Capsule Endoscopy)
กล้องแคปซูล Capsule Endoscopyกล้องแคปซูล Capsule Endoscopyกล้องแคปซูล Capsule Endoscopy
กล้องแคปซูล (Capsule Endoscopy) คืออะไร?
กล้องแคปซูล (Capsule Endoscopy) คือ นวัตกรรมทางการแพทย์สมัยใหม่ที่ใช้ในการตรวจวินิจฉัย โรคในระบบทางเดินอาหาร กล้องชนิดนี้สามารถตรวจได้ถึงส่วนที่ลึกที่สุดของลำไส้เล็ก ในจุดที่การส่องกล้องทั่วไปเข้าไม่ถึง สามารถให้้ผลการตรวจที่ละเอียด ถูกต้อง แม่นยำ และมีประสิทธิภาพ
อุปกรณ์หรือกล้องสำรวจทางเดินอาหารมีขนาดใหญ่ใกล้เคียงกับยาเม็ดชนิดแคปซูล ทำให้สามารถกลืนได้สะดวกและปลอดภัย กระบวนการตรวจเริ่มจากให้คนไข้กลืน กล้องแคปซูล พร้อมกับน้ำ กล้องจะเคลื่อนที่ไปตามส่วนต่างๆ ของระบบทางเดินอาหารตั้งแต่หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลำไส้เล็ก จนสิ้นสุดที่ลำไส้ใหญ่
จากนั้นกล้องแคปซูลนี้จะออกมาพร้อมกับการถ่ายอุจจาระ ซึ่งไม่ทำให้เกิดอันตรายใดๆ ต่อร่างกายผู้ถูกตรวจโดยภาพภายในทางเดินอาหารจะถูกบันทึกไว้ที่เครื่อง ซึ่งเชื่อมต่อจากภายนอก ใช้เวลาทั้งหมดประมาณ 7 ชั่วโมง โดยสามารถบันทึกภาพได้ 2 ภาพต่อวินาที และเก็บภาพได้ถึง 50,000 ภาพhttp://www.phukethospital.com/Thai/Hospital-Innovation/Capsule-Endoscopy.php

Unknown กล่าวว่า...

นางสาวจิราภรณ์ ดีสวัสดิ์ รหัส 56125210243
การผ่าตัดส่องกล้อง หรือ การผ่าตัดผ่านกล้อง
“แผลเล็ก เจ็บน้อย ฟื้นตัวเร็ว” การผ่าตัดส่องกล้อง (Minimally Invasive Surgery) การผ่าตัดส่องกล้อง (Minimally Invasive Surgery)

ในปัจจุบันวิวัฒนาการของเทคโนโลยีด้านการผ่าตัดได้พัฒนาไปอย่างมาก รวมถึงการผ่าตัดส่องกล้อง หรือ การผ่าตัดผ่านกล้อง (Minimally Invasive Surgery) ดังนั้นการผ่าตัดผ่านกล้องจึงเป็นเทคโนโลยีสมัยใหม่ ที่มีข้อดีหลายประการ อาทิเช่น บาดแผลผ่าตัดมีขนาดเล็กลง สามารถลดอาการปวดแผล และลดระยะเวลาพักฟื้นหลังการผ่าตัด ทำให้ผู้ป่วยกลับไปใช้ชีวิตประจำวันปกติได้เร็วขึ้น

การผ่าตัดส่องกล้องที่ รพ. กรุงเทพภูเก็ต ให้การรักษาแบบมืออาชีพที่คุณวางใจ

หัวใจสำคัญของการผ่าตัดส่องกล้องคือ สามารถลดอาการแทรกซ้อนหลังการผ่าตัดได้, ระยะเวลาการพักฟื้นที่โรงพยาบาลน้อยลง, ลดอัตราการสูญเสียเลือด, และสามารถฟื้นตัวหลังการผ่าตัดได้เร็วขึ้น
ความชำนาญและประสบการณ์ในการผ่าตัดผ่านกล้อง ของศัลยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง ด้วยเครื่องมือพิเศษ และด้วยหุ่นยนต์ช่วยผ่าตัด
ประกอบกับเทคโลยีที่ล้ำสมัย ทำให้ศัลยแพทย์เฉพาะทาง ที่ผ่านการฝึกอบรมพิเศษทั้งในและต่างประเทศ ทีมพยาบาลวิชาชีพ และเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ทุกท่าน สามารถทำงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อพัฒนาการดูแลและความปลอดภัยของคนไข้อย่างต่อเนื่องhttp://www.phukethospital.com/Thai/Hospital-Innovation/MIS-Surgery.php

Unknown กล่าวว่า...

นางสาว วรรณิศา แก้วเหลี่ยม การบัญชี รหัส 56125210146
กล้องแคปซูล (Capsule Endoscopy)
กล้องแคปซูล (Capsule Endoscopy) คืออะไร?
กล้องแคปซูล (Capsule Endoscopy) คือ นวัตกรรมทางการแพทย์สมัยใหม่ที่ใช้ในการตรวจวินิจฉัย โรคในระบบทางเดินอาหาร กล้องชนิดนี้สามารถตรวจได้ถึงส่วนที่ลึกที่สุดของลำไส้เล็ก ในจุดที่การส่องกล้องทั่วไปเข้าไม่ถึง สามารถให้้ผลการตรวจที่ละเอียด ถูกต้อง แม่นยำ และมีประสิทธิภาพ
อุปกรณ์หรือกล้องสำรวจทางเดินอาหารมีขนาดใหญ่ใกล้เคียงกับยาเม็ดชนิดแคปซูล ทำให้สามารถกลืนได้สะดวกและปลอดภัย กระบวนการตรวจเริ่มจากให้คนไข้กลืน กล้องแคปซูล พร้อมกับน้ำ กล้องจะเคลื่อนที่ไปตามส่วนต่างๆ ของระบบทางเดินอาหารตั้งแต่หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลำไส้เล็ก จนสิ้นสุดที่ลำไส้ใหญ่
จากนั้นกล้องแคปซูลนี้จะออกมาพร้อมกับการถ่ายอุจจาระ ซึ่งไม่ทำให้เกิดอันตรายใดๆ ต่อร่างกายผู้ถูกตรวจโดยภาพภายในทางเดินอาหารจะถูกบันทึกไว้ที่เครื่อง ซึ่งเชื่อมต่อจากภายนอก ใช้เวลาทั้งหมดประมาณ 7 ชั่วโมง โดยสามารถบันทึกภาพได้ 2 ภาพต่อวินาที และเก็บภาพได้ถึง 50,000 ภาพhttp://www.phukethospital.com/Thai/Hospital-Innovation/Capsule-Endoscopy.php

Unknown กล่าวว่า...

Unknown กล่าวว่า...

งานวันที่ 17/มี.ค/58
กำเนิดหมึกนำไฟฟ้า-ปฏิวัติสิ่งพิมพ์ไทย

จันท์เกษม รุณภัย



 อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ถือเป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมหลักของไทยที่มีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจและศักยภาพของการแข่งขันของประเทศในทุกระดับ แต่ปัจจุบันส่วนใหญ่กำลังประสบกับภาวะความนิยม "ขาลง" เนื่องด้วยด้วยเทคโนโลยีการสื่อสารที่มีหลากหลายประเภทมากขึ้น อีกทั้งรวดเร็วและฉับไวกว่า จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ไทยจะต้องเร่งคิดค้นเทคโนโลยีใหม่ที่จะสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์อย่างเร่งด่วน

 ด้วยเหตุนี้ สำนักพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ หรือ สวทช. (NSTDA) ภายใต้การควบคุมของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จึงได้เปิดศูนย์นวัตกรรมการพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์และอิเล็กทรอนิกส์อินทรีย์ หรือ โทปิค (TOPIC: Thailand Organic & Printed Electronics Innovation Center) เพื่อเป็นศูนย์กลางการผลิตนวัตกรรมใหม่ในด้านดังกล่าว ทั้งยังมุ่งเน้นความร่วมมือกับภาคเอกชนเพื่อพลิกโฉมอุตสาหกรรมการพิมพ์ของไทยให้ก้าวสู่นวัตกรรมแห่งโลกอนาคต และผู้นำนวัตกรรมสิ่งพิมพ์อัจฉริยะแห่งประชาคมอาเซียน

 โดยภายในงานมี ดร.ทวีศักดิ์ ก่ออนันตกูล ผู้อำนวยการสวทช.เป็นประธาน และได้มีการเปิดตัวนวัตกรรมนำร่องใหม่ๆ ได้แก่ "หมึกพิมพ์นำไฟฟ้า" โดยสังเคราะห์ขึ้นจากสาร "กราฟีน" ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของโมเลกุลคาร์บอน มีคุณสมบัตินำไฟฟ้าได้ สามารถตีพิมพ์ลงบนพื้นผิวได้หลายชนิด เช่น กระดาษ และแผ่นพลาสติก ก่อให้เกิดนวัตกรรมใหม่

 อาทิ "บรรจุภัณฑ์อัจฉริยะ" (Smart Package) ที่สามารถแสดงข้อมูลหรือภาพเคลื่อนไหวบนหีบห่อ และส่งข้อมูลความพอใจของลูกค้ากลับมายังผู้ผลิตได้ "หมึกพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์" (E-ink) ที่นำไปใช้ในแผ่นป้ายเก็บข้อมูล ที่ใช้คลื่นวิทยุเป็นสื่อพาหะ หรือ อาร์เอฟไอดี แทนเทคโนโลยีเดิมที่ต้องใช้โลหะทองแดง ซึ่งเป็นสารอนินทรีย์ และมีต้นทุนสูงกว่า "กระดาษอัจฉริยะ" (E-paper) ที่สามารถแสดงข้อมูลหรือภาพเคลื่อนไหวบนแผ่นพลาสติก สามารถโค้งงอได้ นอกจากนี้ ยังมีสารเปล่งแสงที่ใช้ในจอแสดงผลชนิด "โอแอลอีดี" ซึ่งใช้พลังงานและมีต้นทุนการผลิตต่ำ แต่ให้ภาพที่คมชัด สีสันสวยสดใสมากขึ้น

 รวมทั้ง "ฟิล์มสุริยะ" คือ แผ่นฟิล์มบางที่ทำหน้าที่เหมือนแผงรับพลังงานสุริยะเปลี่ยนเป็นไฟฟ้า "แบตเตอรี่บาง" ที่มีความบางเพียงความหนาของกระดาษในปัจจุบัน ตลอดจนตัวตรวจวัดทางการแพทย์ที่มีราคาถูก จนสามารถใช้แล้วทิ้งได้ เช่น ตัวตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด และสารพิษตกค้างในอาหาร

 ในโอกาสนี้ สวทช. ของไทยได้รับเกียรติให้เข้าเป็นสมาชิก "สมาคมอุตสาหกรรมการพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์และอิเล็กทรอนิกส์อินทรีย์" หรือ โออี-เอ ภายใต้สมาพันธ์วิศวกรรมแห่งประเทศเยอรมันนี หรือ วีดีเอ็มเอ โดยประเทศไทยถือเป็นประเทศลำดับที่ 4 ในทวีปเอเชียที่เข้าเป็นสมาชิกของโออี-เอ หลังประเทศเกาหลีใต้ ญี่ปุ่น และสิงคโปร์

 ศาสตราจารย์ ไรน์ฮาร์ด เบอร์แมน ตัวแทนคณะผู้บริหารสมาคมโออี-เอ กล่าวว่า โออี-เอ ถูกก่อตั้งขึ้นในปี 2547 โดยมีสมาชิกผู้ก่อตั้งเป็นสถาบันวิจัยและบริษัทเอกชนกว่า 10 องค์กร โดยมีเป้าหมาย คือ การสร้างเครือข่ายการพัฒนาและผลักดันเทคโนโลยีดังกล่าว ในระดับนานาชาติ ปัจจุบันมีสมาชิกจำนวน 188 องค์กร จากหลายประเทศทั่วโลก โดยประโยชน์ที่ได้รับจากการเป็นสมาชิกโออี-เอ คือการได้พบกับนักวิจัยจากองค์กรอื่น เครือข่ายธุรกิจและอุตสาหกรรมจากทั่วโลกที่จะร่วมกันผลักดันเทคโนโลยีรักษาสิ่งแวดล้อมนี้ออกมาสู่ผู้บริโภค

 ดร.อดิสร เตือนตรานนท์ หัวหน้าคณะนักวิจัยผู้คิดค้นหมึกพิมพ์นำไฟฟ้า ของศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ หรือ เนคเทค กล่าวว่า หมึกนำไฟฟ้าดังกล่าวเกิดขึ้นจากกระบวนการสังเคราะห์ทางไฟฟ้าเคมีแบบพิเศษชนิดใหม่ ซึ่งจะไม่มีออกซิเจนตกค้างอยู่ ส่งผลให้ศักยภาพการนำไฟฟ้าสูงกว่า แตกต่างจากหมึกนำไฟฟ้าที่ต่างประเทศคิดค้นขึ้นก่อนหน้า ทางสวทช.จึงได้จดสิทธิบัตรหมึกพิมพ์นำไฟฟ้าชนิดนี้แล้ว

 ซึ่งขณะนี้ มีบริษัท "อินโนฟีน" ของคนไทย ได้ขอเช่าสิทธิในการผลิตเชิงพาณิชย์แล้ว นับเป็นองค์กรภาคเอกชนแห่งที่ 2 ของโลก ขณะที่ผลงานในปีหน้า ทางคณะนักวิจัยคาดว่า จะสามารถคิดค้นแบตเตอรี่แบบบางที่ใช้พิมพ์ลงบนกระดาษ เซ็นเซอร์ตรวจวัดทางการแพทย์แบบใช้แล้วทิ้ง และกระจกเปลี่ยนสีได้ ร่วมกับศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ หรือ นาโนเทค

Unknown กล่าวว่า...

งานวันที่ 17/03/58
กำเนิดหมึกนำไฟฟ้า-ปฏิวัติสิ่งพิมพ์ไทย

จันท์เกษม รุณภัย



 อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ถือเป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมหลักของไทยที่มีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจและศักยภาพของการแข่งขันของประเทศในทุกระดับ แต่ปัจจุบันส่วนใหญ่กำลังประสบกับภาวะความนิยม "ขาลง" เนื่องด้วยด้วยเทคโนโลยีการสื่อสารที่มีหลากหลายประเภทมากขึ้น อีกทั้งรวดเร็วและฉับไวกว่า จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ไทยจะต้องเร่งคิดค้นเทคโนโลยีใหม่ที่จะสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์อย่างเร่งด่วน

 ด้วยเหตุนี้ สำนักพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ หรือ สวทช. (NSTDA) ภายใต้การควบคุมของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จึงได้เปิดศูนย์นวัตกรรมการพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์และอิเล็กทรอนิกส์อินทรีย์ หรือ โทปิค (TOPIC: Thailand Organic & Printed Electronics Innovation Center) เพื่อเป็นศูนย์กลางการผลิตนวัตกรรมใหม่ในด้านดังกล่าว ทั้งยังมุ่งเน้นความร่วมมือกับภาคเอกชนเพื่อพลิกโฉมอุตสาหกรรมการพิมพ์ของไทยให้ก้าวสู่นวัตกรรมแห่งโลกอนาคต และผู้นำนวัตกรรมสิ่งพิมพ์อัจฉริยะแห่งประชาคมอาเซียน

 โดยภายในงานมี ดร.ทวีศักดิ์ ก่ออนันตกูล ผู้อำนวยการสวทช.เป็นประธาน และได้มีการเปิดตัวนวัตกรรมนำร่องใหม่ๆ ได้แก่ "หมึกพิมพ์นำไฟฟ้า" โดยสังเคราะห์ขึ้นจากสาร "กราฟีน" ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของโมเลกุลคาร์บอน มีคุณสมบัตินำไฟฟ้าได้ สามารถตีพิมพ์ลงบนพื้นผิวได้หลายชนิด เช่น กระดาษ และแผ่นพลาสติก ก่อให้เกิดนวัตกรรมใหม่

 อาทิ "บรรจุภัณฑ์อัจฉริยะ" (Smart Package) ที่สามารถแสดงข้อมูลหรือภาพเคลื่อนไหวบนหีบห่อ และส่งข้อมูลความพอใจของลูกค้ากลับมายังผู้ผลิตได้ "หมึกพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์" (E-ink) ที่นำไปใช้ในแผ่นป้ายเก็บข้อมูล ที่ใช้คลื่นวิทยุเป็นสื่อพาหะ หรือ อาร์เอฟไอดี แทนเทคโนโลยีเดิมที่ต้องใช้โลหะทองแดง ซึ่งเป็นสารอนินทรีย์ และมีต้นทุนสูงกว่า "กระดาษอัจฉริยะ" (E-paper) ที่สามารถแสดงข้อมูลหรือภาพเคลื่อนไหวบนแผ่นพลาสติก สามารถโค้งงอได้ นอกจากนี้ ยังมีสารเปล่งแสงที่ใช้ในจอแสดงผลชนิด "โอแอลอีดี" ซึ่งใช้พลังงานและมีต้นทุนการผลิตต่ำ แต่ให้ภาพที่คมชัด สีสันสวยสดใสมากขึ้น

 รวมทั้ง "ฟิล์มสุริยะ" คือ แผ่นฟิล์มบางที่ทำหน้าที่เหมือนแผงรับพลังงานสุริยะเปลี่ยนเป็นไฟฟ้า "แบตเตอรี่บาง" ที่มีความบางเพียงความหนาของกระดาษในปัจจุบัน ตลอดจนตัวตรวจวัดทางการแพทย์ที่มีราคาถูก จนสามารถใช้แล้วทิ้งได้ เช่น ตัวตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด และสารพิษตกค้างในอาหาร

 ในโอกาสนี้ สวทช. ของไทยได้รับเกียรติให้เข้าเป็นสมาชิก "สมาคมอุตสาหกรรมการพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์และอิเล็กทรอนิกส์อินทรีย์" หรือ โออี-เอ ภายใต้สมาพันธ์วิศวกรรมแห่งประเทศเยอรมันนี หรือ วีดีเอ็มเอ โดยประเทศไทยถือเป็นประเทศลำดับที่ 4 ในทวีปเอเชียที่เข้าเป็นสมาชิกของโออี-เอ หลังประเทศเกาหลีใต้ ญี่ปุ่น และสิงคโปร์

 ศาสตราจารย์ ไรน์ฮาร์ด เบอร์แมน ตัวแทนคณะผู้บริหารสมาคมโออี-เอ กล่าวว่า โออี-เอ ถูกก่อตั้งขึ้นในปี 2547 โดยมีสมาชิกผู้ก่อตั้งเป็นสถาบันวิจัยและบริษัทเอกชนกว่า 10 องค์กร โดยมีเป้าหมาย คือ การสร้างเครือข่ายการพัฒนาและผลักดันเทคโนโลยีดังกล่าว ในระดับนานาชาติ ปัจจุบันมีสมาชิกจำนวน 188 องค์กร จากหลายประเทศทั่วโลก โดยประโยชน์ที่ได้รับจากการเป็นสมาชิกโออี-เอ คือการได้พบกับนักวิจัยจากองค์กรอื่น เครือข่ายธุรกิจและอุตสาหกรรมจากทั่วโลกที่จะร่วมกันผลักดันเทคโนโลยีรักษาสิ่งแวดล้อมนี้ออกมาสู่ผู้บริโภค

 ดร.อดิสร เตือนตรานนท์ หัวหน้าคณะนักวิจัยผู้คิดค้นหมึกพิมพ์นำไฟฟ้า ของศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ หรือ เนคเทค กล่าวว่า หมึกนำไฟฟ้าดังกล่าวเกิดขึ้นจากกระบวนการสังเคราะห์ทางไฟฟ้าเคมีแบบพิเศษชนิดใหม่ ซึ่งจะไม่มีออกซิเจนตกค้างอยู่ ส่งผลให้ศักยภาพการนำไฟฟ้าสูงกว่า แตกต่างจากหมึกนำไฟฟ้าที่ต่างประเทศคิดค้นขึ้นก่อนหน้า ทางสวทช.จึงได้จดสิทธิบัตรหมึกพิมพ์นำไฟฟ้าชนิดนี้แล้ว

 ซึ่งขณะนี้ มีบริษัท "อินโนฟีน" ของคนไทย ได้ขอเช่าสิทธิในการผลิตเชิงพาณิชย์แล้ว นับเป็นองค์กรภาคเอกชนแห่งที่ 2 ของโลก ขณะที่ผลงานในปีหน้า ทางคณะนักวิจัยคาดว่า จะสามารถคิดค้นแบตเตอรี่แบบบางที่ใช้พิมพ์ลงบนกระดาษ เซ็นเซอร์ตรวจวัดทางการแพทย์แบบใช้แล้วทิ้ง และกระจกเปลี่ยนสีได้ ร่วมกับศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ หรือ นาโนเทค

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

เทคโนโลยีล้ำสมัย! "แว่นตา" มี Auto Focus

บริษัท PixelOptics ได้คิดค้นแว่นตาไฮเทค ที่เพิ่มชั้นของคริสตัลเหลวไปบนตัวเลนส์ เพียงแค่เงยหน้าหรือสัมผัสที่แว่นมันก็จะปรับโฟกัสให้โดยอัตโนมัติในช่วงเวลาที่เร็วกว่าการกะพริบตาซะอีก

EmPower! ช่วยปรับโฟกัสได้ทุกระยะการมอง ไม่ว่าจะใกล้ไกลหรือระยะกลาง ๆ ลดการบิดเบียนภาวะตาพร่าที่ทำให้เห็นวัตถุผิดรูปไปได้ถึง 50% และเพิ่มมุมมองให้กว้างขึ้น 2 – 3 เท่าเมื่อเทียบกับโปรเกรสซีฟเลนส์ ภายใต้รูปลักษณ์ที่เหมือนแว่นตาทั่ว ๆ ไป ข้างในได้ซ่อนไมโครชิฟ , micro-accelerometer และแบตเตอรี่ชาร์จได้ขนาดเล็กซ่อนเอาไว้

เจ้า accelerometer จะทำหน้าที่จับการเคลื่อนไหวแล้วส่งสัญญาณไปยังชั้น LCD โปร่งใสบนเลนส์แต่ละข้าง ที่สามารถเปลี่ยนโครงสร้างโมเลกุลของตัวมันเองได้ เมื่อรวมกับการการคำนวณค่าการหักเหของแสงที่เปลี่ยนไปจึงทำให้มันปรับโฟกัสตามต้องการ ซึ่งคุณสามารถตั้งได้ว่าจะใช้โหมดอัตโนมัติหรือ Manual เพียงแค่กดปุ่มเปิด/ปิดในการชาร์จหนึ่งครั้งสามารถใช้งานได้ 2-3 วัน นอกจากนี้ EmPower! ยังมีคุณสมบัติกันน้ำ มีกรอบให้เลือกมากมายถึง 48 แบบ ตั้งแต่

กรอบโลหะ กรอบพลาสติกจนไปถึงไร้ขอบ ในส่วนของเลนส์ผลิตขึ้นโดย Panasonic Healthcare Company แถมยังมีออปชันเปลี่ยนเลนส์ให้กลายเป็นแว่นกันแดดได้ด้วย

นางสาวศิรา อินทร์ทัด บช.บ การบัญชี หมู่2
56125210233

Unknown กล่าวว่า...

กำเนิดหมึกนำไฟฟ้า-ปฏิวัติสิ่งพิมพ์ไทย

จันท์เกษม รุณภัย



 อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ถือเป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมหลักของไทยที่มีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจและศักยภาพของการแข่งขันของประเทศในทุกระดับ แต่ปัจจุบันส่วนใหญ่กำลังประสบกับภาวะความนิยม "ขาลง" เนื่องด้วยด้วยเทคโนโลยีการสื่อสารที่มีหลากหลายประเภทมากขึ้น อีกทั้งรวดเร็วและฉับไวกว่า จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ไทยจะต้องเร่งคิดค้นเทคโนโลยีใหม่ที่จะสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์อย่างเร่งด่วน

 ด้วยเหตุนี้ สำนักพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ หรือ สวทช. (NSTDA) ภายใต้การควบคุมของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จึงได้เปิดศูนย์นวัตกรรมการพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์และอิเล็กทรอนิกส์อินทรีย์ หรือ โทปิค (TOPIC: Thailand Organic & Printed Electronics Innovation Center) เพื่อเป็นศูนย์กลางการผลิตนวัตกรรมใหม่ในด้านดังกล่าว ทั้งยังมุ่งเน้นความร่วมมือกับภาคเอกชนเพื่อพลิกโฉมอุตสาหกรรมการพิมพ์ของไทยให้ก้าวสู่นวัตกรรมแห่งโลกอนาคต และผู้นำนวัตกรรมสิ่งพิมพ์อัจฉริยะแห่งประชาคมอาเซียน

 โดยภายในงานมี ดร.ทวีศักดิ์ ก่ออนันตกูล ผู้อำนวยการสวทช.เป็นประธาน และได้มีการเปิดตัวนวัตกรรมนำร่องใหม่ๆ ได้แก่ "หมึกพิมพ์นำไฟฟ้า" โดยสังเคราะห์ขึ้นจากสาร "กราฟีน" ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของโมเลกุลคาร์บอน มีคุณสมบัตินำไฟฟ้าได้ สามารถตีพิมพ์ลงบนพื้นผิวได้หลายชนิด เช่น กระดาษ และแผ่นพลาสติก ก่อให้เกิดนวัตกรรมใหม่

 อาทิ "บรรจุภัณฑ์อัจฉริยะ" (Smart Package) ที่สามารถแสดงข้อมูลหรือภาพเคลื่อนไหวบนหีบห่อ และส่งข้อมูลความพอใจของลูกค้ากลับมายังผู้ผลิตได้ "หมึกพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์" (E-ink) ที่นำไปใช้ในแผ่นป้ายเก็บข้อมูล ที่ใช้คลื่นวิทยุเป็นสื่อพาหะ หรือ อาร์เอฟไอดี แทนเทคโนโลยีเดิมที่ต้องใช้โลหะทองแดง ซึ่งเป็นสารอนินทรีย์ และมีต้นทุนสูงกว่า "กระดาษอัจฉริยะ" (E-paper) ที่สามารถแสดงข้อมูลหรือภาพเคลื่อนไหวบนแผ่นพลาสติก สามารถโค้งงอได้ นอกจากนี้ ยังมีสารเปล่งแสงที่ใช้ในจอแสดงผลชนิด "โอแอลอีดี" ซึ่งใช้พลังงานและมีต้นทุนการผลิตต่ำ แต่ให้ภาพที่คมชัด สีสันสวยสดใสมากขึ้น

 รวมทั้ง "ฟิล์มสุริยะ" คือ แผ่นฟิล์มบางที่ทำหน้าที่เหมือนแผงรับพลังงานสุริยะเปลี่ยนเป็นไฟฟ้า "แบตเตอรี่บาง" ที่มีความบางเพียงความหนาของกระดาษในปัจจุบัน ตลอดจนตัวตรวจวัดทางการแพทย์ที่มีราคาถูก จนสามารถใช้แล้วทิ้งได้ เช่น ตัวตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด และสารพิษตกค้างในอาหาร

 ในโอกาสนี้ สวทช. ของไทยได้รับเกียรติให้เข้าเป็นสมาชิก "สมาคมอุตสาหกรรมการพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์และอิเล็กทรอนิกส์อินทรีย์" หรือ โออี-เอ ภายใต้สมาพันธ์วิศวกรรมแห่งประเทศเยอรมันนี หรือ วีดีเอ็มเอ โดยประเทศไทยถือเป็นประเทศลำดับที่ 4 ในทวีปเอเชียที่เข้าเป็นสมาชิกของโออี-เอ หลังประเทศเกาหลีใต้ ญี่ปุ่น และสิงคโปร์

 ศาสตราจารย์ ไรน์ฮาร์ด เบอร์แมน ตัวแทนคณะผู้บริหารสมาคมโออี-เอ กล่าวว่า โออี-เอ ถูกก่อตั้งขึ้นในปี 2547 โดยมีสมาชิกผู้ก่อตั้งเป็นสถาบันวิจัยและบริษัทเอกชนกว่า 10 องค์กร โดยมีเป้าหมาย คือ การสร้างเครือข่ายการพัฒนาและผลักดันเทคโนโลยีดังกล่าว ในระดับนานาชาติ ปัจจุบันมีสมาชิกจำนวน 188 องค์กร จากหลายประเทศทั่วโลก โดยประโยชน์ที่ได้รับจากการเป็นสมาชิกโออี-เอ คือการได้พบกับนักวิจัยจากองค์กรอื่น เครือข่ายธุรกิจและอุตสาหกรรมจากทั่วโลกที่จะร่วมกันผลักดันเทคโนโลยีรักษาสิ่งแวดล้อมนี้ออกมาสู่ผู้บริโภค

 ดร.อดิสร เตือนตรานนท์ หัวหน้าคณะนักวิจัยผู้คิดค้นหมึกพิมพ์นำไฟฟ้า ของศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ หรือ เนคเทค กล่าวว่า หมึกนำไฟฟ้าดังกล่าวเกิดขึ้นจากกระบวนการสังเคราะห์ทางไฟฟ้าเคมีแบบพิเศษชนิดใหม่ ซึ่งจะไม่มีออกซิเจนตกค้างอยู่ ส่งผลให้ศักยภาพการนำไฟฟ้าสูงกว่า แตกต่างจากหมึกนำไฟฟ้าที่ต่างประเทศคิดค้นขึ้นก่อนหน้า ทางสวทช.จึงได้จดสิทธิบัตรหมึกพิมพ์นำไฟฟ้าชนิดนี้แล้ว

 ซึ่งขณะนี้ มีบริษัท "อินโนฟีน" ของคนไทย ได้ขอเช่าสิทธิในการผลิตเชิงพาณิชย์แล้ว นับเป็นองค์กรภาคเอกชนแห่งที่ 2 ของโลก ขณะที่ผลงานในปีหน้า ทางคณะนักวิจัยคาดว่า จะสามารถคิดค้นแบตเตอรี่แบบบางที่ใช้พิมพ์ลงบนกระดาษ เซ็นเซอร์ตรวจวัดทางการแพทย์แบบใช้แล้วทิ้ง และกระจกเปลี่ยนสีได้ ร่วมกับศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ หรือ นาโนเทค
ปาริชาต สำนักนิตย์ การบันชี 56125210205

Unknown กล่าวว่า...

วัน อังคารที่ 24 มีนาคม 2558
(Head Care Robot)




พานาโซนิคเผยเทคโนโลยีสุดไฮเทค ที่จะพลิกโฉมให้กับร้านทำผมด้วยหุ่นยนต์สระผมอัตโนมัติ (Head Care Robot) ที่ถูกออกแบบมาเพื่อช่วยสนับสนุนและประหยัดค่าใช้จ่ายที่ต้องจ้างช่างสระผม เพียงแค่มีหุ่นยนต์สระผมอัตโนมัติตัวนี้หนึ่งเครื่อง การสระผมก็เป็นเรื่องง่ายดาย

สำหรับหุ่นยนต์สระผมอัตโนมัติ (Head Care Robot) เป็นหนึ่งผลิตภัณฑ์ ที่โชว์ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีของทางพานาโซนิค ซึ่งเจ้าหุ่นยนต์สระผมตัวนี้ได้รับการออกแบบมาเพื่อใช้แค่เฉพาะในร้านเสริมสวยเท่านั้น แต่ยังสามารถใช้ประโยชน์ให้กับผู้ป่วยในโรงพยาบาลในกรณีที่พนักงานไม่เพียงพอ กลไกการทำงานของหุ่นยนต์สระผมอัตโนมัติจะถูกควบคุมด้วยตัววัดเซ็นเซอร์ศีรษะของลูกค้า จากนั้นจะเริ่มขั้นตอนการสระผม โดยการฉีดน้ำ สามารถเลือกได้น้ำร้อนหรือน้ำเย็น เสร็จแล้วก็ฉีดแชมพูเป็นขั้นตอนต่อไป โดยจะมีชิ้นส่วนคล้ายนิ้วมือ จำนวน 24 นิ้วเป็นตัวช่วยเพื่อนวดแชมพูให้ทั่วศีรษะของเรา

ซึ่งในขณะนี้ทางพานาโซนิคได้เริ่มทดสอบหุ่นยนต์สระผมอัตโนมัตินี้แล้ว ที่ร้านทำผมชื่อว่า Super Hair Seo ในเมือง Nishiyama จังหวัดเฮียวโก ประเทศญี่ปุ่น โดยเริ่มทดสอบตั้งแต่วันที่ 11 เมษายนถึงวันที่ 10 มิถุนายน 2555 ทำให้มีผู้คนสนใจเข้าใช้บริการหุ่นยนต์สระผมอัตโนมัตินี่ที่ร้านเป็นจำนวนมาก
www.52011210003g5.blogspot.com/
นางสาวปาริชาติสำนักนิตย์ การบัญชี หมู่2 56125210205

Unknown กล่าวว่า...

นางสาวอนุชิฎา อินทร์ตา
รหัสนักศึกษา 56191880219
สาขา การประถมศึกษา

ระบบ 4G คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร

ระบบ 4G คือระบบสื่อสารไร้สายความเร็วสูงยุคที่ 4 ซึ่งเป็นระบบที่สามารถรับส่งข้อมูลได้เร็วมาก สูงสุดถึง 100 Mbps
ในขณะประเทศไทยกำลังตื่นเต้นกับระบบ 3G คลื่น 2100 MHz ที่เพิ่มประมูลไปเมื่อปี พ.ศ. 2555 โดยมีผู้ได้รับใบอนุญาต 3 ราย คือ DTAC, AIS และ True ปรากฏว่า DTAC และ AIS นำคลื่นที่ประมูลได้ไปสร้างระบบ 3G ในขณะที่ TRUE นำคลื่นดังกล่าวไปทำระบบ 4G
ระบบ 4G
ระบบ 3G นั้นสามารถทำให้เราใช้ระบบไร้สายความเร็วสูงได้เป็นอย่างดี บางระบบความเร็วสูงถึง 72 Mbps แต่ว่าระบบ 3G ทั่วไปที่เราใช้อยู่ยังไม่สามารถทำงานบางอย่างได้ดีนัก เช่น การรับชมวิดีโอระดับความละเอียดสูง (High Definition) การเรียนการสอนทางไกล และการผ่าตัดผ่านระบบวิดีโอความละเอียดสูง เป็นต้น
ดังนั้นระบบ 4G ได้เข้ามาช่วยเสริมระบบ 3G ในจุดที่ยังทำงานได้ไม่ดีเท่าที่ควรนั่นเอง
ระบบ 4G ที่นิยมใช้กันมีอยู่ 2 ระบบย่อย คือระบบ LTE (Long Term Evolution) และระบบ Wi-MAX ซึ่งระบบ LTE ได้รับความสูงกว่าและใช้กันทั่วโลก ในขณะที่ระบบ Wi-MAX นิยมใช้กันในบางประเทศเท่านั้น เช่น ญี่ปุ่น ไต้หวัน และบังกลาเทศ เป็นต้น

อ้างอิง http://www.xn--12cg1cxchd0a2gzc1c5d5a.net/ระบบ-4g-คืออะไร-มีประโยชน์อย่างไร/

Unknown กล่าวว่า...

นางสาวนัยนา นพพิบูลย์
รหัส 56191880244
สาขาการประถมศึกษา
เทคโนโลยีดาวเทียมกับการจัดการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลนั้น เน้นการศึกษาด้วยตนเอง ผู้เรียนจะเลือกเรียนและเลือกใช้สื่อที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ของตนเอง ระบบการจัดการศึกษาทางไกลจึงต้องมีการจัดการที่เป็นระบบ มีขั้นตอนที่ชัดเจนและมีคุณภาพเป็นที่แน่ใจว่าผู้เรียนจะเกิดผลสัมฤทธ์ทางการเรียนตามมาตรฐานทางวิชาการ เช่นเดียวกับการศึกษาในรูปแบบอื่น ๆ
อาจกล่าวได้ว่า การศึกษาทางไกลมีพัฒนาการมาอย่างยาวนาน ตั้งแต่ พ.ศ. 2379 ที่เริ่มมีการให้ปริญญาภายนอกของมหาวิทยาลัยลอนดอน ซึ่งต่อมาได้พัฒนาเป็นการสอนทางไปรษณีย์และได้พัฒนาใช้สื่อประเภทต่าง ๆ ได้แก่ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ ต่อมาเมื่อมีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยเปิดขึ้นในประเทศอังกฤษ ซึ่งใช้สื่อประสม หลังจากนั้นการศึกษาทางไกลก็ได้ขยายแนวความคิดกระจายออกไปยังภูมิภาค
จากการที่ประเทศไทย มีดาวเทียมแห่งชาติ คือ ไทยคม 1 ซึ่งมีช่องสัญญาณในระบบ KU-Band และมีระบบรับส่งสัญญาณด้วย Digital Technology ซึ่งมีประสิทธิภาพในการส่งสัญญาณได้คมชัดกว่าระบบอื่น บริษัทชินวัตร แซทเทลไลท์ จำกัด โดยผ่านมูลนิธิไทยคม เห็นความสำคัญของการพัฒนาด้านทรัพยากรมนุษย์ และเพื่อเป็นการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีดาวเทียมสำหรับจัดการศึกษาทางไกล จึงได้มีการลงนามในบันทึกข้อตกลงระหว่างมูลนิธิไทยคม และกระทรวงศึกษาธิการ ตามข้อตกลงมูลนิธิไทยคม จะให้ความช่วยเหลือแก่กระทรวงศึกษาธิการ ในการใช้ดาวเทียมเพื่อการศึกษาทางไกล จำนวน 1 ช่องสัญญาณ พร้อมทั้งสนับสนุนชุดอุปกรณ์รับ
การศึกษาทางไกลเข้ามามีบทบาทในการจัดการศึกษาในประเทศไทยปี พ.ศ. 2518 โดยแบ่งลักษณะของการพัฒนาการศึกษาออกเป็น 2 ระดับ คือ การศึกษาทางไกลระดับต่ำกว่าอุดมศึกษา และการศึกษาทางไกลระดับอุดมศึกษา อาจกล่าวได้ว่า กรมการศึกษานอกโรงเรียนได้รับผิดชอบการศึกษาทางไกล ในระดับต่ำกว่าอุดมศึกษา ซึ่งแต่เดิมกรมการศึกษานอกโรงเรียนได้จัดการศึกษาทางไกล โดยมีสื่อพิมพ์เป็นสื่อหลัก และเสริมด้วยรายการวิทยุกระจายเสียง ให้แก่นักศึกษาผู้ใหญ่ นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนได้ฟังและใช้บทเรียนทางวิทยุบ้าง ไม่ได้ใช้บ้าง บางคนอ้างว่า ไม่มีเวลาที่จะติดตามฟัง บทเรียนทางวิทยุมีเฉพาะเสียงอย่างเดียว ไม่ค่อยน่าสนใจฟัง ในปัจจุบันสื่อโทรทัศน์มีบทบาทต่อชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทยมากขึ้นเรื่อย ๆ สื่อที่มีทั้งภาพและเสียงมีข้อได้เปรียบในการสอนเนื้อหาวิชาต่าง ๆ ได้ชัดเจน สื่อโทรทัศน์ส่วนใหญ่ผูกพันอยู่กับวงการธุรกิจโฆษณา และความบันเทิง การเช่าเวลาจากสถานีโทรทัศน์ที่มีอยู่ต้องเสียค่าใช้จ่ายสูงมาก และที่สำคัญทางสถานีไม่อาจจะจัดสรรเวลาให้ตามที่หน่วยงานทางการศึกษาต้องการได้
การศึกษาผ่านดาวเทียมครั้งแรก คือ เมื่อวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ 12สิงหาคม 2537 โดยออกอากาศในระบบส่งตรงถึงผู้ชม (Direct to home : DTH) การออกอากาศในระบบนี้เป็นการส่งสัญญาณโทรทัศน์ขึ้นสู่ดาวเทียม จากนั้นสัญญาณจะถูกส่งจากดาวเทียมมายังอุปกรณ์รับสัญญาณซึ่งติดตั้งอยู่ที่จุดติดตั้งอุปกรณ์รับสัญญาณ ชุดอุปกรณ์ประกอบด้วย
1. จานรับสัญญาณดาวเทียม (Dish Antenna) พร้อมตัวรวมสัญญาณ (Low Noise Block and Feedhorn : LNBF)
2. เครื่องรับสัญญาณดาวเทียม (Integrated Receiver and Decoder : IRD)
3. เครื่องรับโทรทัศน์ (T.V. Monitor)

Unknown กล่าวว่า...

นางสาวอนุชิฎา อินทร์ตา
รหัสนักศึกษา 56191880219
สาขา การประถมศึกษา

ระบบ 4G คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร

ระบบ 4G คือระบบสื่อสารไร้สายความเร็วสูงยุคที่ 4 ซึ่งเป็นระบบที่สามารถรับส่งข้อมูลได้เร็วมาก สูงสุดถึง 100 Mbps
ในขณะประเทศไทยกำลังตื่นเต้นกับระบบ 3G คลื่น 2100 MHz ที่เพิ่มประมูลไปเมื่อปี พ.ศ. 2555 โดยมีผู้ได้รับใบอนุญาต 3 ราย คือ DTAC, AIS และ True ปรากฏว่า DTAC และ AIS นำคลื่นที่ประมูลได้ไปสร้างระบบ 3G ในขณะที่ TRUE นำคลื่นดังกล่าวไปทำระบบ 4G
ระบบ 4G
ระบบ 3G นั้นสามารถทำให้เราใช้ระบบไร้สายความเร็วสูงได้เป็นอย่างดี บางระบบความเร็วสูงถึง 72 Mbps แต่ว่าระบบ 3G ทั่วไปที่เราใช้อยู่ยังไม่สามารถทำงานบางอย่างได้ดีนัก เช่น การรับชมวิดีโอระดับความละเอียดสูง (High Definition) การเรียนการสอนทางไกล และการผ่าตัดผ่านระบบวิดีโอความละเอียดสูง เป็นต้น
ดังนั้นระบบ 4G ได้เข้ามาช่วยเสริมระบบ 3G ในจุดที่ยังทำงานได้ไม่ดีเท่าที่ควรนั่นเอง
ระบบ 4G ที่นิยมใช้กันมีอยู่ 2 ระบบย่อย คือระบบ LTE (Long Term Evolution) และระบบ Wi-MAX ซึ่งระบบ LTE ได้รับความสูงกว่าและใช้กันทั่วโลก ในขณะที่ระบบ Wi-MAX นิยมใช้กันในบางประเทศเท่านั้น เช่น ญี่ปุ่น ไต้หวัน และบังกลาเทศ เป็นต้น

อ้างอิง http://www.xn--12cg1cxchd0a2gzc1c5d5a.net/ระบบ-4g-คืออะไร-มีประโยชน์อย่างไร/

Unknown กล่าวว่า...

นางสาวนัยนา นพพิบูลย์
รหัส 56191880244
สาขาการประถมศึกษา
เทคโนโลยีดาวเทียมกับการจัดการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลนั้น เน้นการศึกษาด้วยตนเอง ผู้เรียนจะเลือกเรียนและเลือกใช้สื่อที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ของตนเอง ระบบการจัดการศึกษาทางไกลจึงต้องมีการจัดการที่เป็นระบบ มีขั้นตอนที่ชัดเจนและมีคุณภาพเป็นที่แน่ใจว่าผู้เรียนจะเกิดผลสัมฤทธ์ทางการเรียนตามมาตรฐานทางวิชาการ เช่นเดียวกับการศึกษาในรูปแบบอื่น ๆ
อาจกล่าวได้ว่า การศึกษาทางไกลมีพัฒนาการมาอย่างยาวนาน ตั้งแต่ พ.ศ. 2379 ที่เริ่มมีการให้ปริญญาภายนอกของมหาวิทยาลัยลอนดอน ซึ่งต่อมาได้พัฒนาเป็นการสอนทางไปรษณีย์และได้พัฒนาใช้สื่อประเภทต่าง ๆ ได้แก่ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ ต่อมาเมื่อมีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยเปิดขึ้นในประเทศอังกฤษ ซึ่งใช้สื่อประสม หลังจากนั้นการศึกษาทางไกลก็ได้ขยายแนวความคิดกระจายออกไปยังภูมิภาค
จากการที่ประเทศไทย มีดาวเทียมแห่งชาติ คือ ไทยคม 1 ซึ่งมีช่องสัญญาณในระบบ KU-Band และมีระบบรับส่งสัญญาณด้วย Digital Technology ซึ่งมีประสิทธิภาพในการส่งสัญญาณได้คมชัดกว่าระบบอื่น บริษัทชินวัตร แซทเทลไลท์ จำกัด โดยผ่านมูลนิธิไทยคม เห็นความสำคัญของการพัฒนาด้านทรัพยากรมนุษย์ และเพื่อเป็นการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีดาวเทียมสำหรับจัดการศึกษาทางไกล จึงได้มีการลงนามในบันทึกข้อตกลงระหว่างมูลนิธิไทยคม และกระทรวงศึกษาธิการ ตามข้อตกลงมูลนิธิไทยคม จะให้ความช่วยเหลือแก่กระทรวงศึกษาธิการ ในการใช้ดาวเทียมเพื่อการศึกษาทางไกล จำนวน 1 ช่องสัญญาณ พร้อมทั้งสนับสนุนชุดอุปกรณ์รับ
การศึกษาทางไกลเข้ามามีบทบาทในการจัดการศึกษาในประเทศไทยปี พ.ศ. 2518 โดยแบ่งลักษณะของการพัฒนาการศึกษาออกเป็น 2 ระดับ คือ การศึกษาทางไกลระดับต่ำกว่าอุดมศึกษา และการศึกษาทางไกลระดับอุดมศึกษา อาจกล่าวได้ว่า กรมการศึกษานอกโรงเรียนได้รับผิดชอบการศึกษาทางไกล ในระดับต่ำกว่าอุดมศึกษา ซึ่งแต่เดิมกรมการศึกษานอกโรงเรียนได้จัดการศึกษาทางไกล โดยมีสื่อพิมพ์เป็นสื่อหลัก และเสริมด้วยรายการวิทยุกระจายเสียง ให้แก่นักศึกษาผู้ใหญ่ นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนได้ฟังและใช้บทเรียนทางวิทยุบ้าง ไม่ได้ใช้บ้าง บางคนอ้างว่า ไม่มีเวลาที่จะติดตามฟัง บทเรียนทางวิทยุมีเฉพาะเสียงอย่างเดียว ไม่ค่อยน่าสนใจฟัง ในปัจจุบันสื่อโทรทัศน์มีบทบาทต่อชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทยมากขึ้นเรื่อย ๆ สื่อที่มีทั้งภาพและเสียงมีข้อได้เปรียบในการสอนเนื้อหาวิชาต่าง ๆ ได้ชัดเจน สื่อโทรทัศน์ส่วนใหญ่ผูกพันอยู่กับวงการธุรกิจโฆษณา และความบันเทิง การเช่าเวลาจากสถานีโทรทัศน์ที่มีอยู่ต้องเสียค่าใช้จ่ายสูงมาก และที่สำคัญทางสถานีไม่อาจจะจัดสรรเวลาให้ตามที่หน่วยงานทางการศึกษาต้องการได้
การศึกษาผ่านดาวเทียมครั้งแรก คือ เมื่อวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ 12สิงหาคม 2537 โดยออกอากาศในระบบส่งตรงถึงผู้ชม (Direct to home : DTH) การออกอากาศในระบบนี้เป็นการส่งสัญญาณโทรทัศน์ขึ้นสู่ดาวเทียม จากนั้นสัญญาณจะถูกส่งจากดาวเทียมมายังอุปกรณ์รับสัญญาณซึ่งติดตั้งอยู่ที่จุดติดตั้งอุปกรณ์รับสัญญาณ ชุดอุปกรณ์ประกอบด้วย
1. จานรับสัญญาณดาวเทียม (Dish Antenna) พร้อมตัวรวมสัญญาณ (Low Noise Block and Feedhorn : LNBF)
2. เครื่องรับสัญญาณดาวเทียม (Integrated Receiver and Decoder : IRD)
3. เครื่องรับโทรทัศน์ (T.V. Monitor)

Unknown กล่าวว่า...

นางสาวอนุชิฎา อินทร์ตา
รหัสนักศึกษา 56191880219
สาขา การประถมศึกษา
ระบบ 4G คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร
ระบบ 4G คือระบบสื่อสารไร้สายความเร็วสูงยุคที่ 4 ซึ่งเป็นระบบที่สามารถรับส่งข้อมูลได้เร็วมาก สูงสุดถึง 100 Mbps
ในขณะประเทศไทยกำลังตื่นเต้นกับระบบ 3G คลื่น 2100 MHz ที่เพิ่มประมูลไปเมื่อปี พ.ศ. 2555 โดยมีผู้ได้รับใบอนุญาต 3 ราย คือ DTAC, AIS และ True ปรากฏว่า DTAC และ AIS นำคลื่นที่ประมูลได้ไปสร้างระบบ 3G ในขณะที่ TRUE นำคลื่นดังกล่าวไปทำระบบ 4G
ระบบ 4G
ระบบ 3G นั้นสามารถทำให้เราใช้ระบบไร้สายความเร็วสูงได้เป็นอย่างดี บางระบบความเร็วสูงถึง 72 Mbps แต่ว่าระบบ 3G ทั่วไปที่เราใช้อยู่ยังไม่สามารถทำงานบางอย่างได้ดีนัก เช่น การรับชมวิดีโอระดับความละเอียดสูง (High Definition) การเรียนการสอนทางไกล และการผ่าตัดผ่านระบบวิดีโอความละเอียดสูง เป็นต้น
ดังนั้นระบบ 4G ได้เข้ามาช่วยเสริมระบบ 3G ในจุดที่ยังทำงานได้ไม่ดีเท่าที่ควรนั่นเอง
ระบบ 4G ที่นิยมใช้กันมีอยู่ 2 ระบบย่อย คือระบบ LTE (Long Term Evolution) และระบบ Wi-MAX ซึ่งระบบ LTE ได้รับความสูงกว่าและใช้กันทั่วโลก ในขณะที่ระบบ Wi-MAX นิยมใช้กันในบางประเทศเท่านั้น เช่น ญี่ปุ่น ไต้หวัน และบังกลาเทศ เป็นต้น

อ้างอิง http://www.xn--12cg1cxchd0a2gzc1c5d5a.net/ระบบ-4g-คืออะไร-มีประโยชน์อย่างไร/

นางสาวเสาวลักษณ์ ทองอ้ม กล่าวว่า...

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
ใน สังคมปัจจุบันไม่ว่าใครจะอยู่ที่ใด แม้ในเมืองหรือชนบทก็ตาม ย่อมมีการติดต่อสื่อสารกับบุคคลหรือสังคมอื่นอยู่เสมอไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็นหรือการรับรู้ข้อมูลข่าวสารในชีวิตประจำ วันด้วยสื่อต่าง ๆ เช่นวิทยุโทรทัศน์ โทรศัพท์ โทรสาร ล้วนเป็นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทั้งสิ้น นอกจากนี้ยังใช้เทคโนโลยีเครื่องมือหรือกลไกเพื่ออำนวยความสะดวก เช่น การถอนเงินจากเครื่องจ่ายเงินอัตโนมัติ การสแกนลายนิ้วมือการเข้าปฏิบัติงานในสำนักงาน การจ่ายค่าโดยสารรถไฟฟ้าผ่านบัตรแถบแม่เหล็ก เป็นต้น
อ้างอิง_http://gangza-yui01.blogspot.com/p/blog-page_2734.html?m=1
การบัญชี 56125210120

Unknown กล่าวว่า...

นางสาวเสาวลักษณ์ เช่นชาย
สาขาการประถมศึกษา
รหัส56191880235
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในอนาคต

จากการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อประกอบการจัดทำภาพการศึกษาไทยในอนาคต 10-20 ปีข้างหน้าของสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ( 2552 : 53-58 ) ได้ให้ความหมายของเทคโนโลยี หมายถึงวิทยาการที่นำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ไม่ว่าทางใด ในการนี้ Freeman Dyson ได้เสนอทิศทางของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในสหัสวรรษใหม่ ออกเป็น 3 ด้าน คือ 1) ด้านพลังงาน พลังงานแสงอาทิตย์ เป็นพลังงานทดแทนที่สะอาด และเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ การใช้พลังงานแสงอาทิตย์ 2) ด้านสุขภาพและอาหาร หน่วยพันธุ์กรรมหรือยีน (gene) และ3) ด้านการติดต่อสื่อสาร อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง (broadband internet) ถือเป็นเทคโนโลยีที่ได้รับความสนใจอย่างต่อเนื่อง ทำให้การส่งข้อมูลเป็นไปด้วยความรวดเร็วมากขึ้นและสามารถติดต่อสื่อสารกันระหว่างชุมชนเมืองกับชุมชนชุมชนบทได้คล่องตัวขึ้น

จากการสำรวจของสถาบันวิจัยระดับโลกเช่น MIT, Battelle NISTEPและRand ในปี พ.ศ.2548-2549 พบว่า เทคโนโลยีอุบัติใหม่ (emerging technology) ที่เกิดขึ้นในโลก สามารถจัดกลุ่มได้ 4 กลุ่มหลัก คือ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยีชีวภาพ นาโนเทคโนโลยี เทคโนโลยีวัสดุและเทคโนโลยีอื่น โดยทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยีในภาพรวมจะเป็นไปใน 3 ลักษณะคือ 1) เทคโนโลยีในสาขาต่าง ๆ จะเชื่อมโยงกันมากขึ้น ในลักษณะของสหสาขาวิทยาการ 2) เทคโนโลยีในแต่ละสาขาจะแตกแขนงในเชิงลึกมากขึ้นเพื่อสร้างความรู้ใหม่ และ 3) เทคโนโลยีจะเป็นเครื่องมือในการเข้าถึงความรู้

Unknown กล่าวว่า...

สำหรับผู้เดินทาง สิ่งจำเป็นคืออุปกรณ์สื่อสาร แผนที่ ระบบนำทาง อาจรวมไปถึงคอมพิวเตอร์ที่เก็บรวบรวมข้อมูลต่างๆ ซึ่งก็ไม่พ้นต้องที่ต้องพึ่งพาพลังงานไฟฟ้า ที่อาจหาได้ยากหากเป็นถิ่นทุรกันดาร หากแต่นวัตกรรมสายพันธุ์ใหม่ที่ชื่อว่า “Earl” อาจเป็นทางออกที่พึ่งพาได้

“Earl” เป็นชื่อของนวัตกรรมแท็บเล็ตมาจากชื่อของผู้พัฒนา ออกแบบเพื่อความอยู่รอดสำหรับผู้เดินทางในป่าหรือถิ่นทุรกันดารด้วยคุณสมบัติเพื่อการใช้งานอย่างครบครัน ที่สำคัญให้การพึ่งพาพลังงานจากแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ด้วยการเก็บเกี่ยวแสงแดดจ้าเป็นเวลา 5 ชั่วโมง เพื่อการใช้งานได้ถึง 20 ชั่วโมง

โดยแท็บเล็ตทรงพลังนี้ มาพร้อมกับระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ในแบบหน้าจอสัมผัส อำนวยความอยู่รอดด้วยระบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นระบบสื่อวาร ระบบนำทาง ระบบตรวจสอบสภาพแวดล้อม อีกทั้งมีคุณสมบัติจากฮาร์ดแวร์ภายในด้วยระบบมอเตอร์ควบคุม gyroscopic อุณหภูมิความชื้น เซ็นเซอร์ความกดดันอากาศ เข็มทิศ รวมถึงมีชิปเซ็ตจีพีเอสที่จะช่วยในการอ่านสถานที่ตั้ง ทิศทาง ความสูงและแปลงพิกัดบนพื้นที่กว่า 300,000 เส้นทางจากเว็บไซต์ everytrail.com

นอกจากนั้น แท็บเล็ตพันธุ์อึดยังสามารถวัดอัตราการเต้นของหัวใจและเชื่อมต่อ ANT + หรือบลูทูธ 4.0 เป็นวิทยุสื่อสารกับตัวรับส่งสัญญาณ FRS, GMRS และ MURS ให้การเชื่อมต่อได้ทั้งระบบดิจิตอลและอนาล็อก ผู้ใช้สามารถส่งข้อความหรือใช้เป็นวอคกี้ทอคกี้ได้ และยังให้ความบันเทิงด้วยภาครับสัญญาณวิทยุ AM / FM ในขณะเดียวกันการเข้ารหัสข้อความพื้นที่เฉพาะ( SAME) ยังสามารถส่งมอบข้อมูลจากช่องอากาศ NOAA มีลำโพง 1 วัตต์ที่กันน้ำ พร้อมคุณสมบัติตัวเครื่องที่ทนทานต่อฝุ่นรวมถึงโคลน และยังสามารถอ่านไฟล์ PDF, EPUB และรูปแบบ MOBI ได้อีกด้วย
นางสาว เบญจพร พรมมี สาขา การบัญชี หมู่2 รหัส 56125210242

Unknown กล่าวว่า...

สำหรับผู้เดินทาง สิ่งจำเป็นคืออุปกรณ์สื่อสาร แผนที่ ระบบนำทาง อาจรวมไปถึงคอมพิวเตอร์ที่เก็บรวบรวมข้อมูลต่างๆ ซึ่งก็ไม่พ้นต้องที่ต้องพึ่งพาพลังงานไฟฟ้า ที่อาจหาได้ยากหากเป็นถิ่นทุรกันดาร หากแต่นวัตกรรมสายพันธุ์ใหม่ที่ชื่อว่า “Earl” อาจเป็นทางออกที่พึ่งพาได้

“Earl” เป็นชื่อของนวัตกรรมแท็บเล็ตมาจากชื่อของผู้พัฒนา ออกแบบเพื่อความอยู่รอดสำหรับผู้เดินทางในป่าหรือถิ่นทุรกันดารด้วยคุณสมบัติเพื่อการใช้งานอย่างครบครัน ที่สำคัญให้การพึ่งพาพลังงานจากแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ด้วยการเก็บเกี่ยวแสงแดดจ้าเป็นเวลา 5 ชั่วโมง เพื่อการใช้งานได้ถึง 20 ชั่วโมง

โดยแท็บเล็ตทรงพลังนี้ มาพร้อมกับระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ในแบบหน้าจอสัมผัส อำนวยความอยู่รอดด้วยระบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นระบบสื่อวาร ระบบนำทาง ระบบตรวจสอบสภาพแวดล้อม อีกทั้งมีคุณสมบัติจากฮาร์ดแวร์ภายในด้วยระบบมอเตอร์ควบคุม gyroscopic อุณหภูมิความชื้น เซ็นเซอร์ความกดดันอากาศ เข็มทิศ รวมถึงมีชิปเซ็ตจีพีเอสที่จะช่วยในการอ่านสถานที่ตั้ง ทิศทาง ความสูงและแปลงพิกัดบนพื้นที่กว่า 300,000 เส้นทางจากเว็บไซต์ everytrail.com

นอกจากนั้น แท็บเล็ตพันธุ์อึดยังสามารถวัดอัตราการเต้นของหัวใจและเชื่อมต่อ ANT + หรือบลูทูธ 4.0 เป็นวิทยุสื่อสารกับตัวรับส่งสัญญาณ FRS, GMRS และ MURS ให้การเชื่อมต่อได้ทั้งระบบดิจิตอลและอนาล็อก ผู้ใช้สามารถส่งข้อความหรือใช้เป็นวอคกี้ทอคกี้ได้ และยังให้ความบันเทิงด้วยภาครับสัญญาณวิทยุ AM / FM ในขณะเดียวกันการเข้ารหัสข้อความพื้นที่เฉพาะ( SAME) ยังสามารถส่งมอบข้อมูลจากช่องอากาศ NOAA มีลำโพง 1 วัตต์ที่กันน้ำ พร้อมคุณสมบัติตัวเครื่องที่ทนทานต่อฝุ่นรวมถึงโคลน และยังสามารถอ่านไฟล์ PDF, EPUB และรูปแบบ MOBI ได้อีกด้วย
นางสาวเบญจพร พรมมี สาขาการบัญชี
รหัส 56125210242

Unknown กล่าวว่า...

ตัวอย่างเทคโนโลยีสมัยใหม่
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่ไม่หยุดนิ่งทำให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์รอบตัวได้รับการพัฒนาให้มีความฉลาดมากขึ้น ซึ่งบางแบรนด์ได้ปูทางการดำเนินธุรกิจสู่ปี 2015 ด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่แง้มออกมาในปี 2014 ดังนั้นไปดูกันดีกว่าจะมีเทคโนโลยีใดบ้านที่น่าจับตามองและมีโอกาสจะเกิดขึ้นในปี 2015 ที่กำลังจะมาถึง
1. Apple Watch
การแก้ไขปัญหาและพัฒนาความน่าใช้จาก Windows 8 ได้นำมาสู่ Windows 10 แพลตฟอร์มรุ่นใหม่ล่าสุดจาก Microsoft พร้อมคอนเซปต์ "One Windows" หรืออาจกล่าวได้ว่าระบบปฏิบัติการเดียวรันได้ทุกอุปกรณ์ ซึ่งในวันที่ 21 มกราคม 2015 Microsoft ก็พร้อมแล้วที่จะแนะนำฟีเจอร์ต่างๆ ที่เหมาะสำหรับผู้ใช้ทั่วไปแบบจัดเต็ม
2. Windows 10
การแก้ไขปัญหาและพัฒนาความน่าใช้จาก Windows 8 ได้นำมาสู่ Windows 10แพลตฟอร์มรุ่นใหม่ล่าสุดจาก Microsoft พร้อมคอนเซปต์ "One Windows" หรืออาจกล่าวได้ว่าระบบปฏิบัติการเดียวรันได้ทุกอุปกรณ์ ซึ่งในวันที่ 21 มกราคม 2015 Microsoft ก็พร้อมแล้วที่จะแนะนำฟีเจอร์ต่างๆ ที่เหมาะสำหรับผู้ใช้ทั่วไปแบบจัดเต็ม
3. Samsung Galaxy S6
แน่นอนว่าในปี 2015 เป็นปีที่ Samsung หมายมั่นปั้นมือที่จะกลับมาทวงชื่อเสียงด้านนวัตกรรมอีกครั้งหนึ่ง หลังจากในปี 2014 ต้องประสบกับสภาวะการถดถอยในตลาดสมาร์ทโฟน โดยมีผลพวงมาจากดีไซน์สมาร์ทโฟนที่ไม่โดนใจผู้ใช้ ดังนั้นข่าวลือของ "Project Zero" กับการออกแบบใหม่หมดตั้งแต่หัวจรดเท้าให้กับ Galaxy S6 จึงเปรียบเสมือนความหวังของ Samsung ที่จะเชิญชวนให้ผู้ใช้หันกลับมาเลือกสมาร์ทโฟนพวกเขาเป็นลำดับแรกอีกครั้ง
4. Smartwatch จาก Samsung
แม้ในปี 2014 Samsung จะทยอยเปิดตัว Smartwatch ของตัวเองหลากหลายรุ่น แต่ยังไม่อาจกล่าวได้ว่าสร้างความสำเร็จให้กับแบรนด์ดังจากเกาหลี ฉะนั้นในปี 2015 จึงมีแนวโน้มที่ Samsung จะปล่อยอุปกรณ์ประเภท Wearable computers ออกมายั่วผู้นิยมชมชอบแก็ดเจ็ตนำสมัยอีกเช่นเคย
5. หน้าจอทัชสกรีนแบบบิดงอ ยืดหยุ่นได้
ยังคงเป็นเรื่องจาก Samsung อีกเช่นกัน หลังเคยออกตัวเรื่องการผลิตและแผนการเปิดตัวอุปกรณ์ที่มาพร้อมกับ Bendable Screen หรือหน้าจอทัชสกรีนแบบบิดงอ ยืดหยุ่นได้ ทำให้ปี 2015 เราจึงหวังที่จะได้พบกับความแปลกใหม่ของอุปกรณ์ที่มีความยืดหยุ่นจาก Samsung เป็นต้น
นางสาวฝนทิพย์ เทาศิริ สาขาการบันชี หมู่ 2
56125210221

Unknown กล่าวว่า...

นางสาวอนุชิฎา อินทร์ตา
รหัสนักศึกษา 56191880219
สาขา การประถมศึกษา

ระบบ 4G คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร

ระบบ 4G คือระบบสื่อสารไร้สายความเร็วสูงยุคที่ 4 ซึ่งเป็นระบบที่สามารถรับส่งข้อมูลได้เร็วมาก สูงสุดถึง 100 Mbps
ในขณะประเทศไทยกำลังตื่นเต้นกับระบบ 3G คลื่น 2100 MHz ที่เพิ่มประมูลไปเมื่อปี พ.ศ. 2555 โดยมีผู้ได้รับใบอนุญาต 3 ราย คือ DTAC, AIS และ True ปรากฏว่า DTAC และ AIS นำคลื่นที่ประมูลได้ไปสร้างระบบ 3G ในขณะที่ TRUE นำคลื่นดังกล่าวไปทำระบบ 4G
ระบบ 4G
ระบบ 3G นั้นสามารถทำให้เราใช้ระบบไร้สายความเร็วสูงได้เป็นอย่างดี บางระบบความเร็วสูงถึง 72 Mbps แต่ว่าระบบ 3G ทั่วไปที่เราใช้อยู่ยังไม่สามารถทำงานบางอย่างได้ดีนัก เช่น การรับชมวิดีโอระดับความละเอียดสูง (High Definition) การเรียนการสอนทางไกล และการผ่าตัดผ่านระบบวิดีโอความละเอียดสูง เป็นต้น
ดังนั้นระบบ 4G ได้เข้ามาช่วยเสริมระบบ 3G ในจุดที่ยังทำงานได้ไม่ดีเท่าที่ควรนั่นเอง
ระบบ 4G ที่นิยมใช้กันมีอยู่ 2 ระบบย่อย คือระบบ LTE (Long Term Evolution) และระบบ Wi-MAX ซึ่งระบบ LTE ได้รับความสูงกว่าและใช้กันทั่วโลก ในขณะที่ระบบ Wi-MAX นิยมใช้กันในบางประเทศเท่านั้น เช่น ญี่ปุ่น ไต้หวัน และบังกลาเทศ เป็นต้น

อ้างอิง http://www.xn--12cg1cxchd0a2gzc1c5d5a.net/ระบบ-4g-คืออะไร-มีประโยชน์อย่างไร/

Unknown กล่าวว่า...

นางสาวอนุชิฎา อินทร์ตา
รหัสนักศึกษา 56191880219
สาขา การประถมศึกษา

ระบบ 4G คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร

ระบบ 4G คือระบบสื่อสารไร้สายความเร็วสูงยุคที่ 4 ซึ่งเป็นระบบที่สามารถรับส่งข้อมูลได้เร็วมาก สูงสุดถึง 100 Mbps
ในขณะประเทศไทยกำลังตื่นเต้นกับระบบ 3G คลื่น 2100 MHz ที่เพิ่มประมูลไปเมื่อปี พ.ศ. 2555 โดยมีผู้ได้รับใบอนุญาต 3 ราย คือ DTAC, AIS และ True ปรากฏว่า DTAC และ AIS นำคลื่นที่ประมูลได้ไปสร้างระบบ 3G ในขณะที่ TRUE นำคลื่นดังกล่าวไปทำระบบ 4G
ระบบ 4G
ระบบ 3G นั้นสามารถทำให้เราใช้ระบบไร้สายความเร็วสูงได้เป็นอย่างดี บางระบบความเร็วสูงถึง 72 Mbps แต่ว่าระบบ 3G ทั่วไปที่เราใช้อยู่ยังไม่สามารถทำงานบางอย่างได้ดีนัก เช่น การรับชมวิดีโอระดับความละเอียดสูง (High Definition) การเรียนการสอนทางไกล และการผ่าตัดผ่านระบบวิดีโอความละเอียดสูง เป็นต้น
ดังนั้นระบบ 4G ได้เข้ามาช่วยเสริมระบบ 3G ในจุดที่ยังทำงานได้ไม่ดีเท่าที่ควรนั่นเอง
ระบบ 4G ที่นิยมใช้กันมีอยู่ 2 ระบบย่อย คือระบบ LTE (Long Term Evolution) และระบบ Wi-MAX ซึ่งระบบ LTE ได้รับความสูงกว่าและใช้กันทั่วโลก ในขณะที่ระบบ Wi-MAX นิยมใช้กันในบางประเทศเท่านั้น เช่น ญี่ปุ่น ไต้หวัน และบังกลาเทศ เป็นต้น

อ้างอิง http://www.xn--12cg1cxchd0a2gzc1c5d5a.net/ระบบ-4g-คืออะไร-มีประโยชน์อย่างไร/

Unknown กล่าวว่า...

นางสาว ณัฐถธิดา บาศรี
รหัส 56125210123
สาขา การบัญชี หมู่ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
ใน สังคมปัจจุบันไม่ว่าใครจะอยู่ที่ใด แม้ในเมืองหรือชนบทก็ตาม ย่อมมีการติดต่อสื่อสารกับบุคคลหรือสังคมอื่นอยู่เสมอไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็นหรือการรับรู้ข้อมูลข่าวสารในชีวิตประจำ วันด้วยสื่อต่าง ๆ เช่น หนังสือพิมพ์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ โทรศัพท์ โทรสาร ล้วนเป็นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทั้งสิ้น นอกจากนี้ยังใช้เทคโนโลยีเครื่องมือหรือกลไกเพื่ออำนวยความสะดวก เช่น การถอนเงินจากเครื่องจ่ายเงินอัตโนมัติ (ATM : Automatic Teller/Technology Machine) การสแกนลายนิ้วมือการเข้าปฏิบัติงานในสำนักงาน การจ่ายค่าโดยสารรถไฟฟ้าผ่านบัตรแถบแม่เหล็ก เป็นต้น เหล่านี้เป็นตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน ยิ่งไปกว่านั้น ความเจริญก้าวหน้าของวิทยาการใหม่ ๆ ก่อให้เกิด เครื่องมือหรือวิธีการในการอำนวยความสะดวกในการใช้บริการอย่างรวดเร็ว เช่น การทำบัตรประจำตัวประชาชน สามารถให้บริการโดยเชื่อมต่อ ระบบออนไลน์ (online system) ซึ่งเป็นระบบสายตรงที่มีประโยชน์มาก และเป็นตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่จำเป็น กรณีตัวอย่าง เช่น การรับบริการรักษาพยาบาลตามโรงพยาบาล ปัจจุบันใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาบริหารจัดการ โดยผู้ป่วยสามารถบอกชื่อนามสกุลที่ถูกต้อง เจ้าหน้าที่ก็สามารถเรียกเวชระเบียนออกมาได้อย่างรวดเร็ว เพราะโรงพยาบาลมีระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เชื่อมโยงกันอย่างทั่วถึง ทำให้เวชระเบียนที่อยู่ในรูปแบบของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ถูกส่งจาก คอมพิวเตอร์แม่ข่ายไปปรากฏบนจอคอมพิวเตอร์ในห้องตรวจของแพทย์ได้ทันที เมื่อแพทย์ทำการตรวจวินิจฉัยโรค สามารถสั่งการรักษาหรือสั่งยา จากห้องแพทย์ไปสู่แผนกเอ็กซเรย์ แผนกจ่ายยา ได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
ที่มา:
http://gangza-yui01.blogspot.com/p/blog-page_2734.html?m=1

สุสิตา กล่าวว่า...

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
ใน สังคมปัจจุบันไม่ว่าใครจะอยู่ที่ใด แม้ในเมืองหรือชนบทก็ตาม ย่อมมีการติดต่อสื่อสารกับบุคคลหรือสังคมอื่นอยู่เสมอไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็นหรือการรับรู้ข้อมูลข่าวสารในชีวิตประจำ วันด้วยสื่อต่าง ๆ เช่นวิทยุโทรทัศน์ โทรศัพท์ โทรสาร ล้วนเป็นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทั้งสิ้น นอกจากนี้ยังใช้เทคโนโลยีเครื่องมือหรือกลไกเพื่ออำนวยความสะดวก เช่น การถอนเงินจากเครื่องจ่ายเงินอัตโนมัติ การสแกนลายนิ้วมือการเข้าปฏิบัติงานในสำนักงาน การจ่ายค่าโดยสารรถไฟฟ้าผ่านบัตรแถบแม่เหล็ก เป็นต้น
อ้างอิง_http://gangza-yui01.blogspot.com/p/blog-page_2734.html?m=1
นางสาว สุสิตา เกตสระ

การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึม

หลักการเขียนโปรแกรม องค์ประกอบของประโยคคำสั่ง ชนิดของข้อมูล โครงสร้างข้อมูลแบบอาร์เรย์ โครงสร้างคำสั่งแบบลำดับ โครงสร้างคำสั่งแบบวนซ้ำ การ...