วันอังคารที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

ระบบสารสนเทศมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

ระบบสารสนเทศ หรือระบบงานด้านสารสนเทศในมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

  1. ชื่อระบบสารสนเทศ ,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,
  2. ลักษณะงาน ,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,
  3. มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร ...................
  4. เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร .......................

203 ความคิดเห็น:

1 – 200 จาก 203   ใหม่กว่า›   ใหม่ที่สุด»
Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น


1.นางสาวจิตรา บุญยงศ์ 55191010216
2.นางสาวจิรัฐิกานต์ ช่วงชัยชนะ 55191010219
3.นางสาวนริศรา จิตตโคตร 55191010229
สาขา ภาษาไทย
4.นายอานันท์ ทองมนต์ 56191440310
สาขา คอมพิวเตอร์

Unknown กล่าวว่า...

นางสาวกิตติมา พันธ์จันทร์ 55191010206 ภาษาไทย
นายขจรศักดิ์ กงล้อม 55191010207 ภาษาไทย
นางสาวปทิตตา บุญชิต 55191010235 ภาษาไทย
ตอบ
1.ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบเอทีเอ็ม
2.ลักษณะงาน : ATM เป็นมาตรฐานรูปแบบการส่งข้อมูลความเร็วสูงที่ถูกพัฒนามาสำหรับงานที่ต้องการความเร็วในการส่งข้อมูลสูงมาก ๆ ข้อมูลที่ส่งในเครือข่าย ATM จะถูกแบ่งเป็นกลุ่มย่อยเล็ก ๆ เรียกว่า เซลล์ (Cell) ซึ่งมีขนาด 53 byte ประกอบด้วยส่วนข้อมูล (payload) ขนาด 48 byte และส่วนหัว (header) ขนาด 5 byte ส่วนหัวจะเก็บข้อมูลที่จำเป็น ต่าง ๆ ที่ใช้ในการควบคุมการส่ง เช่น จุดหมายปลายทาง ระดับความสำคัญของ cell นั้น โดยจะ ประกอบด้วย VPI (Virtual Path Identifier) และ VCI (Virtual Circuit Identifier) ทำหน้าที่กำหนดวงจรเสมือน (virtual circuit) ในการเดินทางให้กับเซลล์นั้น และ HEC (Header Error Check) ทำหน้าที่ตรวจสอบ cell ที่ไม่สอดคล้องตามที่ระบุในส่วนหัว สวิตซ์ ATM จะทำหน้าที่ในการมัลติเพลกซ์และจัดการส่งข้อมูลนั้นตามที่กำหนดไว้ในส่วนหัวไปสู่ปลายทาง เมื่อข้อมูลของผู้ใช้เข้ามา จะถูกตัดแบ่งย่อยเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 48 byte และเติมส่วนหัวเข้าไป อีก 5 byte แล้วจึงส่งไปตามเส้นทางต่าง ๆ ในเครือข่าย ATM ซึ่งระบุไว้โดยส่วนหัว เมื่อถึงปลาย ทางแล้วก็จะเอาส่วนหัวออก แล้วประกอบกันเป็นข้อมูลชิ้นใหญ่เหมือนเดิม ลักษณะของ ATM นี้จะคล้ายกับ packet-switching network อื่นๆ ที่มีอยู่ เช่น x.25 หรือ frame relay แต่ต่างกันที่ ATM จะมีขนาด packet เล็กและคงที่
3. มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร : 1. ATM ถูกพัฒนาให้เป็นมาตรฐานกลางของการสื่อสารทั่วโลก อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถทำงาน ร่วมกันได้ถึงแม้จะต่างชนิดกัน โดยใช้มาตรฐานเดียวกัน ไม่จำเป็นต้องเป็นยี่ห้อหนึ่งยี่ห้อใด กล่าวคือ เป็นมาตรฐานกลางที่ร่วมกันกำหนดขึ้นเพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้ร่วมกัน
2. ATM ถูกพัฒนาเพื่อการส่งข้อมูล สำหรับทั้งเครือข่ายภายในระยะใกล้ (LAN : Local Area Network) และ ระยะไกล (Wide Area Network : WAN) แต่เดิมนั้นรูปแบบของการส่งข้อมูลใน LAN และ WAN จะแตกต่างกัน ซึ่งสร้างความยุ่งยากในการเชื่อมต่อและบริหารเครือข่าย แต่ ATM จะผนวกทั้ง LAN และ WAN เข้าเป็นเครือข่ายใหญ่ที่มีมาตรฐานเดียว
3. ATM ถูกพัฒนาให้ใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบ แต่เดิมนั้นข้อมูลแต่ละรูปแบบไดเแก่ สัญญาณเสียง (voice) ข้อมูล (data) และภาพเคลื่อนไหว (video) ต่างก็มีเครือข่ายของตนเอง โดยสัญญาณเสียงที่ใช้ในเครือข่ายโทรศัพท์จะมีลักษณะที่มีอัตราการส่งข้อมูลคง ที่เท่า ๆ กันตลอดเวลา ข้อมูลเสียงอาจยอมให้มีการสูญเสีย (error) ได้บ้าง แต่จะต้อง ให้มีการหน่วงเวลา (delay) น้อยที่สุด ส่วนข้อมูลของคอมพิวเตอร์ (data) ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จะมีอัตราการส่งข้อมูลไม่คงที่ มีลักษณะเป็น bursty คือ บางเวลาจะมีข้อัมูลมากเป็นกลุ่มก้อน แต่บางเวลาก์ไม่มีข้อมูลเข้ามาเลย ลักษณะนี้เรายอมให้มีการหน่วงเวลาได้บ้าง แต่จะให้มีการสูญเสีย (error) ให้น้อย ที่สุด จะเห็นว่าข้อมูลต่างลักษณะกัน ต้องการคุณภาพในกรส่งที่ต่างประเด็นกัน สำหรับ ATM เราไม่จำเป็นต้องแยกเครือข่ายสำหรับข้อมูลเหล่านี้ เนื่องจากมันถูกออก แบบมาเพื่อใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบทั้งเสียง (voice), ข้อมูล (data) และ วิดีโอ (video) นั่นเอง
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร : ช่วยอำนวยความสะดวกสบายในการ ถอนเงิน โอนเงิน เช็กยอดเงิน ชำระค่าบริการต่างๆ ไม่เสียเวลาในการเดินทางไปธนาคาร เพราะมีอยู่ทั่วทุกพื้นที่

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อระบบสารสนทศ : เครื่องเบิก-ถอนเงินอัตโนมัติ
ลักษณะงาน : การฝาก ถอน โอนเงิน
มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร : เพื่ออำนวยความสะดวกในการฝาก ถอน โอนเงิน และนำคอมพิวเตอร์ระบบ
ออนไลน์และออฟไลน์เข้ามาช่วยในการทำงานประจำวันของธนาคารด้วยการเชื่อมโยงข้อมูลของธนาคารต่างสาขา ต่างธนาคาร ทำให้ผู้ใช้บริการสามารถเบิก ถอน โอนเงินชำระเงินค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ได้โดยสะดวก
เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร : 1.สะดวกในการฝาก ถอนและโอนเงิน

คณายุทธิ์ เครือแสง 55191010211 สาขาภาษาไทย
จิรประภา บุญเสนอ 55191010218 สาขาภาษาไทย
ปวีณา แสนหยุด 55191010236 สาขาภาษาไทย
สิปไท สายพญาศรี 56191440301 สาขาคอมพิวเตอร์

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นายเกรียงศักดิ์ สมัครสมาน รหัส 55191010232
นายธีรศักดิ์ สุดสวาสดิ์ รหัส 55191010233
นายอนุพร คุณประโยชน์ รหัส 55191010335
ค.บ.ภาษาไทย 5/2
1.ชื่อระบบสารสนเทศ การเช๊คผลการเรียนออนไลน์
2.ลักษณะงาน เป็นหน้าเพจ เพจหนึ่งที่มีอยู่ในเว็บเพจของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ไว้บริการนักศึกษาเพื่อตรวจสอบผลการเรียนในระบบแบบออนไลน์
3.ประโยชน์ต่อหน่วยงาน ทำให้ง่ายต่อการจัดระบบและสามารถช่วยลดขั้นตอนที่นักศึกษาต้องเข้ามายังสำนักส่งเสริมฯ เพื่อติดต่อดำเนินการขอเช็คผลการเรียน
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษา สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลาในการเช๊คผลการเรียน นักศึกษาสามารถเข้าถึงได้ทุกที่ ที่มีอินเตอร์เน็ต

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใฃ้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในเรื่องของการให้บริการห้องสมุด
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน : ทำให้สะดวกในการจัดหนังสือ
ง่ายต่อการยืม-คืนหนังสือ ค้นหาข้อมูลหนังสือที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา : ยืม - คืนหนังสือได้อย่างรวดเร็ว
ค้นหาหนังสือได้ตามต้องการ


1. นางสาวเกษศิรินทร์ เพ็ญสวรรค์ 55191010204
2. นางสาวกาญจนา ประดับสุข 55191010205
3. นางสาวจุฑามาศ เผือกแก้ว 55191010221
สาขาภาษาไทย

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ชื่อ : เช็คเกรดออนไลน์
ลักษณะงาน : เป็นการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการประกาศผลการเรียนในแต่ละภาคเรียนเพื่อความสะดวกและความรวดเร็วในการดูผลการเรียนของนักศึกษา
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการสืบค้นผลการเรียน
- เป็นการเพิ่มความสะดวกในการค้นหาผลการเรียน
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา
- นักศึกษาสามารถทราบผลการเรียนของตนโดยง่าย
- นักศึกษาสามารถดำเนินการแก้ไขผลการเรียนในรายวิชาที่มีปัญหาได้ง่าย


1. นางสาวจุฑาภรณ์ วิเชียรรัมย์ 55191010220
2. นางสาวจุฬารัตน์ สังเกตกิจ 55191010222
3. นางสาวนิสายชล คำสวัสดิ์ 55191010234
สาขาภาษาไทย หมู่เรียนที่ 2

Unknown กล่าวว่า...

ระบบสืบค้นในห้องสมุด
ลักษณะงาน ใช้สืบค้นหนังสือที่เราต้องการหาว่าอยู่ในชั้นใด หมวดอะไร เพื่อสะดวกในการค้นหา
ประโยชน์ของหน่วยงานห้องสมุด
1.ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
2.ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา
1. ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ

นางสาวขัตติยา สุขรอบ 55191010210
นางสาวเจนจิรา เดือนเพ็ง 55191010212
นางสาวนงเยาว์ ชื่นบาน 55191010228
สาขาภาษาไทย หมู่ 2

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ชื่อ.ระบบลงทะเบียนออนไลน์
ลักษณะงาน .มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการ ในระบบการศึกษาที่รวดเร็วมากขึ้น
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน:
-มีความสะดวกรวดเร็วต่อหน่วยงานสถานศึกษา
-มีความเป็นระบบต่อหน่วยงาน
-มีความรวดเร็วต่อนักศึกษา
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา
-การใช่งานอย่างมีระบบและรวดเร็วต่อการศึกษา
-มีความเป็นมาตรฐาน


1.นางสาวจาริยา แก่นการ 55191600111
2นางสาวจุฑารัตน์ รัตนวรรณ 55191600114
3.นางสาวบังอร เสาทอง 55191600136
สาขาวิขาคหกรรมศาสตร์คบ.5/2 หมู่1

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อระบบสารสนเทศ ระบบกองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
ลักษณะงาน ให้บริการและดำเนินงานกองทุนกู้ยืมแก่นักศึกษา
มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร
เพื่อให้เงินกู้ยืมแก่นักเรียน หรือนักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์เพื่อเป็นค่าเล่าเรียน ค่าใช้จ่ายที่ เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา และค่าใช้จ่ายที่จำเป็นในการครองชีพระหว่างศึกษา โดยให้เงินกู้ยืมแก่นักเรียนนักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (สายสามัญและสายอาชีพ) จนถึงระดับปริญญาตรี
เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร
นักศึกษามีโอกาสได้รับการศึกษาที่เท่าเทียมกับบุคคลอื่น

นางสาวกนิษฐา หงศิริ รหัสนักศึกษา 55191010202
นางสาวขวัญชนก สำราญ รหัสนักศึกษา 55191010208
นางสาวตันหยง พงษ์สุวรรณ์ รหัสนักศึกษา 55191010226

Unknown กล่าวว่า...
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ : การเช็คเกรดออนไลน์
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการเช็คเกรดเพื่อให้สะดวกต่อการเช็คเกรดได้รวดเร็วขึ้น
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน
-ทำให้สะดวกรวดเร็วในการแก้ไขผลการเรียน
ทำให้สะดวกในการตรวจเช็คผลการเรียนของนักศึกษา
ประโยชน์ต่อนักศึกษา
- ทำให้ง่ายต่อการเช็คผลการเรียน
-เช็คผลการเรียนได้รวดเร็วขึ้น


1. นางสาวจุฑาภรณ์ วิเชียรรัมย์ 55191010220
2. นางสาวจุฬารัตน์ สังเกตกิจ 55191010222
3. นางสาวนิสายชล คำสวัสดิ์ 55191010234

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
-ง่ายต่อการค้นหาหนังสือ
-ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น

1.นางสาวยุภา ศรีเวียง 55191600212
2.นางสาวพันธ์ทิพย์ รายณสุข 55191600205
สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ ค.บ.5/2 หมู่2

Unknown กล่าวว่า...

ระบบสารสนเทศมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
1. ชื่อระบบสารสนเทศ
-ตู้ ATM ธนาคารกรุงเทพ
2. ลักษณะงาน มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร
-ดำเนินความสะดวก เรียบง่าย รวดเร็ว ประหยัดเวลา
3. เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร
-สะดวกสบายในการดำเนินชีวิต ไม่ต้องยุ่งยากมากมาย
-ฝาก-ถอนเงิน ได้อย่างง่ายและรวดเร็ว
นางสาวนัดอนงค์ บุญเลื่อน ค.บ. 5/2 หมู่ 2 ภาษาไทย รหัสนักศึกษา 55191010231
นางสาวเจนจิรา สายบุตร ค.บ. 5/2 หมู่ 2 ภาษาไทย รหัสนักศึกษา 55191010213

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น

สาขาภาษาไทย
1. นางสาวกรรณิการ์ พรมวังขวา 55191010203
2. นางสาวชฎาพร โพธิสุด 55191010224
3. นางสาวปัทมา น่าชม 55191010237

Unknown กล่าวว่า...

ระบบสารสนเทศมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
1. ชื่อระบบสารสนเทศ
-ตู้ ATM ธนาคารกรุงเทพ
2. ลักษณะงาน มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร
-ดำเนินความสะดวก เรียบง่าย รวดเร็ว ประหยัดเวลา
3. เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร
-สะดวกสบายในการดำเนินชีวิต ไม่ต้องยุ่งยากมากมาย
-ฝาก-ถอนเงิน ได้อย่างง่ายและรวดเร็ว

นางสาวน้อยผกา ผาผล 55191010230 สาขาภาษาไทย
นางสาวกมลวรรณ เมียะแก้ว สาขาภาษาไทย 55191010201

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น

สาขาภาษาไทย
1. นางสาวกรรณิการ์ พรมวังขวา 55191010203
2. นางสาวชฎาพร โพธิสุด 55191010224
3. นางสาวปัทมา น่าชม 55191010237

Unknown กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ
ตอบ ระบบการลงทะเบียนออนไลน์
2.ลักษณะงาน
ตอบ โดย 1.Hardwareทำหน้าที่ในการเป็น คอม+อุปกรณ์และออนไลน์ทางอินเตอร์เน็ต
2.Software ทำงานในเรื่องโปรแกรมการลงทะเบียนออนไลน์
3.Peopleware ทำหน้าที่ในการบริหารระบบและผู้ใช้ระบบ
4.Data and Information ทำหน้าที่ในการเก็บข้อมูลนักศึกษา
5.ระบบดำเนินงาน
3.มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร
ตอบ ช่วยในการประหยัดเวลาและสะดวกรวดเร็วในการเช็คข้อมูล
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร
ตอบ นักศึกษาสามารถลงทะเบียนออนไลน์ได้อย่างสะดวกและสามารถจองวิชาเรียนหรือแก้ไขได้
นางสาวปิยะภรณ์ ไวยาประโคน
รหัส 56191860110 คบ.การศึกษาปฐมวัย

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น

สาขา รัฐประศาสนศาสตร์ (บริหารรัฐกิจ)
1.น.ส.พัชรินทร์ วนมา 55128030129
2น.ส.จริยา ศิลาไกร 55128030107
3.น.ส.ลดาวัลย์ บุญเที่ยง 55128030136
4.น.ส.นฤมล กำกับกลาง 55128030125
5.น.ส.กมลชนก สุขพล 55128030102

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

1) ชื่อระบบสารสนทศ : เครื่องเบิก-ถอนเงินอัตโนมัติ (ATM)
2) ลักษณะงาน : การฝาก ถอน โอนเงิน
3) มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร
ตอบ ATM ถูกพัฒนาให้เป็นมาตรฐานกลางของการสื่อสารทั่วโลก อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถทำงาน ร่วมกันได้ถึงแม้จะต่างชนิดกัน โดยใช้มาตรฐานเดียวกัน ไม่จำเป็นต้องเป็นยี่ห้อหนึ่งยี่ห้อใด กล่าวคือ เป็นมาตรฐานกลางที่ร่วมกันกำหนดขึ้นเพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้ร่วมกัน
4) เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร
ตอบ เพื่ออำนวยความสะดวกในการฝาก ถอน โอนเงิน และเช็กยอดเงิน ชำระค่าบริการต่างๆ ไม่เสียเวลาในการเดินทางไปธนาคาร เพราะมีอยู่ทั่วทุกพื้นที่
และสุดท้ายบัตร ATM ของมหาลัยราชภัฏสุรินทร์ใช้เป็นบัตรนักศึกษาได้อีกด้วย

นางสาวมะลิ สำคัญยิ่ง หมู่ 1 ค.บ. 5/2
สาขาภาษาไทย รหัสนักศึกษา 55191010136

Unknown กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ ,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,
ระบบการใช้งานในห้องสมุด
2.ลักษณะงาน ,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,
การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
3.มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร ...................
ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร
ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น


นางสาวราตรี หวังสำราญ 55128040239 การปกครองท้องถิ่น

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ:ระบบการลงทะเบียนเรียน
ลักษณะงาน:การนำเทคโนโลยีที่ใช้ในปัจจุบันมาพัฒนาให้มีการใช้งานได้รวดเร็วยิ่งขึ้น โดยมีเครือข่ายต่างๆให้การสนับสนุนในการใช้งาน.
มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร:
1.สะดวกรวดเร็ว
2.ไม่เสียเวลาในการใช้งาน
3.เช็คข้อมูลได้เลยไม่ต่อรอ
เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร:เกี่ยวข้องกะนักศึกษาอย่างมากเพราะถ้าไม่มีการลงทะเบียนก็จ๊ขาดวิชาเรียน เก็บหน่วยกิจไม่ได้ไม่ทันจะจบไม่ทันเพื่อน. การลงทะเบียนจึงสำคัญมากกกกก
นางสาวนุสารา วันดี 55128040203 รปศ.(การปกครองท้องถิ่น)หมุ่2

Unknown กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ
ตอบ ระบบการใช้สารสนเทศในห้องสมุด

2.ลักษณะงาน
ตอบ โดยนำระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่มาใช้งานห้องสมุด พัฒนาให้เป็นระบบอัตโนมัติ (Automated Library System)สร้างระบบเครือข่ายเชื่อมโยงระหว่างห้องสมุดมหาวิทยาลัย เพื่อให้การจัดบริการสารสนเทศมีความครบถ้วนสมบูรณ์และรวดเร็วยิ่งขึ้น เกิดระบบการใช้ทรัพยากรร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ

3.มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร
ตอบ 1.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริการสารสนเทศในระบบอัตโนมัติ ให้สนองความต้องการของผู้ใช้ให้มากที่สุด ครบถ้วน และสะดวกต่อการเข้าถึง โดยใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกันอย่างประหยัด
2.เพื่อพัฒนาห้องสมุดมหาวิทยาลัยให้เป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้และสารสนเทศที่เอื้อต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา
3.เพื่อสนับสนุนการกระจายโอกาสทางการศึกษาและความเสมอภาคทางการศึกษา โดยใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล ตามโครงการเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษาของทบวงมหาวิทยาลัย ซึ่งผู้ใช้สามารถสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากห้องสมุดได้อย่างรวดเร็วโดยผ่านระบบเครือข่ายบริการของห้องสมุดมหาวิทยาลัย
4.เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ ทั้งด้านผู้ให้บริการและผู้ใช้ห้องสมุด ให้มีความรู้และความชำนาญในการจัดการและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร
ตอบ 1.ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
2.ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
3.ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุดเกี่ยวข้องกับนักศึกษา
4.ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
5.ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
6.สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น

นางสาวจริยา อนงชัย 55128040255
รปศ.(การปกครองท้องถิ่น) หมู่ 2

เจตริน ศรีสรรงาม กล่าวว่า...
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ
ตอบ ระบบการลงทะเบียนออนไลน์
2.ลักษณะงาน
ตอบ โดย 1.Hardwareทำหน้าที่ในการเป็น คอม+อุปกรณ์และออนไลน์ทางอินเตอร์เน็ต
2.Software ทำงานในเรื่องโปรแกรมการลงทะเบียนออนไลน์
3.Peopleware ทำหน้าที่ในการบริหารระบบและผู้ใช้ระบบ
4.Data and Information ทำหน้าที่ในการเก็บข้อมูลนักศึกษา
5.ระบบดำเนินงาน
3.มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร
ตอบ ช่วยในการประหยัดเวลาและสะดวกรวดเร็วในการเช็คข้อมูล
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร
ตอบ นักศึกษาสามารถลงทะเบียนออนไลน์ได้อย่างสะดวกและสามารถจองวิชาเรียนหรือแก้ไขได้

นางสาวลักขิกา วรรณอ่อน 55128040255
รปศ.(การปกครองท้องถิ่น) หมู่ 2

เจตริน ศรีสรรงาม กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ : การลงทะเบียนเรียนในระบบออนไลน์
2. ลักษณะงาน : การจองรายวิชาที่ประสงค์จะลงทะเบียนในภาคการศึกษานั้น ผ่านระบบออนไลน์ของมหาวิทยาลัย
3. มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร :ช่วยอำนวยความสะดวกในการดำเนินงาน การตรวจสอบ การจัดเก็บข้อมูลในการลงทะเบียนเรียนของนักศึกษาให้กับบุคลากรและเจ้าหน้าที่เกี่ยวข้อง
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร :นักศึกษาสามารถเลือกลงทะเบียนเรียนวิชาต่างๆที่กำหนดไว้ในหลักสูตรได้ โดยสามารถตรวจสอบได้ทันทีว่า มีวิชาอะไรเปิดสอนบ้าง และการเรียนการสอนเป็นวันอะไรเวลาอะไร วิชานั้นๆมีผู้สมัครเรียนกี่คน เต็มจำนวนที่สามารถรับแล้วหรือไม่ ซึ่งจะทำให้มีการปรับเปลี่ยนข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ เพื่อให้นักศึกษาสามารถรับข้อมูลที่ถูกต้องและสามารถลงทะเบียนเรียนได้อย่างถูกต้อง

นายเจตริน ศรีสรรงาม
สาขาภาษาอังกฤษ ค.บ.5/2 หมู่1
55191020106

Unknown กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ ,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,
ตอบ การลงทะเบียนออนไลน์
2.ลักษณะงาน ,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,
ตอบ เป็นการนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงาน เพื่อความสะดวกรวดเร็ว ต่อการดำเนินกิจกรรมต่างๆ
3.มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร ...................
ตอบ -มีความสะดวกรวดเร็วต่อหน่วยงานสถานศึกษา
-มีความเป็นระบบต่อหน่วยงาน
-สร้างความรวดเร็วต่อพนักงาน เจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติงาน
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร .....................
ตอบ -มีความรวดเร็วต่อนักศึกษาในการลงทะเบียนเรียน

นางสาว พิณทิพย์ หวังสำราญ 55128040219
รัฐประศาสนศาสตร์ หมู่ 2







pimol กล่าวว่า...

ชิ่อ: ระบบลงทะเบียนเรียนออนไลน์
ลักษณะงาน: การใช้เทคโนโลยีสาระสนเทศมาเกี่ยวข้องในการดำเนินงาน เพื่อสะดวกในการเข้าถึงและรวดเร็ว อีกทั้งยังสามารถเชื่อมถึงกันได้อย่างไร้ขอบเขต
ประโยชน์: ทำให้ง่ายต่อการตรวจสอบการเข้าถึง และระบบเชื่อมโยงกันได้อย่างไรขอบเขตประหยัดทรัพยากร เกี่ยวข้องกับน้กศึกษาอย่างไร
-ทำให้สะดวกต่อการใช้งาน
-ง่ายต่อเข้าถึงและรวดเร็ว
-ประหยัดเวลามากกว่าเดิม

นายเกียรติศักดิ์ แก้วจรัญ 56191470116 ค.บ. ดนตรีศึกษา 5/1

pimol กล่าวว่า...

ชิ่อ: ระบบลงทะเบียนเรียนออนไลน์
ลักษณะงาน: การใช้เทคโนโลยีสาระสนเทศมาเกี่ยวข้องในการดำเนินงาน เพื่อสะดวกในการเข้าถึงและรวดเร็ว อีกทั้งยังสามารถเชื่อมถึงกันได้อย่างไร้ขอบเขต
ประโยชน์: ทำให้ง่ายต่อการตรวจสอบการเข้าถึง และระบบเชื่อมโยงกันได้อย่างไรขอบเขตประหยัดทรัพยากร เกี่ยวข้องกับน้กศึกษาอย่างไร
-ทำให้สะดวกต่อการใช้งาน
-ง่ายต่อเข้าถึงและรวดเร็ว
-ประหยัดเวลามากกว่าเดิม

นายเกียรติศักดิ์ แก้วจรัญ 56191470116 ค.บ. ดนตรีศึกษา 5/1

Unknown กล่าวว่า...
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบตู้เติมเงินออนไลน์

ลักษณะงาน: เป็นการใช้บริการการเติมเงินที่ให้ความสะดวกต่อผู้ใช้ซึ่งนำเทคโนโลยีมาใช้ ด้วยระบบแบบออนไลน์เชือมโยงไปยังเครือข่ายบนมือถือ เป็นสาระสนเทคที่เชื่อมโยงเครือข่ายต่างเข้าด้วยกัน เช่นมี 1 2 call,dtc,Ais,true move

ประโยชน์ต่อหน่วยงาน:
-สะดวกและรวดเร็ว
-ง่ายต่อการบริการ
-ประหยัดค่าใช้จ่ายของหน่วยงาน
-มีความทันสมัย
-สามารถทำงานได้ตลอด 24 ชม
-ไม่ต้องใช้คน หรือต้องจ้างพนักงาน ตู้สามารถทำงานได้เองโดยอัตโนมัติ

เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร
เนื่องจากปัจจุบันมีการสื่อสารที่มีเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามา การใช้เทคโนโลยีจึงจำเป็นที่จะนำเอามาใช้เพื่อปรับให้เข้ากับสังคมที่เปลี่ยนไป เราจึงจำเป็นต้องใช้เพื่อเพิ่มความสะดวกให้แก่เราและผู้ใช้บริการคนอื่นๆที่ต้องการใช้บรการ

นายอัณชัย พิมพ์จันทร์ 56122420102
นายทินภัทร ชื่นบาน 56122420113
นายนีรนาท ส้มสาย 56122420103
สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์

Unknown กล่าวว่า...
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
Unknown กล่าวว่า...

1. ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบเอทีเอ็ม
2.ลักษณะงาน : ระบบเอทีเอ็ม (Automatic Teller Machine : ATM) หรือระบบถอนเงิน หรือฝากเงินของธนาคารโดยอัตโนมัติ
3.มีประโยชน์ ต่อหน่วยงานอย่างไร :เป็นระบบที่อำนวยความสะดวกสบายอย่างมากให้แก่ผู้ใช้บริการธนาคาร เทคโนโลยีระบบสารสนเทศที่ได้รับการนำมาใช้เป็นกลยุทธ์ในการแข่งขันทางธุรกิจ
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร : นักศึกษามีความสะดวกสบายมากขึ้นในการ ฝากเงินและถอนเงินและบริการต่างๆโดยไม่ต้องไปถึงธนาคาร
นางสาว ภัสราภรณ์ สินสอน 55128040222 (การปกครองท้องถิ่น)

Unknown กล่าวว่า...

ระบบสารสนเทศมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
1. ชื่อระบบสารสนเทศ
-ตู้ ATM ธนาคารกรุงเทพ
2. ลักษณะงาน มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร
-ดำเนินความสะดวก เรียบง่าย รวดเร็ว ประหยัดเวลา
3. เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร
-สะดวกสบายในการดำเนินชีวิต ไม่ต้องยุ่งยากมากมาย
-ฝาก-ถอนเงิน ได้อย่างง่ายและรวดเร็ว
1.นายอณุชา นันตะชัย สาขา ฟิสิกส์ ค.บ 5/1 56191430111
2.นางสาวนฤมล เรืองสุขสุด สาขา ฟิสิกส์ ค.บ 5/1 56191430126

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบการศึกษา
ลักษณะงาน : ด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนำมาใช้เพื่ออำนวยความสะดวกในการบริหารด้านการศึกษา เช่น ระบบการลงทะเบียน และระบบการจัดตารางสอน นอกจากนี้ยังใช้เป็นเครื่องมือในการเพิ่มโอก่สทางด้านการศึกษาและเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในด้านการศึกษา
1. การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ทำให้ผู้ที่อยู่ห่างไกลหรือไม่สะดวกในการเดินทางสามารถได้รับการศึกษาเช่นเดียวกับผู้ที่อยู่ในเมือง
2. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ยังช่วยเสริมประสิทธิภาพการเรียนการสอนในวิชาต่างๆ เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ ภาษาต่างประเทศ ทำให้บทเรียนมีความน่าสนใจมากขึ้น และเกิดความเข้าใจได้ง่ายขึ้น เช่น การแสดงสถาณการณ์จำลอง แบบจำลอง ภาพเคลื่อนไหว แสงสีและเสียงประกอบ นักเรียนสามารถเตรียมตัวก่อนเรียน หรือทบทวนบทเรียนด้วยตนเองเมื่อใดก็ได้ที่มีเวลาว่าง
3. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เพิ่มโอกาสในการเรียนรู้ให้กับผู้พิการทางสายตาหรือหู
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีบทบาทต่อการถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารทางด้านการศึกษาได้เป็นอย่างดี ทั้งในและนอกสถานศึกษา หน่วยงานต่างๆ ใช้บทเรียนออนไลน์ในการฝึกอบรมพนักงานเพื่อให้ความรู้เพิ่มเติม นอกจากนี้อินเทอร์เน็ตยังเป็นแหล่งข้อมูลที่สำคัญที่ทั้งครูและนักเรียนหรือบุคคลทั่วไป ใช้สำหรับค้นหาข้อมูลเรื่องต่างๆ ในการทำรายงาน หรือเพื่อศึกษาหาความรู้ เว็บไซต์สำหรับค้นหาข้อมูลที่ใช้กันมากในปัจจุบัน เช่น google.com, ask.com, dogpile.com และ wikipedia.org ตัวอย่างการค้นหาข้อมูลจากหลักฐานข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
1. การจัดห้องสอบ
2. การพิมพ์รายชื่อนักศึกษาเพื่อการกรอกคะแนนและเกรด
3. คำนวณค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่นักศึกษาต้องจ่ายเป็นค่าลงทะเบียนเรียน
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
1. นักศึกษาตรวจสอบวิชาที่เปิดสอน ตารางสอน
2. ตรวจสอบวิชาว่าติดขัดข้อกำหนดใดหรือไม่
3. พิมพ์รายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนและคำนวณค่าใช้จ่ายการลงทะเบียน
4. พิมพ์รายงานการลงทะเบียนของนักศึกษาในแต่ละวิชา

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบการศึกษา
ลักษณะงาน : ด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนำมาใช้เพื่ออำนวยความสะดวกในการบริหารด้านการศึกษา เช่น ระบบการลงทะเบียน และระบบการจัดตารางสอน นอกจากนี้ยังใช้เป็นเครื่องมือในการเพิ่มโอก่สทางด้านการศึกษาและเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในด้านการศึกษา
1. การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ทำให้ผู้ที่อยู่ห่างไกลหรือไม่สะดวกในการเดินทางสามารถได้รับการศึกษาเช่นเดียวกับผู้ที่อยู่ในเมือง
2. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ยังช่วยเสริมประสิทธิภาพการเรียนการสอนในวิชาต่างๆ เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ ภาษาต่างประเทศ ทำให้บทเรียนมีความน่าสนใจมากขึ้น และเกิดความเข้าใจได้ง่ายขึ้น เช่น การแสดงสถาณการณ์จำลอง แบบจำลอง ภาพเคลื่อนไหว แสงสีและเสียงประกอบ นักเรียนสามารถเตรียมตัวก่อนเรียน หรือทบทวนบทเรียนด้วยตนเองเมื่อใดก็ได้ที่มีเวลาว่าง
3. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เพิ่มโอกาสในการเรียนรู้ให้กับผู้พิการทางสายตาหรือหู
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีบทบาทต่อการถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารทางด้านการศึกษาได้เป็นอย่างดี ทั้งในและนอกสถานศึกษา หน่วยงานต่างๆ ใช้บทเรียนออนไลน์ในการฝึกอบรมพนักงานเพื่อให้ความรู้เพิ่มเติม นอกจากนี้อินเทอร์เน็ตยังเป็นแหล่งข้อมูลที่สำคัญที่ทั้งครูและนักเรียนหรือบุคคลทั่วไป ใช้สำหรับค้นหาข้อมูลเรื่องต่างๆ ในการทำรายงาน หรือเพื่อศึกษาหาความรู้ เว็บไซต์สำหรับค้นหาข้อมูลที่ใช้กันมากในปัจจุบัน เช่น google.com, ask.com, dogpile.com และ wikipedia.org ตัวอย่างการค้นหาข้อมูลจากหลักฐานข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
1. การจัดห้องสอบ
2. การพิมพ์รายชื่อนักศึกษาเพื่อการกรอกคะแนนและเกรด
3. คำนวณค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่นักศึกษาต้องจ่ายเป็นค่าลงทะเบียนเรียน
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
1. นักศึกษาตรวจสอบวิชาที่เปิดสอน ตารางสอน
2. ตรวจสอบวิชาว่าติดขัดข้อกำหนดใดหรือไม่
3. พิมพ์รายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนและคำนวณค่าใช้จ่ายการลงทะเบียน
4. พิมพ์รายงานการลงทะเบียนของนักศึกษาในแต่ละวิชา


นางสาวพีรยา เพ็งน้ำคำ รหัส 56191430107
สาขาวิชา ฟิสิกส์ หมู่1

thitima kumgaw กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น


นางสาวฐิติมา คุ้มแก้ว 56191860202
ปฐมวัย คบ.5/1

panidapasee กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบในการใช้งานห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก

ประโยชน์ต่อหน่วยงาน
-สะดวกสบายในการทำงานต่างๆส่งอาจารย์
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด

เกี่ยวข้องกับนักศึกษา
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น
-และสามารถเข้าใจในหลักต่างได้ง่าย
-สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองตามความสะดวก

นางสาวพณิดา ภาษี 55128040212 รปศ.การปกครองท้องถิ่น

panidapasee กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบสารสนเทศในการใช้งานห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก

ประโยชน์ต่อหน่วยงาน
-สะดวกสบายในการทำงานต่างๆส่งอาจารย์
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด

เกี่ยวข้องกับนักศึกษา
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น
-และสามารถเข้าใจในหลักต่างได้ง่าย
-สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองตามความสะดวก

นางสาวพณิดา ภาษี 55128040212 รปศ.การปกครองท้องถิ่น

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ ระบบWifi
ลักษณะงาน จะช่วยให้คุณเชื่อมต่อได้ตลอดเวลาขณะที่คุณเดินทางด้วยการสลับจากการเชื่อมต่อ Wi‑Fi ไปสู่บรอดแบนด์ผ่านโทรศัพท์มือถือ ดังนั้นคุณจึงเชื่อมต่อได้ทุกเวลาแม้ในขณะที่คุณเดินทางจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง หรือคุณอาจสลับจากบรอดแบนด์ผ่านโทรศัพท์มือถือไปยัง Wi‑Fi โดยอัตโนมัติเมื่อพร้อมใช้งาน เพื่อลดค่าใช้จ่าย
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน
1. ลดค่าใช้จ่ายในการวางระบบเครือข่าย ไม่ต้องมีการวางระบบเครือข่ายให้ยุ่งยาก ไม่ต้องเดินสาย LAN ให้เกะกะ ไม่สวยงาม เพียงแค่หาจุดในการวางอุปกรณ์ Access Point ที่กระจายสัญญาณได้ชัดเจนก็พอ ขยายระบบได้ง่ายและทำให้ปรับองค์กรได้อย่างเหมาะสม ตรงกับความต้องการ 2. Wi-Fi ทำให้การสื่อสารง่ายดาย สะดวกต่อการเคลื่อนย้ายและเปลี่ยนแปลง ไม่ต้องมีการเดินสาย และสามารถโยกย้ายไปยังที่ต่างๆได้โดยไม่ต้องเคลื่อนย้ายอุปกรณ์ เพียงแต่อยู่ในบริเวณที่ได้รับสัญญาณ Wi-Fi ทำให้เกิดการทำงานที่สะดวกมากยิ่งขึ้น และในปัจจุบันอุปกรณ์คอมพิวเตอร์มีแนวโน้มที่จะพัฒนาให้มีขนาดเล็ก ประสิทธิภาพสูง สามารถพกติดตัวได้สะดวก พร้อมทั้งการทำงานที่เปลี่ยนแปลงไปตลอด ผู้ใช้ไม่จำเป็นที่จะต้องนั่งใช้งานอยู่กับที่ทำงาน 3. ใช้มาตรฐาน IEEE 802 ทำให้เป็นที่ยอมรับทั่วไป และอุปกรณ์ต่างๆ ราคาถูก หาซื่อได้ง่าย 4. ช่วยอำนวยความสะดวกในการติดต่อทางธุรกิจ การซื้อขายของออนไลน์ และการทำธุรกรรมทางธนาคาร 5. ช่วยเสริมสร้างรายได้ เป็นแรงจูงใจ ดึงดูดลูกค้า และตอบสนองความต้องการของลูกค้า เช่น การให้บริการ Wi-Fi ตามร้านอาหาร ร้านกาแฟ โรงแรม ซึ่งจะทำให้ลูกค้าอยากเข้ามาใช้บริการมากขึ้น
เกี่นวข้องกับนักศึกษา
1.ใช้สืบค้นข้อมูล
2.ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการใช้งาน
3.สะดวกสบาย

นายณัฐพงษ์ สุนะ 56191430119 ค.บ.ฟิสิกส์

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ ระบบWifi
ลักษณะงาน จะช่วยให้คุณเชื่อมต่อได้ตลอดเวลาขณะที่คุณเดินทางด้วยการสลับจากการเชื่อมต่อ Wi‑Fi ไปสู่บรอดแบนด์ผ่านโทรศัพท์มือถือ ดังนั้นคุณจึงเชื่อมต่อได้ทุกเวลาแม้ในขณะที่คุณเดินทางจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง หรือคุณอาจสลับจากบรอดแบนด์ผ่านโทรศัพท์มือถือไปยัง Wi‑Fi โดยอัตโนมัติเมื่อพร้อมใช้งาน เพื่อลดค่าใช้จ่าย
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน
1. ลดค่าใช้จ่ายในการวางระบบเครือข่าย ไม่ต้องมีการวางระบบเครือข่ายให้ยุ่งยาก ไม่ต้องเดินสาย LAN ให้เกะกะ ไม่สวยงาม เพียงแค่หาจุดในการวางอุปกรณ์ Access Point ที่กระจายสัญญาณได้ชัดเจนก็พอ ขยายระบบได้ง่ายและทำให้ปรับองค์กรได้อย่างเหมาะสม ตรงกับความต้องการ 2. Wi-Fi ทำให้การสื่อสารง่ายดาย สะดวกต่อการเคลื่อนย้ายและเปลี่ยนแปลง ไม่ต้องมีการเดินสาย และสามารถโยกย้ายไปยังที่ต่างๆได้โดยไม่ต้องเคลื่อนย้ายอุปกรณ์ เพียงแต่อยู่ในบริเวณที่ได้รับสัญญาณ Wi-Fi ทำให้เกิดการทำงานที่สะดวกมากยิ่งขึ้น และในปัจจุบันอุปกรณ์คอมพิวเตอร์มีแนวโน้มที่จะพัฒนาให้มีขนาดเล็ก ประสิทธิภาพสูง สามารถพกติดตัวได้สะดวก พร้อมทั้งการทำงานที่เปลี่ยนแปลงไปตลอด ผู้ใช้ไม่จำเป็นที่จะต้องนั่งใช้งานอยู่กับที่ทำงาน 3. ใช้มาตรฐาน IEEE 802 ทำให้เป็นที่ยอมรับทั่วไป และอุปกรณ์ต่างๆ ราคาถูก หาซื่อได้ง่าย 4. ช่วยอำนวยความสะดวกในการติดต่อทางธุรกิจ การซื้อขายของออนไลน์ และการทำธุรกรรมทางธนาคาร 5. ช่วยเสริมสร้างรายได้ เป็นแรงจูงใจ ดึงดูดลูกค้า และตอบสนองความต้องการของลูกค้า เช่น การให้บริการ Wi-Fi ตามร้านอาหาร ร้านกาแฟ โรงแรม ซึ่งจะทำให้ลูกค้าอยากเข้ามาใช้บริการมากขึ้น
เกี่นวข้องกับนักศึกษา
1.ใช้สืบค้นข้อมูล
2.ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการใช้งาน
3.สะดวกสบาย

นายณัฐพงษ์ สุนะ 56191430119 ค.บ.ฟิสิกส์

Unknown กล่าวว่า...

กล่าวว่า...
ชื่อ : ตรวจสอบผลการเรียนออนไลน์
ลักษณะงาน : เป็นการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการประกาศผลการเรียนในแต่ละภาคเรียนเพื่อความสะดวกและความรวดเร็วในการดูผลการเรียนของนักศึกษา
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการสืบค้นผลการเรียน
- เพิ่มความสะดวกในการค้นหาผลการเรียน

เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร :
- นักศึกษาสามารถทราบผลการเรียนของตนเองได้ง่าย
ไม่ยุ่งยาก
- นักศึกษาสามารถดำเนินการแก้ไขผลการเรียนในรายวิชาที่มีปัญหาได้ง่าย

นางสาวอรพรรณ เทียนทอง
55162220123
สาขาเทคโนโลย๊วิศวกรรมโยธาและสถาปัตยกรรม

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อระบบ การใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน เป็นการนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานต่างๆ เช่นใช้ในการรวบรวมข้อมูลการเข้าออกของนักศึกษาและใช้เป็นเครื่องมือในการค้นหาหนังสือต่างๆในห้องสมุด
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน
-ทำให้เกิดความสะดวกในห้องสมุด
-ช่วยสืบค้นหนังสือได้รวดเร็ว
เกี่ยวกับนักศึกษาอย่างไร
-เป็นเครื่องมือในการค้นหาหนังสือแก่นักศึกษาที่จะหาข้อมูล
-ทำให้สะดวกต่อการสืบค้นหนังสือ





นายชัยรัตน์ บุญมาก พลศึกษา 55191890134

Unknown กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ
ระบบการบริการนักศึกษา ได้แก่ การลงทะเบียนเรียนในระบบออนไลน์ การลงทะเบียนห้องสมุดอัตโนมัติ
ระบบสารสนเทศในหน่วยงาน ได้แก่
บริการวิชาการ
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร
Media Streaming
ระบบเครือข่าย
บริการด้านไอที
2.ลักษณะงาน ทั้งหมดที่กล่าวมานั้ คือ มีลักษระงานที่รวดเร็ว โดยทีเราไม่จำเป็นที่จะต้องมาเข้าร่วมงานต่างๆ
เพียงเราแค่เข้าระบบก็กรอกข้อมูลก็ศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองได้ และเป็นระบบที่ค่อนข้างรวดเร็วด้วย
3.มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร
หน่วยงานต่างๆก็ทำงานได้ง่ายขึ้น สะดวกและรวดเร็ว และตรวจสอบได้ง่ายภายในเวลาอันรวดเร็ว
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร
ปัจจุบันเทคโนโลยีมีความก้าวหน้ามากขึ้น นักศึกษาทุกคนควรรู้และปัจจุบันระบบสารสนเทศในมหาวิิทยาลัยต่างๆ ก้นำระบบสารสนเทศมาใช้ในมหาวิทยาลัย เพื่อความสะดวกต่อหน่วยงาน และนักศึกษา นอกจากนี้นักศึกษาเองก็ต้องใช้ระบบสารสนเทศในการลงทะเบียนเรียน การดุเกรดเฉลี่ย ดูข้อมูลข่าวสารต่างๆในระบบสารสนเทศ

นางสาว วรรณนภา พงษ์สุวรรณ์ ค.บ.วิทยาศาสตร์ รหัสนักศึกษา 56191960211ระดับ ค.บ.5/1หมู่ 2

Unknown กล่าวว่า...


ไม่ระบุชื่อ panidapasee กล่าวว่า...
ชื่อ : ระบบในการใช้งานห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก

ประโยชน์ต่อหน่วยงาน
-สะดวกสบายในการทำงานต่างๆส่งอาจารย์
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด

เกี่ยวข้องกับนักศึกษา
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น
-และสามารถเข้าใจในหลักต่างได้ง่าย
-สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองตามความสะดวก
นายชัยยศ ทรงชาติ 55191890133
พลศึกษา

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ:ระบบการลงทะเบียนเรียน
ลักษณะงาน:การนำเทคโนโลยีที่ใช้ในปัจจุบันมาพัฒนาให้มีการใช้งานได้รวดเร็วยิ่งขึ้น โดยมีเครือข่ายต่างๆให้การสนับสนุนในการใช้งาน.
มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร:
1.สะดวกรวดเร็ว
2.ไม่เสียเวลาในการใช้งาน
3.เช็คข้อมูลได้เลยไม่ต่อรอ
เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร:เกี่ยวข้องกะนักศึกษาอย่างมากเพราะถ้าไม่มีการลงทะเบียนก็จ๊ขาดวิชาเรียน เก็บหน่วยกิจไม่ได้ไม่ทันจะจบไม่ทันเพื่อน. การลงทะเบียนจึงสำคัญมาก
นางสาวกาญจนา คิดดีจริง
สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและสถาปัตยกรรม 55162220101

Unknown กล่าวว่า...

1. ชื่อระบบสารสนเทศ ระบบการสืบค้นหนังสือในห้องสมุด
2. ลักษณะงาน เป็นการนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการสืบค้นข้อมูล ค้นหาชื่อหนังสือ การบันทึกการยืม - คืนหนังสือ ค้นหาหนังสือที่ต้องการ ประเภทของหนังสือ ชั้นของหนังสือ สะดวกและรวดเร็วต่อการสืบค้นหนังสือ
3. มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร ช่วยให้ความรวดเร็วต่อเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติงาน สะดวกต่อผู้ที่มาใช้บริการในการยืมคืนหนังสือ ง่ายต่อการจัดหนังสือเข้าหมวดหมู่ การหาหนังสือที่ต้องการโดยการป้อนชื่อหนังสือเข้าที่เครื่ิองช่วยสืบค้นแล้วข้อมูลจะปรากฏหน้าจอคอมพิวเตอร์ ประหยัดเวลา ง่ายต่อการค้นหา และสะดวกต่อการยืมคืนหนังสือ
4. เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร ช่วยในการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับหนังสือที่ต้องการค้นหา ประหยัดเวลาในการยืมคืนหนังสือ

นางสาวอรพิน มั่นยืน 55191010156
สาขาวิชาภาษาไทย

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

1) ชื่อระบบสารสนทศ : เครื่องเบิก-ถอนเงินอัตโนมัติ (ATM)
2) ลักษณะงาน : การฝาก ถอน โอนเงิน
3) มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร
ตอบ ATM ถูกพัฒนาให้เป็นมาตรฐานกลางของการสื่อสารทั่วโลก อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถทำงาน ร่วมกันได้ถึงแม้จะต่างชนิดกัน โดยใช้มาตรฐานเดียวกัน ไม่จำเป็นต้องเป็นยี่ห้อหนึ่งยี่ห้อใด กล่าวคือ เป็นมาตรฐานกลางที่ร่วมกันกำหนดขึ้นเพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้ร่วมกัน
4) เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร
ตอบ เพื่ออำนวยความสะดวกในการฝาก ถอน โอนเงิน และเช็กยอดเงิน ชำระค่าบริการต่างๆ ไม่เสียเวลาในการเดินทางไปธนาคาร เพราะมีอยู่ทั่วทุกพื้นที่
และสุดท้ายบัตร ATM ของมหาลัยราชภัฏสุรินทร์ใช้เป็นบัตรนักศึกษาได้อีกด้วย

นางสาวสุวิภา อยู่สุข
รหัสนักศึกษา 55191010154
สาขาภาษาไทย ค.บ.5/2 หมู่เรียนที่1

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
1.ง่ายต่อการค้นหาหนังสือ
2.ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
3.ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
1. ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
2. ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ


นางสาวหทัย แอมภารัมย์ ค.บ.5/2 ภาษาไทย
หมู่เรียนที่ 1 รหัสนักศึกษา 55191010155

Unknown กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ การเช๊คผลการเรียนออนไลน์
2.ลักษณะงาน เป็นหน้าเพจ เพจหนึ่งที่มีอยู่ในเว็บเพจของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ไว้บริการนักศึกษาเพื่อตรวจสอบผลการเรียนในระบบแบบออนไลน์
3.ประโยชน์ต่อหน่วยงาน ทำให้ง่ายต่อการจัดระบบและสามารถช่วยลดขั้นตอนที่นักศึกษาต้องเข้ามายังสำนักส่งเสริมฯ เพื่อติดต่อดำเนินการขอเช็คผลการเรียน
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษา สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลาในการเช๊คผลการเรียน นักศึกษาสามารถเข้าถึงได้ทุกที่ ที่มีอินเตอร์เน็ต

นายธนาวุฒิ อินทร์พิทักษ์ 55162220109 เทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและสถาปัตยกรรม

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
นางสาวพรรณิดา สมรัตน์
รหัสนักศึกษา 55191010129
สาขาภาษาไทย

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น

Unknown กล่าวว่า...

1. ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบเอทีเอ็ม (ATM)
2.ลักษณะงาน : ระบบเอทีเอ็ม (Automatic Teller Machine : ATM) หรือระบบถอนเงิน หรือฝากเงินของธนาคารโดยอัตโนมัติ มีความสะดวก รวดเร็วในการถอนเงิน
3.มีประโยชน์ ต่อหน่วยงานอย่างไร :เป็นระบบที่อำนวยความสะดวกสบายอย่างมากให้แก่ผู้ใช้บริการ เทคโนโลยีระบบสารสนเทศที่ได้รับการนำมาใช้เป็นกลยุทธ์ในการแข่งขันทางธุรกิจ
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร : นักศึกษามีความสะดวกสบายมากขึ้นในการ และถอนเงินและบริการต่างๆโดยไม่ต้องไปถึงธนาคาร
นางสาวอรสา ศรีล้ำ สาขาภาษาไทย
รหัสนักศึกษา 55191010157

Unknown กล่าวว่า...

ตอบ
1.ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบเอทีเอ็ม
2.ลักษณะงาน : ATM เป็นมาตรฐานรูปแบบการส่งข้อมูลความเร็วสูงที่ถูกพัฒนามาสำหรับงานที่ต้องการความเร็วในการส่งข้อมูลสูงมาก ๆ ข้อมูลที่ส่งในเครือข่าย ATM จะถูกแบ่งเป็นกลุ่มย่อยเล็ก ๆ เรียกว่า เซลล์ (Cell) ซึ่งมีขนาด 53 byte ประกอบด้วยส่วนข้อมูล (payload) ขนาด 48 byte และส่วนหัว (header) ขนาด 5 byte ส่วนหัวจะเก็บข้อมูลที่จำเป็น ต่าง ๆ ที่ใช้ในการควบคุมการส่ง เช่น จุดหมายปลายทาง ระดับความสำคัญของ cell นั้น โดยจะ ประกอบด้วย VPI (Virtual Path Identifier) และ VCI (Virtual Circuit Identifier) ทำหน้าที่กำหนดวงจรเสมือน (virtual circuit) ในการเดินทางให้กับเซลล์นั้น และ HEC (Header Error Check) ทำหน้าที่ตรวจสอบ cell ที่ไม่สอดคล้องตามที่ระบุในส่วนหัว สวิตซ์ ATM จะทำหน้าที่ในการมัลติเพลกซ์และจัดการส่งข้อมูลนั้นตามที่กำหนดไว้ในส่วนหัวไปสู่ปลายทาง เมื่อข้อมูลของผู้ใช้เข้ามา จะถูกตัดแบ่งย่อยเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 48 byte และเติมส่วนหัวเข้าไป อีก 5 byte แล้วจึงส่งไปตามเส้นทางต่าง ๆ ในเครือข่าย ATM ซึ่งระบุไว้โดยส่วนหัว เมื่อถึงปลาย ทางแล้วก็จะเอาส่วนหัวออก แล้วประกอบกันเป็นข้อมูลชิ้นใหญ่เหมือนเดิม ลักษณะของ ATM นี้จะคล้ายกับ packet-switching network อื่นๆ ที่มีอยู่ เช่น x.25 หรือ frame relay แต่ต่างกันที่ ATM จะมีขนาด packet เล็กและคงที่
3. มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร : 1. ATM ถูกพัฒนาให้เป็นมาตรฐานกลางของการสื่อสารทั่วโลก อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถทำงาน ร่วมกันได้ถึงแม้จะต่างชนิดกัน โดยใช้มาตรฐานเดียวกัน ไม่จำเป็นต้องเป็นยี่ห้อหนึ่งยี่ห้อใด กล่าวคือ เป็นมาตรฐานกลางที่ร่วมกันกำหนดขึ้นเพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้ร่วมกัน
2. ATM ถูกพัฒนาเพื่อการส่งข้อมูล สำหรับทั้งเครือข่ายภายในระยะใกล้ (LAN : Local Area Network) และ ระยะไกล (Wide Area Network : WAN) แต่เดิมนั้นรูปแบบของการส่งข้อมูลใน LAN และ WAN จะแตกต่างกัน ซึ่งสร้างความยุ่งยากในการเชื่อมต่อและบริหารเครือข่าย แต่ ATM จะผนวกทั้ง LAN และ WAN เข้าเป็นเครือข่ายใหญ่ที่มีมาตรฐานเดียว
3. ATM ถูกพัฒนาให้ใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบ แต่เดิมนั้นข้อมูลแต่ละรูปแบบไดเแก่ สัญญาณเสียง (voice) ข้อมูล (data) และภาพเคลื่อนไหว (video) ต่างก็มีเครือข่ายของตนเอง โดยสัญญาณเสียงที่ใช้ในเครือข่ายโทรศัพท์จะมีลักษณะที่มีอัตราการส่งข้อมูลคง ที่เท่า ๆ กันตลอดเวลา ข้อมูลเสียงอาจยอมให้มีการสูญเสีย (error) ได้บ้าง แต่จะต้อง ให้มีการหน่วงเวลา (delay) น้อยที่สุด ส่วนข้อมูลของคอมพิวเตอร์ (data) ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จะมีอัตราการส่งข้อมูลไม่คงที่ มีลักษณะเป็น bursty คือ บางเวลาจะมีข้อัมูลมากเป็นกลุ่มก้อน แต่บางเวลาก์ไม่มีข้อมูลเข้ามาเลย ลักษณะนี้เรายอมให้มีการหน่วงเวลาได้บ้าง แต่จะให้มีการสูญเสีย (error) ให้น้อย ที่สุด จะเห็นว่าข้อมูลต่างลักษณะกัน ต้องการคุณภาพในกรส่งที่ต่างประเด็นกัน สำหรับ ATM เราไม่จำเป็นต้องแยกเครือข่ายสำหรับข้อมูลเหล่านี้ เนื่องจากมันถูกออก แบบมาเพื่อใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบทั้งเสียง (voice), ข้อมูล (data) และ วิดีโอ (video) นั่นเอง
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร : ช่วยอำนวยความสะดวกสบายในการ ถอนเงิน โอนเงิน เช็กยอดเงิน ชำระค่าบริการต่างๆ ไม่เสียเวลาในการเดินทางไปธนาคาร เพราะมีอยู่ทั่วทุกพื้นที่


นางสาวลัดดาวัลย์ กรวยทอง รหัส56191430115
คบ.ฟิสิกส์ หมู่1

สมชาย แดงชาติ กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใฃ้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในเรื่องของการให้บริการห้องสมุด
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน : ทำให้สะดวกในการจัดหนังสือ
ง่ายต่อการยืม-คืนหนังสือ ค้นหาข้อมูลหนังสือที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา : ยืม - คืนหนังสือได้อย่างรวดเร็ว
ค้นหาหนังสือได้ตามต้องการ

นายสมชาย แดงชาติ 55162220115 เทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและสถาปัตยกรรม

Unknown กล่าวว่า...

1.ชื่อระะบบสารสนเทศ
สารสนเทศเีกี่ยวกับนักศึกษา ได้แก่ ระบบการลงทะเบียนเรียนออนไลน์ ระบบห้องสมุดอัติโนมัติ
สารสนเทศเกี่ยวกับหน่วยงาน ได้แก่ บริการวิชาการ
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร
2.ลักษณะงาน ที่กล่าวมาทั้งหมดเป็นสารสนเทศที่ใชักันมากขึ้นในปัจจุบัน และแพร่หลาย เพราะว่าเป็นสารสนเทศที่ทำงานไดรวดเร็ว ภายในเวลาจำกัด
3.มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร
หน่วยงานต่างๆทำงานได้อย่างรวดเร็วมากขึ้น ง่ายต่อการตรวจสอบสิ่งต่างๆ
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร
ปัจจุบันมหาวิทยาลัยต่างๆ มีการนำสารสนเทศมาใช้ในมหาวิทยาลัยมากขึ้น นักศึกษาทุกคนต้องใช้ระบบสารสนเทศในการเข้าระบบเพื่อการศึกษา อย่างเช่น นักศึกษาทุกคนต้องลงทะเบียนเรียนในระบบออนไลน์ ต้องลงทะเบียนห้องสมุดอัตโนมัติ เพื่อยืมหนังสือ และคืนหนังสือ เป็นต้น ดังนั้นจะเห็นได้ว่า ระบบสารสนเทศมีความเกี่ยวข้องกับนักศึกษามากขึ้น

ชื่อ นางสาว วรรณนภา พงษ์สุวรรณ์ ค.บ.วิทยาศาสตร์ 56191960211 ระดับ ค.บ.5/1 หมู่ 2




Unknown กล่าวว่า...

นางสาวพิมลแข สุนเสียง 55128040220
รปศ. การปกครองท้องถิ่น

ชื่อสารสนเทศ:ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ คือ กระบวนการทำงานเกี่ยวกับข้อมูลเชิงพื้นที่ ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยการกำหนดข้อมูลเชิงบรรยายหรือข้อมูลคุณลักษณะ และสารสนเทศ เช่น ที่อยู่ บ้านเลขที่ ที่มีความสัมพันธ์กับตำแหน่งในเชิงพื้นที่ เช่น ตำแหน่งบ้าน ถนน แม่น้ำ เป็นต้น ในรูปของ ตารางข้อมูล และ ฐานข้อมูล
ลักษณะงาน:โลกมีความสลับซับซ้อนมากเกินกว่าที่จะเก็บข้อมูลทั้งหมดเกี่ยวกับโลกไว้ในรูปข้อมูลด้วยระบบคอมพิวเตอร์ จึงต้องเปลี่ยนปรากฏการณ์บน ผิวโลกจัดเก็บในรูปของตัวเลขเชิงรหัส โดยแทนปรากฏการณ์เหล่านั้นด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่เรียกว่าฟีเจอร์
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน:การบ่งชี้ ขอบเขต คุณภาพ เค้าร่าง เชิงพื้นที่และเชิงเวลา การอ้างอิงเชิงพื้นที่ การเผยแพร่ของสารสนเทศภูมิศาสตร์เชิงเลข
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา:ติดตามการเปลี่ยนแปลงข้อมูลพื้นที่ได้

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใฃ้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในเรื่องของการให้บริการห้องสมุด
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน : ทำให้สะดวกในการจัดหนังสือ
ง่ายต่อการยืม-คืนหนังสือ ค้นหาข้อมูลหนังสือที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา : ยืม - คืนหนังสือได้อย่างรวดเร็ว
ค้นหาหนังสือได้ตามต้องการ สะดวก ประหยัดเวลา

นางสาวสลิลทิพย์ พิมศร
รหัส 56122420123
สาขา วิทยาการคอมพิวเตอร์ วท.บ 4/1

นางสาวจันทร์ทิพย์ สิงหะ กล่าวว่า...
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
นางสาวจันทร์ทิพย์ สิงหะ กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ
-ระบบการลงทะเบียนออนไลน์
2.ลักษณะงาน
-1.Hardwareทำหน้าที่ในการเป็น
คอมพิวเตอร์+อุปกรณ์
ออนไลน์ทางInternet
-2.Software ทำงานในเรื่องโปรแกรมการลงทะเบียนออนไลน์
-3.Peopleware ทำหน้าที่ในการบริหารระบบและผู้ใช้ระบบ
-4.Data and Information ทำหน้าที่ในการเก็บข้อมูลนักศึกษา ข้อมูลรายวิชา/อาจารย์
-5.ระบบดำเนินงาน กระบวนการใช้งานการลงทะเบียน
3.มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร
-ช่วยในการประหยัดเวลาในการลงทะเบียนเรียนและสะดวกรวดเร็วต่อการเช็คข้อมูลนักศึกษา
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร
-นักศึกษาสามารถลงทะเบียนออนไลน์ได้อย่างสะดวกและสามารถจองวิชาเรียนหรือแก้ไขได้

นางสาวจันทร์ทิพย์ สิงหะ สาขา การศึกษาปฐมวัย คบ.5/1 รหัส 56191860134

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อระบบสารสนเทศ
ตอบ ระบบการลงทะเบียนออนไลน์

ลักษณะงาน
ตอบ โดย 1.Hardwareทำหน้าที่ในการเป็น คอม+อุปกรณ์และออนไลน์ทางอินเตอร์เน็ต
2.Software ทำงานในเรื่องโปรแกรมการลงทะเบียนออนไลน์
3.Peopleware ทำหน้าที่ในการบริหารระบบและผู้ใช้ระบบ
4.Data and Information ทำหน้าที่ในการเก็บข้อมูลนักศึกษา
5.ระบบดำเนินงาน

มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร
ตอบ ประหยัดเวลาในการใช้ลงรายวิชา

เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร
ตอบ นักศึกษาสามารถจองรายวิชาตามเวลาที่ตนต้องการได้สะดวกและรวดเร็ว

นางสาวขวัญฤดี บุญเต็ม
สาขาภาษาไทย
55191010103

Unknown กล่าวว่า...

ระบบการลงทะเบียน
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการการลงทะเบียน การนำเทคโนโลยี
ประโยชน์
-เพื่อความสะดวกและรวดเร็ว
-เพื่อการง่ายในการค้นหา
-ทราบรายละเอียดอย่างครบถ้วน
-สะดวกกับนักศึกษา

นายวรรธนธัช สุวงศ์ 56191430120 ค.บ ฟิสิกส์

Anchovyshop กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบในการใช้งานห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก

ประโยชน์ต่อหน่วยงาน
-สะดวกสบายในการทำงานต่างๆส่งอาจารย์
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด

เกี่ยวข้องกับนักศึกษา
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น
-และสามารถเข้าใจในหลักต่างได้ง่าย
-สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองตามความสะดวก

55128040244 นางสาววนิดา จันทุมา รปศ.หมู่2

www.rash3086 กล่าวว่า...

1. ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบเอทีเอ็ม
2.ลักษณะงาน : ระบบเอทีเอ็ม (Automatic Teller Machine : ATM) หรือระบบถอนเงิน หรือฝากเงินของธนาคารโดยอัตโนมัติ
3.มี ประโยชน์ ต่อหน่วยงานอย่างไร :เป็นระบบที่อำนวยความสะดวกสบายอย่างมากให้แก่ผู้ใช้บริการธนาคาร เทคโนโลยีระบบสารสนเทศที่ได้รับการนำมาใช้เป็นกลยุทธ์ในการแข่งขันทางธุรกิจ
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร : นักศึกษามีความสะดวกสบายมากขึ้นในการ ฝากเงินและถอนเงินและบริการต่างๆโดยไม่ต้องไปถึงธนาคาร


นายเจษฎา สายเเสง รหัส 56191430131
คบ ฟิสิกส์ ชื่อเล่นราช ครับ

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ:ระบบการลงทะเบียนเรียน
ลักษณะงาน:การนำเทคโนโลยีที่ใช้ในปัจจุบันมาพัฒนาให้มีการใช้งานได้รวดเร็วยิ่งขึ้น โดยมีเครือข่ายต่างๆให้การสนับสนุนในการใช้งาน.
มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร:
1.สะดวกรวดเร็ว
2.ไม่เสียเวลาในการใช้งาน
3.เช็คข้อมูลได้เลยไม่ต่อรอ
เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร:เกี่ยวข้องกะนักศึกษาอย่างมากเพราะถ้าไม่มีการลงทะเบียนก็จ๊ขาดวิชาเรียน เก็บหน่วยกิจไม่ได้ไม่ทันจะจบไม่ทันเพื่อน. การลงทะเบียนจึงสำคัญมากกกกก
นางสาวเนตรปรียา แก่นแก้ว 55128040144 รปศ.(การปกครองท้องถิ่น)หมู่2

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ:ระบบการลงทะเบียนเรียน
ลักษณะงาน:การนำเทคโนโลยีที่ใช้ในปัจจุบันมาพัฒนาให้มีการใช้งานได้รวดเร็วยิ่งขึ้น โดยมีเครือข่ายต่างๆให้การสนับสนุนในการใช้งาน.
มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร:
1.สะดวกรวดเร็ว
2.ไม่เสียเวลาในการใช้งาน
3.เช็คข้อมูลได้เลยไม่ต่อรอ
เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร:เกี่ยวข้องกะนักศึกษาอย่างมากเพราะถ้าไม่มีการลงทะเบียนก็จ๊ขาดวิชาเรียน เก็บหน่วยกิจไม่ได้ไม่ทันจะจบไม่ทันเพื่อน. การลงทะเบียนจึงสำคัญมากกกกก
นางสาวเนตรปรียา แก่นแก้ว 55128040144 รปศ.(การปกครองท้องถิ่น)หมู่2

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น
นางสาว ปนัดดา งามเลิศ
รหัสนักศึกษา 56122420122
สาขา วิทยาการคอมพิวเตอร์

Unknown กล่าวว่า...
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ:ระบบการลงทะเบียนเรียนออนไลน์
ลักษณะงาน:การนำเทคโนโลยีที่ใช้ในปัจจุบันมาพัฒนาให้มีการใช้งานได้รวดเร็วยิ่งขึ้น โดยมีเครือข่ายต่างๆให้การสนับสนุนในการใช้งาน.
มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร:
1.สะดวกรวดเร็ว
2.ไม่เสียเวลา
3.เช็คข้อมูลได้ตลอด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร:เกี่ยวข้องกับนักศึกษาโดยตรงเพราะถ้าไม่มีการลงทะเบียนก็จะขาดวิชาเรียน เก็บหน่วยกิจไม่ทันไม่ครบและส่งผลต่อการศึกษา

นายมนูญ จันทร์หนองสรวง 56191470119
นายจตุรงค์ ผดุงรัตน์ 56191470117
นายปิชรวิทย์ วงศ์หินกอง 56191470118
สาขาวิชาดนตรีศึกษา

Unknown กล่าวว่า...

ตอบ
1.ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบเอทีเอ็ม
2.ลักษณะงาน : ATM เป็นมาตรฐานรูปแบบการส่งข้อมูลความเร็วสูงที่ถูกพัฒนามาสำหรับงานที่ต้องการความเร็วในการส่งข้อมูลสูงมาก ๆ ข้อมูลที่ส่งในเครือข่าย ATM จะถูกแบ่งเป็นกลุ่มย่อยเล็ก ๆ เรียกว่า เซลล์ (Cell) ซึ่งมีขนาด 53 byte ประกอบด้วยส่วนข้อมูล (payload) ขนาด 48 byte และส่วนหัว (header) ขนาด 5 byte ส่วนหัวจะเก็บข้อมูลที่จำเป็น ต่าง ๆ ที่ใช้ในการควบคุมการส่ง เช่น จุดหมายปลายทาง ระดับความสำคัญของ cell นั้น โดยจะ ประกอบด้วย VPI (Virtual Path Identifier) และ VCI (Virtual Circuit Identifier) ทำหน้าที่กำหนดวงจรเสมือน (virtual circuit) ในการเดินทางให้กับเซลล์นั้น และ HEC (Header Error Check) ทำหน้าที่ตรวจสอบ cell ที่ไม่สอดคล้องตามที่ระบุในส่วนหัว สวิตซ์ ATM จะทำหน้าที่ในการมัลติเพลกซ์และจัดการส่งข้อมูลนั้นตามที่กำหนดไว้ในส่วนหัวไปสู่ปลายทาง เมื่อข้อมูลของผู้ใช้เข้ามา จะถูกตัดแบ่งย่อยเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 48 byte และเติมส่วนหัวเข้าไป อีก 5 byte แล้วจึงส่งไปตามเส้นทางต่าง ๆ ในเครือข่าย ATM ซึ่งระบุไว้โดยส่วนหัว เมื่อถึงปลาย ทางแล้วก็จะเอาส่วนหัวออก แล้วประกอบกันเป็นข้อมูลชิ้นใหญ่เหมือนเดิม ลักษณะของ ATM นี้จะคล้ายกับ packet-switching network อื่นๆ ที่มีอยู่ เช่น x.25 หรือ frame relay แต่ต่างกันที่ ATM จะมีขนาด packet เล็กและคงที่
3. มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร : 1. ATM ถูกพัฒนาให้เป็นมาตรฐานกลางของการสื่อสารทั่วโลก อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถทำงาน ร่วมกันได้ถึงแม้จะต่างชนิดกัน โดยใช้มาตรฐานเดียวกัน ไม่จำเป็นต้องเป็นยี่ห้อหนึ่งยี่ห้อใด กล่าวคือ เป็นมาตรฐานกลางที่ร่วมกันกำหนดขึ้นเพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้ร่วมกัน
2. ATM ถูกพัฒนาเพื่อการส่งข้อมูล สำหรับทั้งเครือข่ายภายในระยะใกล้ (LAN : Local Area Network) และ ระยะไกล (Wide Area Network : WAN) แต่เดิมนั้นรูปแบบของการส่งข้อมูลใน LAN และ WAN จะแตกต่างกัน ซึ่งสร้างความยุ่งยากในการเชื่อมต่อและบริหารเครือข่าย แต่ ATM จะผนวกทั้ง LAN และ WAN เข้าเป็นเครือข่ายใหญ่ที่มีมาตรฐานเดียว
3. ATM ถูกพัฒนาให้ใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบ แต่เดิมนั้นข้อมูลแต่ละรูปแบบไดเแก่ สัญญาณเสียง (voice) ข้อมูล (data) และภาพเคลื่อนไหว (video) ต่างก็มีเครือข่ายของตนเอง โดยสัญญาณเสียงที่ใช้ในเครือข่ายโทรศัพท์จะมีลักษณะที่มีอัตราการส่งข้อมูลคง ที่เท่า ๆ กันตลอดเวลา ข้อมูลเสียงอาจยอมให้มีการสูญเสีย (error) ได้บ้าง แต่จะต้อง ให้มีการหน่วงเวลา (delay) น้อยที่สุด ส่วนข้อมูลของคอมพิวเตอร์ (data) ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จะมีอัตราการส่งข้อมูลไม่คงที่ มีลักษณะเป็น bursty คือ บางเวลาจะมีข้อัมูลมากเป็นกลุ่มก้อน แต่บางเวลาก์ไม่มีข้อมูลเข้ามาเลย ลักษณะนี้เรายอมให้มีการหน่วงเวลาได้บ้าง แต่จะให้มีการสูญเสีย (error) ให้น้อย ที่สุด จะเห็นว่าข้อมูลต่างลักษณะกัน ต้องการคุณภาพในกรส่งที่ต่างประเด็นกัน สำหรับ ATM เราไม่จำเป็นต้องแยกเครือข่ายสำหรับข้อมูลเหล่านี้ เนื่องจากมันถูกออก แบบมาเพื่อใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบทั้งเสียง (voice), ข้อมูล (data) และ วิดีโอ (video) นั่นเอง
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร : ช่วยอำนวยความสะดวกสบายในการ ถอนเงิน โอนเงิน เช็กยอดเงิน ชำระค่าบริการต่างๆ ไม่เสียเวลาในการเดินทางไปธนาคาร เพราะมีอยู่ทั่วทุกพื้นที่

Unknown กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ : การลงทะเบียนเรียนในระบบออนไลน์
2. ลักษณะงาน : การจองรายวิชาที่ประสงค์จะลงทะเบียนในภาคการศึกษานั้น ผ่านระบบออนไลน์ของมหาวิทยาลัย
3. มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร :ช่วยอำนวยความสะดวกในการดำเนินงาน การตรวจสอบ การจัดเก็บข้อมูลในการลงทะเบียนเรียนของนักศึกษาให้กับบุคลากรและเจ้าหน้าที่เกี่ยวข้อง
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร :นักศึกษาสามารถเลือกลงทะเบียนเรียนวิชาต่างๆที่กำหนดไว้ในหลักสูตรได้ โดยสามารถตรวจสอบได้ทันทีว่า มีวิชาอะไรเปิดสอนบ้าง และการเรียนการสอนเป็นวันอะไรเวลาอะไร วิชานั้นๆมีผู้สมัครเรียนกี่คน เต็มจำนวนที่สามารถรับแล้วหรือไม่ ซึ่งจะทำให้มีการปรับเปลี่ยนข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ เพื่อให้นักศึกษาสามารถรับข้อมูลที่ถูกต้องและสามารถลงทะเบียนเรียนได้อย่างถูกต้อง

นางสาวกมลมาศ บุญเพ็ง สาขาการศึกษาปฐมวัย ค.บ.5/1 หมู่1
56191860144

Unknown กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ
- ระบบลงทะเบียนเรียนออนไลน์
2.ลักษณะงาน
-เป็นระบบที่ให้บริการเกี่ยวกับการลงทะเบียนเรียนแบบออนไลน์ ซึ่งมีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีอุปกรณ์คือ คอมพิวเตอร์ เมาส์ คีย์บอร์ด ผู้ที่ใช้บริการคือนักศึกษา ผู้ควบคุมระบบการลงทะเบียนเรียน ข้อมูลที่เกี่ยวกับการลงทะเบียนเรียน ขั้นตอนการดำเนินงาน
3.มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร
-ทำให้ง่ายและรวดเร็วในการตรวจสอบข้อมูล มีความสะดวกต่อหน่วยงานสถานศึกษา
-มีความเป็นระบบแบบแผนมากขึ้นต่อหน่วยงานสถานศึกษา
-ทำให้ง่ายต่อการเก็บรวบรวมข้อมูล
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร
-เป็นระบบที่ให้บริการแก่นักศึกษาในการใช้ลงทะเบียนเรียนผ่านทางระบบแบบออนไลน์และใช้ตรวจสอบข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา
-มีความสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น

นางสาวเจนจิรา พอกพูน ค.บ.ฟิสิกส์ 5/1 56191430101


Unknown กล่าวว่า...

ตอบ
1.ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบเอทีเอ็ม
2.ลักษณะงาน : ATM เป็นมาตรฐานรูปแบบการส่งข้อมูลความเร็วสูงที่ถูกพัฒนามาสำหรับงานที่ต้องการความเร็วในการส่งข้อมูลสูงมาก ๆ ข้อมูลที่ส่งในเครือข่าย ATM จะถูกแบ่งเป็นกลุ่มย่อยเล็ก ๆ เรียกว่า เซลล์ (Cell) ซึ่งมีขนาด 53 byte ประกอบด้วยส่วนข้อมูล (payload) ขนาด 48 byte และส่วนหัว (header) ขนาด 5 byte ส่วนหัวจะเก็บข้อมูลที่จำเป็น ต่าง ๆ ที่ใช้ในการควบคุมการส่ง เช่น จุดหมายปลายทาง ระดับความสำคัญของ cell นั้น โดยจะ ประกอบด้วย VPI (Virtual Path Identifier) และ VCI (Virtual Circuit Identifier) ทำหน้าที่กำหนดวงจรเสมือน (virtual circuit) ในการเดินทางให้กับเซลล์นั้น และ HEC (Header Error Check) ทำหน้าที่ตรวจสอบ cell ที่ไม่สอดคล้องตามที่ระบุในส่วนหัว สวิตซ์ ATM จะทำหน้าที่ในการมัลติเพลกซ์และจัดการส่งข้อมูลนั้นตามที่กำหนดไว้ในส่วนหัวไปสู่ปลายทาง เมื่อข้อมูลของผู้ใช้เข้ามา จะถูกตัดแบ่งย่อยเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 48 byte และเติมส่วนหัวเข้าไป อีก 5 byte แล้วจึงส่งไปตามเส้นทางต่าง ๆ ในเครือข่าย ATM ซึ่งระบุไว้โดยส่วนหัว เมื่อถึงปลาย ทางแล้วก็จะเอาส่วนหัวออก แล้วประกอบกันเป็นข้อมูลชิ้นใหญ่เหมือนเดิม ลักษณะของ ATM นี้จะคล้ายกับ packet-switching network อื่นๆ ที่มีอยู่ เช่น x.25 หรือ frame relay แต่ต่างกันที่ ATM จะมีขนาด packet เล็กและคงที่
3. มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร : 1. ATM ถูกพัฒนาให้เป็นมาตรฐานกลางของการสื่อสารทั่วโลก อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถทำงาน ร่วมกันได้ถึงแม้จะต่างชนิดกัน โดยใช้มาตรฐานเดียวกัน ไม่จำเป็นต้องเป็นยี่ห้อหนึ่งยี่ห้อใด กล่าวคือ เป็นมาตรฐานกลางที่ร่วมกันกำหนดขึ้นเพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้ร่วมกัน
2. ATM ถูกพัฒนาเพื่อการส่งข้อมูล สำหรับทั้งเครือข่ายภายในระยะใกล้ (LAN : Local Area Network) และ ระยะไกล (Wide Area Network : WAN) แต่เดิมนั้นรูปแบบของการส่งข้อมูลใน LAN และ WAN จะแตกต่างกัน ซึ่งสร้างความยุ่งยากในการเชื่อมต่อและบริหารเครือข่าย แต่ ATM จะผนวกทั้ง LAN และ WAN เข้าเป็นเครือข่ายใหญ่ที่มีมาตรฐานเดียว
3. ATM ถูกพัฒนาให้ใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบ แต่เดิมนั้นข้อมูลแต่ละรูปแบบไดเแก่ สัญญาณเสียง (voice) ข้อมูล (data) และภาพเคลื่อนไหว (video) ต่างก็มีเครือข่ายของตนเอง โดยสัญญาณเสียงที่ใช้ในเครือข่ายโทรศัพท์จะมีลักษณะที่มีอัตราการส่งข้อมูลคง ที่เท่า ๆ กันตลอดเวลา ข้อมูลเสียงอาจยอมให้มีการสูญเสีย (error) ได้บ้าง แต่จะต้อง ให้มีการหน่วงเวลา (delay) น้อยที่สุด ส่วนข้อมูลของคอมพิวเตอร์ (data) ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จะมีอัตราการส่งข้อมูลไม่คงที่ มีลักษณะเป็น bursty คือ บางเวลาจะมีข้อัมูลมากเป็นกลุ่มก้อน แต่บางเวลาก์ไม่มีข้อมูลเข้ามาเลย ลักษณะนี้เรายอมให้มีการหน่วงเวลาได้บ้าง แต่จะให้มีการสูญเสีย (error) ให้น้อย ที่สุด จะเห็นว่าข้อมูลต่างลักษณะกัน ต้องการคุณภาพในกรส่งที่ต่างประเด็นกัน สำหรับ ATM เราไม่จำเป็นต้องแยกเครือข่ายสำหรับข้อมูลเหล่านี้ เนื่องจากมันถูกออก แบบมาเพื่อใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบทั้งเสียง (voice), ข้อมูล (data) และ วิดีโอ (video) นั่นเอง
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร : ช่วยอำนวยความสะดวกสบายในการ ถอนเงิน โอนเงิน เช็กยอดเงิน ชำระค่าบริการต่างๆ ไม่เสียเวลาในการเดินทางไปธนาคาร เพราะมีอยู่ทั่วทุกพื้นที่

นางสาวทิพรัตน์ แสวงมี
สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์
รหััส 56122420108

รุ่งนภา งามประจบ กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ
ตอบ ระบบการใช้สารสนเทศในห้องสมุด

2.ลักษณะงาน
ตอบ โดยนำระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่มาใช้งานห้องสมุด พัฒนาให้เป็นระบบอัตโนมัติ (Automated Library System)สร้างระบบเครือข่ายเชื่อมโยงระหว่างห้องสมุดมหาวิทยาลัย เพื่อให้การจัดบริการสารสนเทศมีความครบถ้วนสมบูรณ์และรวดเร็วยิ่งขึ้น เกิดระบบการใช้ทรัพยากรร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ

3.มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร
ตอบ 1.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริการสารสนเทศในระบบอัตโนมัติ ให้สนองความต้องการของผู้ใช้ให้มากที่สุด ครบถ้วน และสะดวกต่อการเข้าถึง โดยใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกันอย่างประหยัด
2.เพื่อพัฒนาห้องสมุดมหาวิทยาลัยให้เป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้และสารสนเทศที่เอื้อต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา
3.เพื่อสนับสนุนการกระจายโอกาสทางการศึกษาและความเสมอภาคทางการศึกษา โดยใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล ตามโครงการเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษาของทบวงมหาวิทยาลัย ซึ่งผู้ใช้สามารถสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากห้องสมุดได้อย่างรวดเร็วโดยผ่านระบบเครือข่ายบริการของห้องสมุดมหาวิทยาลัย
4.เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ ทั้งด้านผู้ให้บริการและผู้ใช้ห้องสมุด ให้มีความรู้และความชำนาญในการจัดการและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร
ตอบ 1.ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
2.ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
3.ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุดเกี่ยวข้องกับนักศึกษา
4.ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
5.ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
6.สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น


นางสาวรุ่งนภา งามประจบ
รหัส 55128040240
(การปกครองท้องถิ่น)

Unknown กล่าวว่า...

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยี :
1. เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) คือ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) หมายถึง การนำเทคโนโลยีด้านการสื่อสารและคอมพิวเตอร์ มาใช้สร้างข้อมูลเพิ่มให้กับสารสนเทศ ทำให้สารสนเทศมีประโยชน์และใช้งานได้กว้างขวางมากขึ้น เทคโนโลยีสารสนเทศรวมไปถึงการใช้เทคโนโลยีด้านต่างๆ ที่จะรวบรวม จัดเก็บใช้งาน ส่งต่อ หรือสื่อสารระหว่างกัน โดยใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์เป็นสื่อหลัก
2. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology) คือเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับข่าวสารข้อมูลและการสื่อสาร นับตั้งแต่การสร้าง การนำมาวิเคราะห์หรือประมวลผล การรับและส่งข้อมูล การจัดเก็บและการนำไปใช้งานใหม่ เทคโนโลยีเหล่านี้มักจะหมายถึง คอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยส่วนอุปกรณ์ (hardware) ส่วนคำสั่ง (software) และส่วนข้อมูล (data) และระบบการสื่อสารต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์ ระบบสื่อสารข้อมูล ดาวเทียมหรือเครื่องมือสื่อสารใด ๆ ทั้งมีสายและไร้สาย
3.เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตประจำวันของเราอย่างไรความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อชีวิตประจำ วันของคนเราในปัจจุบันคือ การสร้างความสะดวกและรวดเร็วในการติดต่อสื่อสาร การเข้าถึงข้อมูลจำนวนมากได้อย่างรวดเร็วและได้ข้อมูลที่ทันสมัยตลอดเวลา ตัวอย่างผลิตภัณฑ์จากเทคโนโลยีสารสนเทศที่เห็นได้ชัดเจนในชีวิตประจำวันของ เราคือโทรศัพท์มือถือและอินเตอร์เน็ต
ชื่อนาย สมศักดิ์ พะเนิกรัมย์ รหัส 55122220139 หมู่2 สาขาวิศวกรรมโยธาและสถาปัตยกรรม

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบการศึกษา
ลักษณะงาน : ด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนำมาใช้เพื่ออำนวยความสะดวกในการบริหารด้านการศึกษา เช่น ระบบการลงทะเบียน และระบบการจัดตารางสอน นอกจากนี้ยังใช้เป็นเครื่องมือในการเพิ่มโอก่สทางด้านการศึกษาและเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในด้านการศึกษา
1. การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ทำให้ผู้ที่อยู่ห่างไกลหรือไม่สะดวกในการเดินทางสามารถได้รับการศึกษาเช่นเดียวกับผู้ที่อยู่ในเมือง
2. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ยังช่วยเสริมประสิทธิภาพการเรียนการสอนในวิชาต่างๆ เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ ภาษาต่างประเทศ ทำให้บทเรียนมีความน่าสนใจมากขึ้น และเกิดความเข้าใจได้ง่ายขึ้น เช่น การแสดงสถาณการณ์จำลอง แบบจำลอง ภาพเคลื่อนไหว แสงสีและเสียงประกอบ นักเรียนสามารถเตรียมตัวก่อนเรียน หรือทบทวนบทเรียนด้วยตนเองเมื่อใดก็ได้ที่มีเวลาว่าง
3. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เพิ่มโอกาสในการเรียนรู้ให้กับผู้พิการทางสายตาหรือหู
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีบทบาทต่อการถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารทางด้านการศึกษาได้เป็นอย่างดี ทั้งในและนอกสถานศึกษา หน่วยงานต่างๆ ใช้บทเรียนออนไลน์ในการฝึกอบรมพนักงานเพื่อให้ความรู้เพิ่มเติม นอกจากนี้อินเทอร์เน็ตยังเป็นแหล่งข้อมูลที่สำคัญที่ทั้งครูและนักเรียนหรือบุคคลทั่วไป ใช้สำหรับค้นหาข้อมูลเรื่องต่างๆ ในการทำรายงาน หรือเพื่อศึกษาหาความรู้ เว็บไซต์สำหรับค้นหาข้อมูลที่ใช้กันมากในปัจจุบัน เช่น google.com, ask.com, dogpile.com และ wikipedia.org ตัวอย่างการค้นหาข้อมูลจากหลักฐานข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
1. การจัดห้องสอบ
2. การพิมพ์รายชื่อนักศึกษาเพื่อการกรอกคะแนนและเกรด
3. คำนวณค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่นักศึกษาต้องจ่ายเป็นค่าลงทะเบียนเรียน
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
1. นักศึกษาตรวจสอบวิชาที่เปิดสอน ตารางสอน
2. ตรวจสอบวิชาว่าติดขัดข้อกำหนดใดหรือไม่
3. พิมพ์รายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนและคำนวณค่าใช้จ่ายการลงทะเบียน
4. พิมพ์รายงานการลงทะเบียนของนักศึกษาในแต่ละวิชา
นายสมศักดิ์ พะเนิกรัมย์ รหัส 55122220139 สาขาวิศวกรรมโยธาและสถาปัตยกรรม

วรรณิษา เงินราช กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ การเช๊คผลการเรียนออนไลน์
2.ลักษณะงาน เป็นหน้าเพจ เพจหนึ่งที่มีอยู่ในเว็บเพจของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ไว้บริการนักศึกษาเพื่อตรวจสอบผลการเรียนในระบบแบบออนไลน์
3.ประโยชน์ต่อหน่วยงาน ทำให้ง่ายต่อการจัดระบบและสามารถช่วยลดขั้นตอนที่นักศึกษาต้องเข้ามายังสำนักส่งเสริมฯ เพื่อติดต่อดำเนินการขอเช็คผลการเรียน
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษา สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลาในการเช๊คผลการเรียน นักศึกษาสามารถเข้าถึงได้ทุกที่ ที่มีอินเตอร์เน็ต


นางสาววรรณิษา เงินราช 55128040246 หมู่ 2 รปศ

วรรณิษา เงินราช กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ การเช๊คผลการเรียนออนไลน์
2.ลักษณะงาน เป็นหน้าเพจ เพจหนึ่งที่มีอยู่ในเว็บเพจของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ไว้บริการนักศึกษาเพื่อตรวจสอบผลการเรียนในระบบแบบออนไลน์
3.ประโยชน์ต่อหน่วยงาน ทำให้ง่ายต่อการจัดระบบและสามารถช่วยลดขั้นตอนที่นักศึกษาต้องเข้ามายังสำนักส่งเสริมฯ เพื่อติดต่อดำเนินการขอเช็คผลการเรียน
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษา สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลาในการเช๊คผลการเรียน นักศึกษาสามารถเข้าถึงได้ทุกที่ ที่มีอินเตอร์เน็ต


นางสาววรรณิษา เงินราช 55128040246 หมู่ 2 รปศ

Unknown กล่าวว่า...

1.ตอบ
ระบบการใช้สารสนเทศในห้องสมุด
2.ตอบ
โดยนำระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้งานห้องสมุด พัฒนาให้เป็นระบบอัตโนมัติ (Automated Library System)สร้างระบบเครือข่ายเชื่อมโยงระหว่างห้องสมุดมหาวิทยาลัย
3.ตอบ
1.เพื่อสนับสนุนการกระจายโอกาสทางการศึกษาและความเสมอภาคทางการศึกษา โดยใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล ตามโครงการเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษาของทบวงมหาวิทยาลัย ซึ่งผู้ใช้สามารถสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากห้องสมุดได้อย่างรวดเร็วโดยผ่านระบบเครือข่ายบริการของห้องสมุดมหาวิทยาลัย
2.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริการสารสนเทศในระบบอัตโนมัติ ให้สนองความต้องการของผู้ใช้ให้มากที่สุด ครบถ้วน และสะดวกต่อการเข้าถึง โดยใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกันอย่างประหยัด
3.เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ ทั้งด้านผู้ให้บริการและผู้ใช้ห้องสมุด ให้มีความรู้และความชำนาญในการจัดการและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
4.เพื่อพัฒนาห้องสมุดมหาวิทยาลัยให้เป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้และสารสนเทศที่เอื้อต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา
4.ตอบ
-ทำให้สะดวกต่อการสืบค้นหนังสือ
-ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ

นางสาวปรียาภรณ์ หนองบัว 56191860103
นางสาวสุชาดา สศรีธาตุ 56191860132
นางสาวรุ้งนภา สืบวงศา 56191860227
สาขาการศึกษาปฐมวัย คบ.5/1

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบการศึกษา
ลักษณะงาน : ด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนำมาใช้เพื่ออำนวยความสะดวกในการบริหารด้านการศึกษา เช่น ระบบการลงทะเบียน และระบบการจัดตารางสอน นอกจากนี้ยังใช้เป็นเครื่องมือในการเพิ่มโอก่สทางด้านการศึกษาและเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในด้านการศึกษา
1. การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ทำให้ผู้ที่อยู่ห่างไกลหรือไม่สะดวกในการเดินทางสามารถได้รับการศึกษาเช่นเดียวกับผู้ที่อยู่ในเมือง
2. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ยังช่วยเสริมประสิทธิภาพการเรียนการสอนในวิชาต่างๆ เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ ภาษาต่างประเทศ ทำให้บทเรียนมีความน่าสนใจมากขึ้น และเกิดความเข้าใจได้ง่ายขึ้น เช่น การแสดงสถาณการณ์จำลอง แบบจำลอง ภาพเคลื่อนไหว แสงสีและเสียงประกอบ นักเรียนสามารถเตรียมตัวก่อนเรียน หรือทบทวนบทเรียนด้วยตนเองเมื่อใดก็ได้ที่มีเวลาว่าง
3. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เพิ่มโอกาสในการเรียนรู้ให้กับผู้พิการทางสายตาหรือหู
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีบทบาทต่อการถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารทางด้านการศึกษาได้เป็นอย่างดี ทั้งในและนอกสถานศึกษา หน่วยงานต่างๆ ใช้บทเรียนออนไลน์ในการฝึกอบรมพนักงานเพื่อให้ความรู้เพิ่มเติม นอกจากนี้อินเทอร์เน็ตยังเป็นแหล่งข้อมูลที่สำคัญที่ทั้งครูและนักเรียนหรือบุคคลทั่วไป ใช้สำหรับค้นหาข้อมูลเรื่องต่างๆ ในการทำรายงาน หรือเพื่อศึกษาหาความรู้ เว็บไซต์สำหรับค้นหาข้อมูลที่ใช้กันมากในปัจจุบัน เช่น google.com, ask.com, dogpile.com และ wikipedia.org ตัวอย่างการค้นหาข้อมูลจากหลักฐานข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
1. การจัดห้องสอบ
2. การพิมพ์รายชื่อนักศึกษาเพื่อการกรอกคะแนนและเกรด
3. คำนวณค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่นักศึกษาต้องจ่ายเป็นค่าลงทะเบียนเรียน
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
1. นักศึกษาตรวจสอบวิชาที่เปิดสอน ตารางสอน
2. ตรวจสอบวิชาว่าติดขัดข้อกำหนดใดหรือไม่
3. พิมพ์รายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนและคำนวณค่าใช้จ่ายการลงทะเบียน
4. พิมพ์รายงานการลงทะเบียนของนักศึกษาในแต่ละวิชา

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบการศึกษา
ลักษณะงาน : ด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนำมาใช้เพื่ออำนวยความสะดวกในการบริหารด้านการศึกษา เช่น ระบบการลงทะเบียน และระบบการจัดตารางสอน นอกจากนี้ยังใช้เป็นเครื่องมือในการเพิ่มโอก่สทางด้านการศึกษาและเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในด้านการศึกษา
1. การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ทำให้ผู้ที่อยู่ห่างไกลหรือไม่สะดวกในการเดินทางสามารถได้รับการศึกษาเช่นเดียวกับผู้ที่อยู่ในเมือง
2. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ยังช่วยเสริมประสิทธิภาพการเรียนการสอนในวิชาต่างๆ เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ ภาษาต่างประเทศ ทำให้บทเรียนมีความน่าสนใจมากขึ้น และเกิดความเข้าใจได้ง่ายขึ้น เช่น การแสดงสถาณการณ์จำลอง แบบจำลอง ภาพเคลื่อนไหว แสงสีและเสียงประกอบ นักเรียนสามารถเตรียมตัวก่อนเรียน หรือทบทวนบทเรียนด้วยตนเองเมื่อใดก็ได้ที่มีเวลาว่าง
3. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เพิ่มโอกาสในการเรียนรู้ให้กับผู้พิการทางสายตาหรือหู
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีบทบาทต่อการถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารทางด้านการศึกษาได้เป็นอย่างดี ทั้งในและนอกสถานศึกษา หน่วยงานต่างๆ ใช้บทเรียนออนไลน์ในการฝึกอบรมพนักงานเพื่อให้ความรู้เพิ่มเติม นอกจากนี้อินเทอร์เน็ตยังเป็นแหล่งข้อมูลที่สำคัญที่ทั้งครูและนักเรียนหรือบุคคลทั่วไป ใช้สำหรับค้นหาข้อมูลเรื่องต่างๆ ในการทำรายงาน หรือเพื่อศึกษาหาความรู้ เว็บไซต์สำหรับค้นหาข้อมูลที่ใช้กันมากในปัจจุบัน เช่น google.com, ask.com, dogpile.com และ wikipedia.org ตัวอย่างการค้นหาข้อมูลจากหลักฐานข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
1. การจัดห้องสอบ
2. การพิมพ์รายชื่อนักศึกษาเพื่อการกรอกคะแนนและเกรด
3. คำนวณค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่นักศึกษาต้องจ่ายเป็นค่าลงทะเบียนเรียน
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
1. นักศึกษาตรวจสอบวิชาที่เปิดสอน ตารางสอน
2. ตรวจสอบวิชาว่าติดขัดข้อกำหนดใดหรือไม่
3. พิมพ์รายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนและคำนวณค่าใช้จ่ายการลงทะเบียน
4. พิมพ์รายงานการลงทะเบียนของนักศึกษาในแต่ละวิชา
นายสมศักดิ์ พะเนิกรัมย์ รหัส 55122220139 สาขาวิศวะกรรมโยธาและสถาปัตยกรรม

Unknown กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ
ตอบ ระบบการใช้สารสนเทศในห้องสมุด

2.ลักษณะงาน
ตอบ โดยนำระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่มาใช้งานห้องสมุด พัฒนาให้เป็นระบบอัตโนมัติ (Automated Library System)สร้างระบบเครือข่ายเชื่อมโยงระหว่างห้องสมุดมหาวิทยาลัย เพื่อให้การจัดบริการสารสนเทศมีความครบถ้วนสมบูรณ์และรวดเร็วยิ่งขึ้น เกิดระบบการใช้ทรัพยากรร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ

3.มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร
ตอบ 1.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริการสารสนเทศในระบบอัตโนมัติ ให้สนองความต้องการของผู้ใช้ให้มากที่สุด ครบถ้วน และสะดวกต่อการเข้าถึง โดยใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกันอย่างประหยัด
2.เพื่อพัฒนาห้องสมุดมหาวิทยาลัยให้เป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้และสารสนเทศที่เอื้อต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา
3.เพื่อสนับสนุนการกระจายโอกาสทางการศึกษาและความเสมอภาคทางการศึกษา โดยใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล ตามโครงการเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษาของทบวงมหาวิทยาลัย ซึ่งผู้ใช้สามารถสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากห้องสมุดได้อย่างรวดเร็วโดยผ่านระบบเครือข่ายบริการของห้องสมุดมหาวิทยาลัย
4.เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ ทั้งด้านผู้ให้บริการและผู้ใช้ห้องสมุด ให้มีความรู้และความชำนาญในการจัดการและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร
ตอบ 1.ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
2.ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
3.ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุดเกี่ยวข้องกับนักศึกษา
4.ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
5.ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
6.สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น
นายฉกาจ ศาลางาม 55191890126
นายณัฐพล โลประโคน 55191890143
นางวสาวณัฐกานต์ สังสมานันท์ 55191890158
นางสาวจิราภรณ์ สุวงษ์ 55191890159
พลศึกษา

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบการศึกษา
ลักษณะงาน : ด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนำมาใช้เพื่ออำนวยความสะดวกในการบริหารด้านการศึกษา เช่น ระบบการลงทะเบียน และระบบการจัดตารางสอน นอกจากนี้ยังใช้เป็นเครื่องมือในการเพิ่มโอก่สทางด้านการศึกษาและเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในด้านการศึกษา
1. การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ทำให้ผู้ที่อยู่ห่างไกลหรือไม่สะดวกในการเดินทางสามารถได้รับการศึกษาเช่นเดียวกับผู้ที่อยู่ในเมือง
2. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ยังช่วยเสริมประสิทธิภาพการเรียนการสอนในวิชาต่างๆ เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ ภาษาต่างประเทศ ทำให้บทเรียนมีความน่าสนใจมากขึ้น และเกิดความเข้าใจได้ง่ายขึ้น เช่น การแสดงสถาณการณ์จำลอง แบบจำลอง ภาพเคลื่อนไหว แสงสีและเสียงประกอบ นักเรียนสามารถเตรียมตัวก่อนเรียน หรือทบทวนบทเรียนด้วยตนเองเมื่อใดก็ได้ที่มีเวลาว่าง
3. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เพิ่มโอกาสในการเรียนรู้ให้กับผู้พิการทางสายตาหรือหู
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีบทบาทต่อการถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารทางด้านการศึกษาได้เป็นอย่างดี ทั้งในและนอกสถานศึกษา หน่วยงานต่างๆ ใช้บทเรียนออนไลน์ในการฝึกอบรมพนักงานเพื่อให้ความรู้เพิ่มเติม นอกจากนี้อินเทอร์เน็ตยังเป็นแหล่งข้อมูลที่สำคัญที่ทั้งครูและนักเรียนหรือบุคคลทั่วไป ใช้สำหรับค้นหาข้อมูลเรื่องต่างๆ ในการทำรายงาน หรือเพื่อศึกษาหาความรู้ เว็บไซต์สำหรับค้นหาข้อมูลที่ใช้กันมากในปัจจุบัน เช่น google.com, ask.com, dogpile.com และ wikipedia.org ตัวอย่างการค้นหาข้อมูลจากหลักฐานข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
1. การจัดห้องสอบ
2. การพิมพ์รายชื่อนักศึกษาเพื่อการกรอกคะแนนและเกรด
3. คำนวณค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่นักศึกษาต้องจ่ายเป็นค่าลงทะเบียนเรียน
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
1. นักศึกษาตรวจสอบวิชาที่เปิดสอน ตารางสอน
2. ตรวจสอบวิชาว่าติดขัดข้อกำหนดใดหรือไม่
3. พิมพ์รายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนและคำนวณค่าใช้จ่ายการลงทะเบียน
4. พิมพ์รายงานการลงทะเบียนของนักศึกษาในแต่ละวิชา


นางสาวรพีพร โพธิ์ทอง
รปศ. หมู่2 (55128040232)

Unknown กล่าวว่า...

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อระบบสารสนทศ : เครื่องเบิก-ถอนเงินอัตโนมัติ (ATM)
2) ลักษณะงาน : การฝาก ถอน โอนเงิน
3) มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร
ตอบ ATM ถูกพัฒนาให้เป็นมาตรฐานกลางของการสื่อสารทั่วโลก อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถทำงาน ร่วมกันได้ถึงแม้จะต่างชนิดกัน โดยใช้มาตรฐานเดียวกัน ไม่จำเป็นต้องเป็นยี่ห้อหนึ่งยี่ห้อใด กล่าวคือ เป็นมาตรฐานกลางที่ร่วมกันกำหนดขึ้นเพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้ร่วมกัน
4) เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร
ตอบ เพื่ออำนวยความสะดวกในการฝาก ถอน โอนเงิน และเช็กยอดเงิน ชำระค่าบริการต่างๆ ไม่เสียเวลาในการเดินทางไปธนาคาร เพราะมีอยู่ทั่วทุกพื้นที่
และสุดท้ายบัตร ATM ของมหาลัยราชภัฏสุรินทร์ใช้เป็นบัตรนักศึกษาได้อีกด้วย

นาย ธนวัฒน์ ภาสดา พลศึกษา หมู่ที่ 1
รหัส 55191890151

นางสาวโสภา พราวแดง คบ.คหกรรมศาสตร์ 55191600227 กล่าวว่า...

1)ชื่อระบบสารสนทศ : เครื่องเบิก-ถอนเงินอัตโนมัติ (ATM)
2) ลักษณะงาน : การฝาก ถอน โอนเงิน
3) มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร
ตอบ ATM ถูกพัฒนาให้เป็นมาตรฐานกลางของการสื่อสารทั่วโลก อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถทำงาน ร่วมกันได้ถึงแม้จะต่างชนิดกัน โดยใช้มาตรฐานเดียวกัน ไม่จำเป็นต้องเป็นยี่ห้อหนึ่งยี่ห้อใด กล่าวคือ เป็นมาตรฐานกลางที่ร่วมกันกำหนดขึ้นเพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้ร่วมกัน
4) เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร
ตอบ เพื่ออำนวยความสะดวกในการฝาก ถอน โอนเงิน และเช็กยอดเงิน ชำระค่าบริการต่างๆ ไม่เสียเวลาในการเดินทางไปธนาคาร เพราะมีอยู่ทั่วทุกพื้นที่
และสุดท้ายบัตร ATM ของมหาลัยราชภัฏสุรินทร์ใช้เป็นบัตรนักศึกษาได้อีกด้วย

Unknown กล่าวว่า...

นางสาว ไพริน พรมศร เอกคหกรรมศาสตร์ หมู่2 รหัส 55191600204
ชื่อ : ระบบสารสนเทศในการใช้งานห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก

ประโยชน์ต่อหน่วยงาน
-สะดวกสบายในการทำงานต่างๆส่งอาจารย์
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด

เกี่ยวข้องกับนักศึกษา
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น
-และสามารถเข้าใจในหลักต่างได้ง่าย
-สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองตามความสะดวก

Unknown กล่าวว่า...
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
Unknown กล่าวว่า...

ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบการศึกษา
ลักษณะงาน : ด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนำมาใช้เพื่ออำนวยความสะดวกในการบริหารด้านการศึกษา เช่น ระบบการลงทะเบียน และระบบการจัดตารางสอน นอกจากนี้ยังใช้เป็นเครื่องมือในการเพิ่มโอก่สทางด้านการศึกษาและเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในด้านการศึกษา
1. การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ทำให้ผู้ที่อยู่ห่างไกลหรือไม่สะดวกในการเดินทางสามารถได้รับการศึกษาเช่นเดียวกับผู้ที่อยู่ในเมือง
2. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ยังช่วยเสริมประสิทธิภาพการเรียนการสอนในวิชาต่างๆ เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ ภาษาต่างประเทศ ทำให้บทเรียนมีความน่าสนใจมากขึ้น และเกิดความเข้าใจได้ง่ายขึ้น เช่น การแสดงสถาณการณ์จำลอง แบบจำลอง ภาพเคลื่อนไหว แสงสีและเสียงประกอบ นักเรียนสามารถเตรียมตัวก่อนเรียน หรือทบทวนบทเรียนด้วยตนเองเมื่อใดก็ได้ที่มีเวลาว่าง
3. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เพิ่มโอกาสในการเรียนรู้ให้กับผู้พิการทางสายตาหรือหู
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีบทบาทต่อการถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารทางด้านการศึกษาได้เป็นอย่างดี ทั้งในและนอกสถานศึกษา หน่วยงานต่างๆ ใช้บทเรียนออนไลน์ในการฝึกอบรมพนักงานเพื่อให้ความรู้เพิ่มเติม นอกจากนี้อินเทอร์เน็ตยังเป็นแหล่งข้อมูลที่สำคัญที่ทั้งครูและนักเรียนหรือบุคคลทั่วไป ใช้สำหรับค้นหาข้อมูลเรื่องต่างๆ ในการทำรายงาน หรือเพื่อศึกษาหาความรู้ เว็บไซต์สำหรับค้นหาข้อมูลที่ใช้กันมากในปัจจุบัน เช่น google.com, ask.com, dogpile.com และ wikipedia.org ตัวอย่างการค้นหาข้อมูลจากหลักฐานข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
1. การจัดห้องสอบ
2. การพิมพ์รายชื่อนักศึกษาเพื่อการกรอกคะแนนและเกรด
3. คำนวณค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่นักศึกษาต้องจ่ายเป็นค่าลงทะเบียนเรียน
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
1. นักศึกษาตรวจสอบวิชาที่เปิดสอน ตารางสอน
2. ตรวจสอบวิชาว่าติดขัดข้อกำหนดใดหรือไม่
3. พิมพ์รายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนและคำนวณค่าใช้จ่ายการลงทะเบียน
4. พิมพ์รายงานการลงทะเบียนของนักศึกษาในแต่ละวิชา
เอกคหกรรมศาสตร์ หมู่2
นางสาว รัตติยา รัตนนท์ 55191600213
นางสาว สุพานี สว่างแผ้ว 55191600232
นางสาว พูนทรัพย์ ไกรเพชร 55191600206

Unknown กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ
ตอบ ระบบการใช้สารสนเทศในห้องสมุด

2.ลักษณะงาน
ตอบ โดยนำระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่มาใช้งานห้องสมุด พัฒนาให้เป็นระบบอัตโนมัติ (Automated Library System)สร้างระบบเครือข่ายเชื่อมโยงระหว่างห้องสมุดมหาวิทยาลัย เพื่อให้การจัดบริการสารสนเทศมีความครบถ้วนสมบูรณ์และรวดเร็วยิ่งขึ้น เกิดระบบการใช้ทรัพยากรร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ

3.มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร
ตอบ 1.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริการสารสนเทศในระบบอัตโนมัติ ให้สนองความต้องการของผู้ใช้ให้มากที่สุด ครบถ้วน และสะดวกต่อการเข้าถึง โดยใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกันอย่างประหยัด
2.เพื่อพัฒนาห้องสมุดมหาวิทยาลัยให้เป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้และสารสนเทศที่เอื้อต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา
3.เพื่อสนับสนุนการกระจายโอกาสทางการศึกษาและความเสมอภาคทางการศึกษา โดยใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล ตามโครงการเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษาของทบวงมหาวิทยาลัย ซึ่งผู้ใช้สามารถสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากห้องสมุดได้อย่างรวดเร็วโดยผ่านระบบเครือข่ายบริการของห้องสมุดมหาวิทยาลัย
4.เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ ทั้งด้านผู้ให้บริการและผู้ใช้ห้องสมุด ให้มีความรู้และความชำนาญในการจัดการและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร
ตอบ 1.ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
2.ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
3.ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุดเกี่ยวข้องกับนักศึกษา
4.ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
5.ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
6.สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น
นายมานะศักดิ์ มาพบ เอกคหกรรมศาสตร์
55191600210

Unknown กล่าวว่า...

อ.ระบบลงทะเบียนออนไลน์
ลักษณะงาน .มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการ ในระบบการศึกษาที่รวดเร็วมากขึ้น
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน:
-มีความสะดวกรวดเร็วต่อหน่วยงานสถานศึกษา
-มีความเป็นระบบต่อหน่วยงาน
-มีความรวดเร็วต่อนักศึกษา
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา
-การใช่งานอย่างมีระบบและรวดเร็วต่อการศึกษา
-มีความเป็นมาตรฐาน
เอกคหกรรมศาสตร์ หมู่2
นางสาวรัตติยา รัตนนท์ 55191600213
นางสาว สุพานี สว่างแผ้ว 55191600232
นางสาว พูนทรัพย์ ไกรเพชร 55191600206

Unknown กล่าวว่า...
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
Unknown กล่าวว่า...

1. ชื่อระบบสารสนทศ : ATM เครื่องฝาก – ถอนเงินสดอัตโนมัติ
2. ลักษณะงาน : การฝาก ถอน โอนเงิน
3. มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร : บัตร ATM สามารถใช้บริการได้หลายอย่าง เช่น สอบถามยอดเงินคงเหลือในบัญชี ฝากเงิน ถอนเงิน โอนเงินระหว่างบัญชี ชำระค่าสินค้าและบริการ ชำระค่าสาธารณูปโภค ทำประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคล โอนเงินให้บุคคลที่ 3 ภายในธนาคารเดียวกันหรือต่างธนาคาร นอกจากบัตร ATM จะใช้บริการที่ตู้ ATM แล้ว บัตร ATM ของธนาคารบางแห่งยังสามารถนำมาซื้อสินค้าและบริการได้ทันที เรียกว่า ใช้เป็นบัตรเดบิต โดยไม่ต้องเสียเวลาถอนเงินจากตู้ ATMพัฒนาการด้านการเงิน นับวันยิ่งมีการนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วย เพื่อให้เกิดความสะดวก สบาย รวดเร็ว กับผู้บริโภคมากที่สุด กล่าวคือ ATM ถูกพัฒนาให้เป็นมาตรฐานกลางของการสื่อสารทั่วโลก อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถทำงาน ร่วมกันได้ถึงแม้จะต่างชนิดกัน โดยใช้มาตรฐานเดียวกัน ไม่จำเป็นต้องเป็นยี่ห้อหนึ่งยี่ห้อใด กล่าวคือ เป็นมาตรฐานกลางที่ร่วมกันกำหนดขึ้นเพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้ร่วมกัน
4. เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร : เพื่ออำนวยความสะดวกในการฝาก ถอน โอนเงิน และเช็กยอดเงิน ชำระค่าบริการต่างๆ ไม่เสียเวลาในการเดินทางไปธนาคาร เพราะมีอยู่ทั่วทุกพื้นที่และสุดท้ายบัตร ATM ของมหาลัยราชภัฏสุรินทร์ใช้เป็นบัตรนักศึกษาได้อีกด้วย

นางสาวพรนิภา โกทา
สาขา วิทยาศาสตร์ ระดับ คบ.5/1
รหัส 56191960108

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น
นางสาวสถิตย์ภรณ์ วงค์เมือง
นางสาวประภาวดี บุญคลี่
นางสาวอลิษา สีสันงาม
คบ คหกรรมศาสตร์ หมู่2

Unknown กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ
ตอบ ระบบการใช้สารสนเทศในห้องสมุด

2.ลักษณะงาน
ตอบ โดยนำระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่มาใช้งานห้องสมุด พัฒนาให้เป็นระบบอัตโนมัติ (Automated Library System)สร้างระบบเครือข่ายเชื่อมโยงระหว่างห้องสมุดมหาวิทยาลัย เพื่อให้การจัดบริการสารสนเทศมีความครบถ้วนสมบูรณ์และรวดเร็วยิ่งขึ้น เกิดระบบการใช้ทรัพยากรร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ

3.มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร
ตอบ 1.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริการสารสนเทศในระบบอัตโนมัติ ให้สนองความต้องการของผู้ใช้ให้มากที่สุด ครบถ้วน และสะดวกต่อการเข้าถึง โดยใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกันอย่างประหยัด
2.เพื่อพัฒนาห้องสมุดมหาวิทยาลัยให้เป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้และสารสนเทศที่เอื้อต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา
3.เพื่อสนับสนุนการกระจายโอกาสทางการศึกษาและความเสมอภาคทางการศึกษา โดยใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล ตามโครงการเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษาของทบวงมหาวิทยาลัย ซึ่งผู้ใช้สามารถสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากห้องสมุดได้อย่างรวดเร็วโดยผ่านระบบเครือข่ายบริการของห้องสมุดมหาวิทยาลัย
4.เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ ทั้งด้านผู้ให้บริการและผู้ใช้ห้องสมุด ให้มีความรู้และความชำนาญในการจัดการและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร
ตอบ 1.ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
2.ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
3.ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุดเกี่ยวข้องกับนักศึกษา
4.ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
5.ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
6.สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น

นางสาวรพีพร โพธิ์ทอง
รปศ. หมู่2 55128040232

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ชื่อ.ระบบลงทะเบียนออนไลน์
ลักษณะงาน .มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการ ในระบบการศึกษาที่รวดเร็วมากขึ้น
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน:
-มีความสะดวกรวดเร็วต่อหน่วยงานสถานศึกษา
-มีความเป็นระบบต่อหน่วยงาน
-มีความรวดเร็วต่อนักศึกษา
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา
-การใช่งานอย่างมีระบบและรวดเร็วต่อการศึกษา
-มีความเป็นมาตรฐาน
เอกคหกรรมศาสตร์ หมู่2
นางสาว ศุภักษร ทรงวาจา 55191600225

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบการศึกษา
ลักษณะงาน : ด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนำมาใช้เพื่ออำนวยความสะดวกในการบริหารด้านการศึกษา เช่น ระบบการลงทะเบียน และระบบการจัดตารางสอน นอกจากนี้ยังใช้เป็นเครื่องมือในการเพิ่มโอก่สทางด้านการศึกษาและเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในด้านการศึกษา
1. การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ทำให้ผู้ที่อยู่ห่างไกลหรือไม่สะดวกในการเดินทางสามารถได้รับการศึกษาเช่นเดียวกับผู้ที่อยู่ในเมือง
2. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ยังช่วยเสริมประสิทธิภาพการเรียนการสอนในวิชาต่างๆ เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ ภาษาต่างประเทศ ทำให้บทเรียนมีความน่าสนใจมากขึ้น และเกิดความเข้าใจได้ง่ายขึ้น เช่น การแสดงสถาณการณ์จำลอง แบบจำลอง ภาพเคลื่อนไหว แสงสีและเสียงประกอบ นักเรียนสามารถเตรียมตัวก่อนเรียน หรือทบทวนบทเรียนด้วยตนเองเมื่อใดก็ได้ที่มีเวลาว่าง
3. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เพิ่มโอกาสในการเรียนรู้ให้กับผู้พิการทางสายตาหรือหู
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีบทบาทต่อการถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารทางด้านการศึกษาได้เป็นอย่างดี ทั้งในและนอกสถานศึกษา หน่วยงานต่างๆ ใช้บทเรียนออนไลน์ในการฝึกอบรมพนักงานเพื่อให้ความรู้เพิ่มเติม นอกจากนี้อินเทอร์เน็ตยังเป็นแหล่งข้อมูลที่สำคัญที่ทั้งครูและนักเรียนหรือบุคคลทั่วไป ใช้สำหรับค้นหาข้อมูลเรื่องต่างๆ ในการทำรายงาน หรือเพื่อศึกษาหาความรู้ เว็บไซต์สำหรับค้นหาข้อมูลที่ใช้กันมากในปัจจุบัน เช่น google.com, ask.com, dogpile.com และ wikipedia.org ตัวอย่างการค้นหาข้อมูลจากหลักฐานข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
1. การจัดห้องสอบ
2. การพิมพ์รายชื่อนักศึกษาเพื่อการกรอกคะแนนและเกรด
3. คำนวณค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่นักศึกษาต้องจ่ายเป็นค่าลงทะเบียนเรียน
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
1. นักศึกษาตรวจสอบวิชาที่เปิดสอน ตารางสอน
2. ตรวจสอบวิชาว่าติดขัดข้อกำหนดใดหรือไม่
3. พิมพ์รายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนและคำนวณค่าใช้จ่ายการลงทะเบียน
4. พิมพ์รายงานการลงทะเบียนของนักศึกษาในแต่ละวิชา

นายอรรคเดช ฤกษ์ศรี รหัส55122220152 สาขาวิศวกรรมโยธาและสถาปัตยกรรม

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศ มาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศ มาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศ มาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น


นายสนธยา แสนกล้า 56191430133 คบ.ฟิสิกส์ ระดับ5/1

Unknown กล่าวว่า...


ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศ มาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น
นางสาวเจนจิรา พอกพูน 56191430101 คบ.ฟิสิกส์ ระดับ5/1
นางสาวมณีรัตน์ กล้าหาญ 56191430104 คบ.ฟิสิกส์ ระดับ5/1
นางสาวมินตรา ภูมิสิทธิ์ 56191430106 คบ.ฟิสิกส์ ระดับ5/1
นางสาวทนิดา อรรคบาล 56191430134 คบ.ฟิสิกส์ ระดับ5/1

Unknown กล่าวว่า...


ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศ มาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น


นายสนธยา แสนกล้า 56191430133 คบ.ฟิสิกส์ ระดับ5/1

Unknown กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ
- ระบบลงทะเบียนเรียนออนไลน์
2.ลักษณะงาน
-เป็นระบบที่ให้บริการเกี่ยวกับการลงทะเบียนเรียนแบบออนไลน์ ซึ่งมีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีอุปกรณ์คือ คอมพิวเตอร์ เมาส์ คีย์บอร์ด ผู้ที่ใช้บริการคือนักศึกษา ผู้ควบคุมระบบการลงทะเบียนเรียน ข้อมูลที่เกี่ยวกับการลงทะเบียนเรียน ขั้นตอนการดำเนินงาน
3.มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร
-ทำให้ง่ายและรวดเร็วในการตรวจสอบข้อมูล มีความสะดวกต่อหน่วยงานสถานศึกษา
-มีความเป็นระบบแบบแผนมากขึ้นต่อหน่วยงานสถานศึกษา
-ทำให้ง่ายต่อการเก็บรวบรวมข้อมูล
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร
-เป็นระบบที่ให้บริการแก่นักศึกษาในการใช้ลงทะเบียนเรียนผ่านทางระบบแบบออนไลน์และใช้ตรวจสอบข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา
-มีความสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น
นางสาว ธารีรัตน์ มะยมหิน รหัส 56191430127
ค.บ.ฟิสิกส์ ระดับ 5/1

ภรณ์ทิพย์ อินทร์พ็ง กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
-ง่ายต่อการค้นหาหนังสือ
-ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น

นางสาวภรณ์ทิพย์ อินทร์เพ็ง 55191600207
คหกรรมศาสตร์ คบ.5/2

Unknown กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบเอทีเอ็ม
2.ลักษณะงาน : ATM เป็นมาตรฐานรูปแบบการส่งข้อมูลความเร็วสูงที่ถูกพัฒนามาสำหรับงานที่ต้องการความเร็วในการส่งข้อมูลสูงมาก ๆ ข้อมูลที่ส่งในเครือข่าย ATM จะถูกแบ่งเป็นกลุ่มย่อยเล็ก ๆ เรียกว่า เซลล์ (Cell) ซึ่งมีขนาด 53 byte ประกอบด้วยส่วนข้อมูล (payload) ขนาด 48 byte และส่วนหัว (header) ขนาด 5 byte ส่วนหัวจะเก็บข้อมูลที่จำเป็น ต่าง ๆ ที่ใช้ในการควบคุมการส่ง เช่น จุดหมายปลายทาง ระดับความสำคัญของ cell นั้น โดยจะ ประกอบด้วย VPI (Virtual Path Identifier) และ VCI (Virtual Circuit Identifier) ทำหน้าที่กำหนดวงจรเสมือน (virtual circuit) ในการเดินทางให้กับเซลล์นั้น และ HEC (Header Error Check) ทำหน้าที่ตรวจสอบ cell ที่ไม่สอดคล้องตามที่ระบุในส่วนหัว สวิตซ์ ATM จะทำหน้าที่ในการมัลติเพลกซ์และจัดการส่งข้อมูลนั้นตามที่กำหนดไว้ในส่วนหัวไปสู่ปลายทาง เมื่อข้อมูลของผู้ใช้เข้ามา จะถูกตัดแบ่งย่อยเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 48 byte และเติมส่วนหัวเข้าไป อีก 5 byte แล้วจึงส่งไปตามเส้นทางต่าง ๆ ในเครือข่าย ATM ซึ่งระบุไว้โดยส่วนหัว เมื่อถึงปลาย ทางแล้วก็จะเอาส่วนหัวออก แล้วประกอบกันเป็นข้อมูลชิ้นใหญ่เหมือนเดิม ลักษณะของ ATM นี้จะคล้ายกับ packet-switching network อื่นๆ ที่มีอยู่ เช่น x.25 หรือ frame relay แต่ต่างกันที่ ATM จะมีขนาด packet เล็กและคงที่
3. มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร : 1. ATM ถูกพัฒนาให้เป็นมาตรฐานกลางของการสื่อสารทั่วโลก อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถทำงาน ร่วมกันได้ถึงแม้จะต่างชนิดกัน โดยใช้มาตรฐานเดียวกัน ไม่จำเป็นต้องเป็นยี่ห้อหนึ่งยี่ห้อใด กล่าวคือ เป็นมาตรฐานกลางที่ร่วมกันกำหนดขึ้นเพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้ร่วมกัน
2. ATM ถูกพัฒนาเพื่อการส่งข้อมูล สำหรับทั้งเครือข่ายภายในระยะใกล้ (LAN : Local Area Network) และ ระยะไกล (Wide Area Network : WAN) แต่เดิมนั้นรูปแบบของการส่งข้อมูลใน LAN และ WAN จะแตกต่างกัน ซึ่งสร้างความยุ่งยากในการเชื่อมต่อและบริหารเครือข่าย แต่ ATM จะผนวกทั้ง LAN และ WAN เข้าเป็นเครือข่ายใหญ่ที่มีมาตรฐานเดียว
3. ATM ถูกพัฒนาให้ใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบ แต่เดิมนั้นข้อมูลแต่ละรูปแบบไดเแก่ สัญญาณเสียง (voice) ข้อมูล (data) และภาพเคลื่อนไหว (video) ต่างก็มีเครือข่ายของตนเอง โดยสัญญาณเสียงที่ใช้ในเครือข่ายโทรศัพท์จะมีลักษณะที่มีอัตราการส่งข้อมูลคง ที่เท่า ๆ กันตลอดเวลา ข้อมูลเสียงอาจยอมให้มีการสูญเสีย (error) ได้บ้าง แต่จะต้อง ให้มีการหน่วงเวลา (delay) น้อยที่สุด ส่วนข้อมูลของคอมพิวเตอร์ (data) ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จะมีอัตราการส่งข้อมูลไม่คงที่ มีลักษณะเป็น bursty คือ บางเวลาจะมีข้อัมูลมากเป็นกลุ่มก้อน แต่บางเวลาก์ไม่มีข้อมูลเข้ามาเลย ลักษณะนี้เรายอมให้มีการหน่วงเวลาได้บ้าง แต่จะให้มีการสูญเสีย (error) ให้น้อย ที่สุด จะเห็นว่าข้อมูลต่างลักษณะกัน ต้องการคุณภาพในกรส่งที่ต่างประเด็นกัน สำหรับ ATM เราไม่จำเป็นต้องแยกเครือข่ายสำหรับข้อมูลเหล่านี้ เนื่องจากมันถูกออก แบบมาเพื่อใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบทั้งเสียง (voice), ข้อมูล (data) และ วิดีโอ (video) นั่นเอง
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร : ช่วยอำนวยความสะดวกสบายในการ ถอนเงิน โอนเงิน เช็กยอดเงิน ชำระค่าบริการต่างๆ ไม่เสียเวลาในการเดินทางไปธนาคาร เพราะมีอยู่ทั่วทุกพื้นที่

นายณัฐพล โลประโคน 55191890143
นางสาวณัฐกานต์ สังสมานั้นท์ 55191890158
นางสาวจิราภรณ์ สุวงษ์ 55191890159

พลศึกษา ปี 2

Unknown กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบเอทีเอ็ม
2.ลักษณะงาน : ATM เป็นมาตรฐานรูปแบบการส่งข้อมูลความเร็วสูงที่ถูกพัฒนามาสำหรับงานที่ต้องการความเร็วในการส่งข้อมูลสูงมาก ๆ ข้อมูลที่ส่งในเครือข่าย ATM จะถูกแบ่งเป็นกลุ่มย่อยเล็ก ๆ เรียกว่า เซลล์ (Cell) ซึ่งมีขนาด 53 byte ประกอบด้วยส่วนข้อมูล (payload) ขนาด 48 byte และส่วนหัว (header) ขนาด 5 byte ส่วนหัวจะเก็บข้อมูลที่จำเป็น ต่าง ๆ ที่ใช้ในการควบคุมการส่ง เช่น จุดหมายปลายทาง ระดับความสำคัญของ cell นั้น โดยจะ ประกอบด้วย VPI (Virtual Path Identifier) และ VCI (Virtual Circuit Identifier) ทำหน้าที่กำหนดวงจรเสมือน (virtual circuit) ในการเดินทางให้กับเซลล์นั้น และ HEC (Header Error Check) ทำหน้าที่ตรวจสอบ cell ที่ไม่สอดคล้องตามที่ระบุในส่วนหัว สวิตซ์ ATM จะทำหน้าที่ในการมัลติเพลกซ์และจัดการส่งข้อมูลนั้นตามที่กำหนดไว้ในส่วนหัวไปสู่ปลายทาง เมื่อข้อมูลของผู้ใช้เข้ามา จะถูกตัดแบ่งย่อยเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 48 byte และเติมส่วนหัวเข้าไป อีก 5 byte แล้วจึงส่งไปตามเส้นทางต่าง ๆ ในเครือข่าย ATM ซึ่งระบุไว้โดยส่วนหัว เมื่อถึงปลาย ทางแล้วก็จะเอาส่วนหัวออก แล้วประกอบกันเป็นข้อมูลชิ้นใหญ่เหมือนเดิม ลักษณะของ ATM นี้จะคล้ายกับ packet-switching network อื่นๆ ที่มีอยู่ เช่น x.25 หรือ frame relay แต่ต่างกันที่ ATM จะมีขนาด packet เล็กและคงที่
3. มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร : 1. ATM ถูกพัฒนาให้เป็นมาตรฐานกลางของการสื่อสารทั่วโลก อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถทำงาน ร่วมกันได้ถึงแม้จะต่างชนิดกัน โดยใช้มาตรฐานเดียวกัน ไม่จำเป็นต้องเป็นยี่ห้อหนึ่งยี่ห้อใด กล่าวคือ เป็นมาตรฐานกลางที่ร่วมกันกำหนดขึ้นเพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้ร่วมกัน
2. ATM ถูกพัฒนาเพื่อการส่งข้อมูล สำหรับทั้งเครือข่ายภายในระยะใกล้ (LAN : Local Area Network) และ ระยะไกล (Wide Area Network : WAN) แต่เดิมนั้นรูปแบบของการส่งข้อมูลใน LAN และ WAN จะแตกต่างกัน ซึ่งสร้างความยุ่งยากในการเชื่อมต่อและบริหารเครือข่าย แต่ ATM จะผนวกทั้ง LAN และ WAN เข้าเป็นเครือข่ายใหญ่ที่มีมาตรฐานเดียว
3. ATM ถูกพัฒนาให้ใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบ แต่เดิมนั้นข้อมูลแต่ละรูปแบบไดเแก่ สัญญาณเสียง (voice) ข้อมูล (data) และภาพเคลื่อนไหว (video) ต่างก็มีเครือข่ายของตนเอง โดยสัญญาณเสียงที่ใช้ในเครือข่ายโทรศัพท์จะมีลักษณะที่มีอัตราการส่งข้อมูลคง ที่เท่า ๆ กันตลอดเวลา ข้อมูลเสียงอาจยอมให้มีการสูญเสีย (error) ได้บ้าง แต่จะต้อง ให้มีการหน่วงเวลา (delay) น้อยที่สุด ส่วนข้อมูลของคอมพิวเตอร์ (data) ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จะมีอัตราการส่งข้อมูลไม่คงที่ มีลักษณะเป็น bursty คือ บางเวลาจะมีข้อัมูลมากเป็นกลุ่มก้อน แต่บางเวลาก์ไม่มีข้อมูลเข้ามาเลย ลักษณะนี้เรายอมให้มีการหน่วงเวลาได้บ้าง แต่จะให้มีการสูญเสีย (error) ให้น้อย ที่สุด จะเห็นว่าข้อมูลต่างลักษณะกัน ต้องการคุณภาพในกรส่งที่ต่างประเด็นกัน สำหรับ ATM เราไม่จำเป็นต้องแยกเครือข่ายสำหรับข้อมูลเหล่านี้ เนื่องจากมันถูกออก แบบมาเพื่อใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบทั้งเสียง (voice), ข้อมูล (data) และ วิดีโอ (video) นั่นเอง
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร : ช่วยอำนวยความสะดวกสบายในการ ถอนเงิน โอนเงิน เช็กยอดเงิน ชำระค่าบริการต่างๆ ไม่เสียเวลาในการเดินทางไปธนาคาร เพราะมีอยู่ทั่วทุกพื้นที่

นายโกศล แป้นนะริน
56191430123

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น


นายโกศล แป้นนะริน
56191430123

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น

นางสาววารุณี บุตรตะเคียน
56122420124
วิทยาการคอมพิวเตอร์

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น


นายศราวุธ สายดวง 55122220133
เทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและสถาปัตยกรรม วท.บ.4ปี

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบการศึกษา
ลักษณะงาน : ด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนำมาใช้เพื่ออำนวยความสะดวกในการบริหารด้านการศึกษา เช่น ระบบการลงทะเบียน และระบบการจัดตารางสอน นอกจากนี้ยังใช้เป็นเครื่องมือในการเพิ่มโอก่สทางด้านการศึกษาและเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในด้านการศึกษา
1. การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ทำให้ผู้ที่อยู่ห่างไกลหรือไม่สะดวกในการเดินทางสามารถได้รับการศึกษาเช่นเดียวกับผู้ที่อยู่ในเมือง
2. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ยังช่วยเสริมประสิทธิภาพการเรียนการสอนในวิชาต่างๆ เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ ภาษาต่างประเทศ ทำให้บทเรียนมีความน่าสนใจมากขึ้น และเกิดความเข้าใจได้ง่ายขึ้น เช่น การแสดงสถาณการณ์จำลอง แบบจำลอง ภาพเคลื่อนไหว แสงสีและเสียงประกอบ นักเรียนสามารถเตรียมตัวก่อนเรียน หรือทบทวนบทเรียนด้วยตนเองเมื่อใดก็ได้ที่มีเวลาว่าง
3. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เพิ่มโอกาสในการเรียนรู้ให้กับผู้พิการทางสายตาหรือหู
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีบทบาทต่อการถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารทางด้านการศึกษาได้เป็นอย่างดี ทั้งในและนอกสถานศึกษา หน่วยงานต่างๆ ใช้บทเรียนออนไลน์ในการฝึกอบรมพนักงานเพื่อให้ความรู้เพิ่มเติม นอกจากนี้อินเทอร์เน็ตยังเป็นแหล่งข้อมูลที่สำคัญที่ทั้งครูและนักเรียนหรือบุคคลทั่วไป ใช้สำหรับค้นหาข้อมูลเรื่องต่างๆ ในการทำรายงาน หรือเพื่อศึกษาหาความรู้ เว็บไซต์สำหรับค้นหาข้อมูลที่ใช้กันมากในปัจจุบัน เช่น google.com, ask.com, dogpile.com และ wikipedia.org ตัวอย่างการค้นหาข้อมูลจากหลักฐานข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
1. การจัดห้องสอบ
2. การพิมพ์รายชื่อนักศึกษาเพื่อการกรอกคะแนนและเกรด
3. คำนวณค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่นักศึกษาต้องจ่ายเป็นค่าลงทะเบียนเรียน
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
1. นักศึกษาตรวจสอบวิชาที่เปิดสอน ตารางสอน
2. ตรวจสอบวิชาว่าติดขัดข้อกำหนดใดหรือไม่
3. พิมพ์รายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนและคำนวณค่าใช้จ่ายการลงทะเบียน
4. พิมพ์รายงานการลงทะเบียนของนักศึกษาในแต่ละวิชา

นายสานิตย์ ประจบดี 55122220142
สาขา เทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและสถาปัตยกรรม

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบการศึกษา
ลักษณะงาน : ด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนำมาใช้เพื่ออำนวยความสะดวกในการบริหารด้านการศึกษา เช่น ระบบการลงทะเบียน และระบบการจัดตารางสอน นอกจากนี้ยังใช้เป็นเครื่องมือในการเพิ่มโอก่สทางด้านการศึกษาและเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในด้านการศึกษา
1. การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ทำให้ผู้ที่อยู่ห่างไกลหรือไม่สะดวกในการเดินทางสามารถได้รับการศึกษาเช่นเดียวกับผู้ที่อยู่ในเมือง
2. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ยังช่วยเสริมประสิทธิภาพการเรียนการสอนในวิชาต่างๆ เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ ภาษาต่างประเทศ ทำให้บทเรียนมีความน่าสนใจมากขึ้น และเกิดความเข้าใจได้ง่ายขึ้น เช่น การแสดงสถาณการณ์จำลอง แบบจำลอง ภาพเคลื่อนไหว แสงสีและเสียงประกอบ นักเรียนสามารถเตรียมตัวก่อนเรียน หรือทบทวนบทเรียนด้วยตนเองเมื่อใดก็ได้ที่มีเวลาว่าง
3. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เพิ่มโอกาสในการเรียนรู้ให้กับผู้พิการทางสายตาหรือหู
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีบทบาทต่อการถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารทางด้านการศึกษาได้เป็นอย่างดี ทั้งในและนอกสถานศึกษา หน่วยงานต่างๆ ใช้บทเรียนออนไลน์ในการฝึกอบรมพนักงานเพื่อให้ความรู้เพิ่มเติม นอกจากนี้อินเทอร์เน็ตยังเป็นแหล่งข้อมูลที่สำคัญที่ทั้งครูและนักเรียนหรือบุคคลทั่วไป ใช้สำหรับค้นหาข้อมูลเรื่องต่างๆ ในการทำรายงาน หรือเพื่อศึกษาหาความรู้ เว็บไซต์สำหรับค้นหาข้อมูลที่ใช้กันมากในปัจจุบัน เช่น google.com, ask.com, dogpile.com และ wikipedia.org ตัวอย่างการค้นหาข้อมูลจากหลักฐานข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
1. การจัดห้องสอบ
2. การพิมพ์รายชื่อนักศึกษาเพื่อการกรอกคะแนนและเกรด
3. คำนวณค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่นักศึกษาต้องจ่ายเป็นค่าลงทะเบียนเรียน
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
1. นักศึกษาตรวจสอบวิชาที่เปิดสอน ตารางสอน
2. ตรวจสอบวิชาว่าติดขัดข้อกำหนดใดหรือไม่
3. พิมพ์รายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนและคำนวณค่าใช้จ่ายการลงทะเบียน
4. พิมพ์รายงานการลงทะเบียนของนักศึกษาในแต่ละวิชา

นายสานิตย์ ประจบดี 55122220142
สาขา เทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและสถาปัตยกรรม

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบตู้เติมเงินออนไลน์

ลักษณะงาน: เป็นการใช้บริการการเติมเงินที่ให้ความสะดวกต่อผู้ใช้ซึ่งนำเทคโนโลยีมาใช้ ด้วยระบบแบบออนไลน์เชือมโยงไปยังเครือข่ายบนมือถือ เป็นสาระสนเทคที่เชื่อมโยงเครือข่ายต่างเข้าด้วยกัน เช่นมี 1 2 call,dtc,Ais,true move

ประโยชน์ต่อหน่วยงาน:
-สะดวกและรวดเร็ว
-ง่ายต่อการบริการ
-ประหยัดค่าใช้จ่ายของหน่วยงาน
-มีความทันสมัย
-สามารถทำงานได้ตลอด 24 ชม
-ไม่ต้องใช้คน หรือต้องจ้างพนักงาน ตู้สามารถทำงานได้เองโดยอัตโนมัติ

เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร
เนื่องจากปัจจุบันมีการสื่อสารที่มีเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามา การใช้เทคโนโลยีจึงจำเป็นที่จะนำเอามาใช้เพื่อปรับให้เข้ากับสังคมที่เปลี่ยนไป เราจึงจำเป็นต้องใช้เพื่อเพิ่มความสะดวกให้แก่เราและผู้ใช้บริการคนอื่นๆที่ต้องการใช้บรการ

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น

นางสาวราตรี เนียมมูล 55191600214
นางสาววิชญาพร แสงสว่าง 55191600217
นายสุทธิศักดิ์ เสียงเพราะ 55191600230
นางสาวศิริลักษณ์ ดาวไสย์ 55191600223
นางสาวศิวิมล เรืองฉาย 55191600224

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น

นางสาวราตรี เนียมมูล 55191600214
นางสาววิชญาพร แสงสว่าง 55191600217
นายสุทธิศักดิ์ เสียงเพราะ 55191600230
นางสาวศิริลักษณ์ ดาวไสย์ 55191600223
นางสาวศิวิมล เรืองฉาย 55191600224
สาขาคหกรรมศาสตร์ หมู่2

Unknown กล่าวว่า...

ตอบ
1.ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบเอทีเอ็ม
2.ลักษณะงาน : ATM เป็นมาตรฐานรูปแบบการส่งข้อมูลความเร็วสูงที่ถูกพัฒนามาสำหรับงานที่ต้องการความเร็วในการส่งข้อมูลสูงมาก ๆ ข้อมูลที่ส่งในเครือข่าย ATM จะถูกแบ่งเป็นกลุ่มย่อยเล็ก ๆ เรียกว่า เซลล์ (Cell) ซึ่งมีขนาด 53 byte ประกอบด้วยส่วนข้อมูล (payload) ขนาด 48 byte และส่วนหัว (header) ขนาด 5 byte ส่วนหัวจะเก็บข้อมูลที่จำเป็น ต่าง ๆ ที่ใช้ในการควบคุมการส่ง เช่น จุดหมายปลายทาง ระดับความสำคัญของ cell นั้น โดยจะ ประกอบด้วย VPI (Virtual Path Identifier) และ VCI (Virtual Circuit Identifier) ทำหน้าที่กำหนดวงจรเสมือน (virtual circuit) ในการเดินทางให้กับเซลล์นั้น และ HEC (Header Error Check) ทำหน้าที่ตรวจสอบ cell ที่ไม่สอดคล้องตามที่ระบุในส่วนหัว สวิตซ์ ATM จะทำหน้าที่ในการมัลติเพลกซ์และจัดการส่งข้อมูลนั้นตามที่กำหนดไว้ในส่วนหัวไปสู่ปลายทาง เมื่อข้อมูลของผู้ใช้เข้ามา จะถูกตัดแบ่งย่อยเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 48 byte และเติมส่วนหัวเข้าไป อีก 5 byte แล้วจึงส่งไปตามเส้นทางต่าง ๆ ในเครือข่าย ATM ซึ่งระบุไว้โดยส่วนหัว เมื่อถึงปลาย ทางแล้วก็จะเอาส่วนหัวออก แล้วประกอบกันเป็นข้อมูลชิ้นใหญ่เหมือนเดิม ลักษณะของ ATM นี้จะคล้ายกับ packet-switching network อื่นๆ ที่มีอยู่ เช่น x.25 หรือ frame relay แต่ต่างกันที่ ATM จะมีขนาด packet เล็กและคงที่
3. มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร : 1. ATM ถูกพัฒนาให้เป็นมาตรฐานกลางของการสื่อสารทั่วโลก อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถทำงาน ร่วมกันได้ถึงแม้จะต่างชนิดกัน โดยใช้มาตรฐานเดียวกัน ไม่จำเป็นต้องเป็นยี่ห้อหนึ่งยี่ห้อใด กล่าวคือ เป็นมาตรฐานกลางที่ร่วมกันกำหนดขึ้นเพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้ร่วมกัน
2. ATM ถูกพัฒนาเพื่อการส่งข้อมูล สำหรับทั้งเครือข่ายภายในระยะใกล้ (LAN : Local Area Network) และ ระยะไกล (Wide Area Network : WAN) แต่เดิมนั้นรูปแบบของการส่งข้อมูลใน LAN และ WAN จะแตกต่างกัน ซึ่งสร้างความยุ่งยากในการเชื่อมต่อและบริหารเครือข่าย แต่ ATM จะผนวกทั้ง LAN และ WAN เข้าเป็นเครือข่ายใหญ่ที่มีมาตรฐานเดียว
3. ATM ถูกพัฒนาให้ใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบ แต่เดิมนั้นข้อมูลแต่ละรูปแบบไดเแก่ สัญญาณเสียง (voice) ข้อมูล (data) และภาพเคลื่อนไหว (video) ต่างก็มีเครือข่ายของตนเอง โดยสัญญาณเสียงที่ใช้ในเครือข่ายโทรศัพท์จะมีลักษณะที่มีอัตราการส่งข้อมูลคง ที่เท่า ๆ กันตลอดเวลา ข้อมูลเสียงอาจยอมให้มีการสูญเสีย (error) ได้บ้าง แต่จะต้อง ให้มีการหน่วงเวลา (delay) น้อยที่สุด ส่วนข้อมูลของคอมพิวเตอร์ (data) ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จะมีอัตราการส่งข้อมูลไม่คงที่ มีลักษณะเป็น bursty คือ บางเวลาจะมีข้อัมูลมากเป็นกลุ่มก้อน แต่บางเวลาก์ไม่มีข้อมูลเข้ามาเลย ลักษณะนี้เรายอมให้มีการหน่วงเวลาได้บ้าง แต่จะให้มีการสูญเสีย (error) ให้น้อย ที่สุด จะเห็นว่าข้อมูลต่างลักษณะกัน ต้องการคุณภาพในกรส่งที่ต่างประเด็นกัน สำหรับ ATM เราไม่จำเป็นต้องแยกเครือข่ายสำหรับข้อมูลเหล่านี้ เนื่องจากมันถูกออก แบบมาเพื่อใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบทั้งเสียง (voice), ข้อมูล (data) และ วิดีโอ (video) นั่นเอง
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร : ช่วยอำนวยความสะดวกสบายในการ ถอนเงิน โอนเงิน เช็กยอดเงิน ชำระค่าบริการต่างๆ ไม่เสียเวลาในการเดินทางไปธนาคาร เพราะมีอยู่ทั่วทุกพื้นที่
นาย สมภพ อุดหนุน สาขาเกษตรศาสตร์ รหัส56191500104

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น

นางสาวผกาวดี อยู่เย็น 55191600203
สาขา คหกรรมศาสตร์ หมู่ 2

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น
นางสาวผกาวดี อยู่เย็น 55191600203
สาขา คหกรรมศาสตร์ หมู่ 2

นางสาวศิรินภา มะลิงาม 55191600221 คหกรรมศาสตร์ หมู่ 2 กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบเอทีเอ็ม
2.ลักษณะงาน : ATM เป็นมาตรฐานรูปแบบการส่งข้อมูลความเร็วสูงที่ถูกพัฒนามาสำหรับงานที่ต้องการความเร็วในการส่งข้อมูลสูงมาก ๆ ข้อมูลที่ส่งในเครือข่าย ATM จะถูกแบ่งเป็นกลุ่มย่อยเล็ก ๆ เรียกว่า เซลล์ (Cell) ซึ่งมีขนาด 53 byte ประกอบด้วยส่วนข้อมูล (payload) ขนาด 48 byte และส่วนหัว (header) ขนาด 5 byte ส่วนหัวจะเก็บข้อมูลที่จำเป็น ต่าง ๆ ที่ใช้ในการควบคุมการส่ง เช่น จุดหมายปลายทาง ระดับความสำคัญของ cell นั้น โดยจะ ประกอบด้วย VPI (Virtual Path Identifier) และ VCI (Virtual Circuit Identifier) ทำหน้าที่กำหนดวงจรเสมือน (virtual circuit) ในการเดินทางให้กับเซลล์นั้น และ HEC (Header Error Check) ทำหน้าที่ตรวจสอบ cell ที่ไม่สอดคล้องตามที่ระบุในส่วนหัว สวิตซ์ ATM จะทำหน้าที่ในการมัลติเพลกซ์และจัดการส่งข้อมูลนั้นตามที่กำหนดไว้ในส่วนหัวไปสู่ปลายทาง เมื่อข้อมูลของผู้ใช้เข้ามา จะถูกตัดแบ่งย่อยเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 48 byte และเติมส่วนหัวเข้าไป อีก 5 byte แล้วจึงส่งไปตามเส้นทางต่าง ๆ ในเครือข่าย ATM ซึ่งระบุไว้โดยส่วนหัว เมื่อถึงปลาย ทางแล้วก็จะเอาส่วนหัวออก แล้วประกอบกันเป็นข้อมูลชิ้นใหญ่เหมือนเดิม ลักษณะของ ATM นี้จะคล้ายกับ packet-switching network อื่นๆ ที่มีอยู่ เช่น x.25 หรือ frame relay แต่ต่างกันที่ ATM จะมีขนาด packet เล็กและคงที่
3. มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร : 1. ATM ถูกพัฒนาให้เป็นมาตรฐานกลางของการสื่อสารทั่วโลก อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถทำงาน ร่วมกันได้ถึงแม้จะต่างชนิดกัน โดยใช้มาตรฐานเดียวกัน ไม่จำเป็นต้องเป็นยี่ห้อหนึ่งยี่ห้อใด กล่าวคือ เป็นมาตรฐานกลางที่ร่วมกันกำหนดขึ้นเพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้ร่วมกัน
2. ATM ถูกพัฒนาเพื่อการส่งข้อมูล สำหรับทั้งเครือข่ายภายในระยะใกล้ (LAN : Local Area Network) และ ระยะไกล (Wide Area Network : WAN) แต่เดิมนั้นรูปแบบของการส่งข้อมูลใน LAN และ WAN จะแตกต่างกัน ซึ่งสร้างความยุ่งยากในการเชื่อมต่อและบริหารเครือข่าย แต่ ATM จะผนวกทั้ง LAN และ WAN เข้าเป็นเครือข่ายใหญ่ที่มีมาตรฐานเดียว
3. ATM ถูกพัฒนาให้ใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบ แต่เดิมนั้นข้อมูลแต่ละรูปแบบไดเแก่ สัญญาณเสียง (voice) ข้อมูล (data) และภาพเคลื่อนไหว (video) ต่างก็มีเครือข่ายของตนเอง โดยสัญญาณเสียงที่ใช้ในเครือข่ายโทรศัพท์จะมีลักษณะที่มีอัตราการส่งข้อมูลคง ที่เท่า ๆ กันตลอดเวลา ข้อมูลเสียงอาจยอมให้มีการสูญเสีย (error) ได้บ้าง แต่จะต้อง ให้มีการหน่วงเวลา (delay) น้อยที่สุด ส่วนข้อมูลของคอมพิวเตอร์ (data) ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จะมีอัตราการส่งข้อมูลไม่คงที่ มีลักษณะเป็น bursty คือ บางเวลาจะมีข้อัมูลมากเป็นกลุ่มก้อน แต่บางเวลาก์ไม่มีข้อมูลเข้ามาเลย ลักษณะนี้เรายอมให้มีการหน่วงเวลาได้บ้าง แต่จะให้มีการสูญเสีย (error) ให้น้อย ที่สุด จะเห็นว่าข้อมูลต่างลักษณะกัน ต้องการคุณภาพในกรส่งที่ต่างประเด็นกัน สำหรับ ATM เราไม่จำเป็นต้องแยกเครือข่ายสำหรับข้อมูลเหล่านี้ เนื่องจากมันถูกออก แบบมาเพื่อใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบทั้งเสียง (voice), ข้อมูล (data) และ วิดีโอ (video) นั่นเอง
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร : ช่วยอำนวยความสะดวกสบายในการ ถอนเงิน โอนเงิน เช็กยอดเงิน ชำระค่าบริการต่างๆ ไม่เสียเวลาในการเดินทางไปธนาคาร เพราะมีอยู่ทั่วทุกพื้นที่
9 กรกฎาคม 2556, 02:30
คณายุทธิ์ เครือแสง กล่าวว่า...
ชื่อระบบสารสนทศ : เครื่องเบิก-ถอนเงินอัตโนมัติ
ลักษณะงาน : การฝาก ถอน โอนเงิน
มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร : เพื่ออำนวยความสะดวกในการฝาก ถอน โอนเงิน และนำคอมพิวเตอร์ระบบ
ออนไลน์และออฟไลน์เข้ามาช่วยในการทำงานประจำวันของธนาคารด้วยการเชื่อมโยงข้อมูลของธนาคารต่างสาขา ต่างธนาคาร ทำให้ผู้ใช้บริการสามารถเบิก ถอน โอนเงินชำระเงินค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ได้โดยสะดวก
เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร : 1.สะดวกในการฝาก ถอนและโอนเงิน

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ตอบ
1.ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบเอทีเอ็ม
2.ลักษณะงาน : ATM เป็นมาตรฐานรูปแบบการส่งข้อมูลความเร็วสูงที่ถูกพัฒนามาสำหรับงานที่ต้องการความเร็วในการส่งข้อมูลสูงมาก ๆ ข้อมูลที่ส่งในเครือข่าย ATM จะถูกแบ่งเป็นกลุ่มย่อยเล็ก ๆ เรียกว่า เซลล์ (Cell) ซึ่งมีขนาด 53 byte ประกอบด้วยส่วนข้อมูล (payload) ขนาด 48 byte และส่วนหัว (header) ขนาด 5 byte ส่วนหัวจะเก็บข้อมูลที่จำเป็น ต่าง ๆ ที่ใช้ในการควบคุมการส่ง เช่น จุดหมายปลายทาง ระดับความสำคัญของ cell นั้น โดยจะ ประกอบด้วย VPI (Virtual Path Identifier) และ VCI (Virtual Circuit Identifier) ทำหน้าที่กำหนดวงจรเสมือน (virtual circuit) ในการเดินทางให้กับเซลล์นั้น และ HEC (Header Error Check) ทำหน้าที่ตรวจสอบ cell ที่ไม่สอดคล้องตามที่ระบุในส่วนหัว สวิตซ์ ATM จะทำหน้าที่ในการมัลติเพลกซ์และจัดการส่งข้อมูลนั้นตามที่กำหนดไว้ในส่วนหัวไปสู่ปลายทาง เมื่อข้อมูลของผู้ใช้เข้ามา จะถูกตัดแบ่งย่อยเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 48 byte และเติมส่วนหัวเข้าไป อีก 5 byte แล้วจึงส่งไปตามเส้นทางต่าง ๆ ในเครือข่าย ATM ซึ่งระบุไว้โดยส่วนหัว เมื่อถึงปลาย ทางแล้วก็จะเอาส่วนหัวออก แล้วประกอบกันเป็นข้อมูลชิ้นใหญ่เหมือนเดิม ลักษณะของ ATM นี้จะคล้ายกับ packet-switching network อื่นๆ ที่มีอยู่ เช่น x.25 หรือ frame relay แต่ต่างกันที่ ATM จะมีขนาด packet เล็กและคงที่
3. มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร : 1. ATM ถูกพัฒนาให้เป็นมาตรฐานกลางของการสื่อสารทั่วโลก อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถทำงาน ร่วมกันได้ถึงแม้จะต่างชนิดกัน โดยใช้มาตรฐานเดียวกัน ไม่จำเป็นต้องเป็นยี่ห้อหนึ่งยี่ห้อใด กล่าวคือ เป็นมาตรฐานกลางที่ร่วมกันกำหนดขึ้นเพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้ร่วมกัน
2. ATM ถูกพัฒนาเพื่อการส่งข้อมูล สำหรับทั้งเครือข่ายภายในระยะใกล้ (LAN : Local Area Network) และ ระยะไกล (Wide Area Network : WAN) แต่เดิมนั้นรูปแบบของการส่งข้อมูลใน LAN และ WAN จะแตกต่างกัน ซึ่งสร้างความยุ่งยากในการเชื่อมต่อและบริหารเครือข่าย แต่ ATM จะผนวกทั้ง LAN และ WAN เข้าเป็นเครือข่ายใหญ่ที่มีมาตรฐานเดียว
3. ATM ถูกพัฒนาให้ใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบ แต่เดิมนั้นข้อมูลแต่ละรูปแบบไดเแก่ สัญญาณเสียง (voice) ข้อมูล (data) และภาพเคลื่อนไหว (video) ต่างก็มีเครือข่ายของตนเอง โดยสัญญาณเสียงที่ใช้ในเครือข่ายโทรศัพท์จะมีลักษณะที่มีอัตราการส่งข้อมูลคง ที่เท่า ๆ กันตลอดเวลา ข้อมูลเสียงอาจยอมให้มีการสูญเสีย (error) ได้บ้าง แต่จะต้อง ให้มีการหน่วงเวลา (delay) น้อยที่สุด ส่วนข้อมูลของคอมพิวเตอร์ (data) ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จะมีอัตราการส่งข้อมูลไม่คงที่ มีลักษณะเป็น bursty คือ บางเวลาจะมีข้อัมูลมากเป็นกลุ่มก้อน แต่บางเวลาก์ไม่มีข้อมูลเข้ามาเลย ลักษณะนี้เรายอมให้มีการหน่วงเวลาได้บ้าง แต่จะให้มีการสูญเสีย (error) ให้น้อย ที่สุด จะเห็นว่าข้อมูลต่างลักษณะกัน ต้องการคุณภาพในกรส่งที่ต่างประเด็นกัน สำหรับ ATM เราไม่จำเป็นต้องแยกเครือข่ายสำหรับข้อมูลเหล่านี้ เนื่องจากมันถูกออก แบบมาเพื่อใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบทั้งเสียง (voice), ข้อมูล (data) และ วิดีโอ (video) นั่นเอง
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร : ช่วยอำนวยความสะดวกสบายในการ ถอนเงิน โอนเงิน เช็กยอดเงิน ชำระค่าบริการต่างๆ ไม่เสียเวลาในการเดินทางไปธนาคาร เพราะมีอยู่ทั่วทุกพื้นที่

นางสาวผกาวดี อยู่เย็น 55191600203
สาขา คหกรรมศาสตร์ หมู่ 2

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อระบบสารสนทศ : เครื่องเบิก-ถอนเงินอัตโนมัติ
ลักษณะงาน : การฝาก ถอน โอนเงิน
มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร : เพื่ออำนวยความสะดวกในการฝาก ถอน โอนเงิน และนำคอมพิวเตอร์ระบบ
ออนไลน์และออฟไลน์เข้ามาช่วยในการทำงานประจำวันของธนาคารด้วยการเชื่อมโยงข้อมูลของธนาคารต่างสาขา ต่างธนาคาร ทำให้ผู้ใช้บริการสามารถเบิก ถอน โอนเงินชำระเงินค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ได้โดยสะดวก
เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร : 1.สะดวกในการฝาก ถอนและโอนเงิน

นางสาวสร้อยสุดา อินทร์หอม 55122220140
วิศวกรรมโยธาและสถาปัตยกรรม

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น
นางสาวกาญจนา คิดดีจริง สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและสถาปัตยกรรม รหัสนักศึกษา 55162220101

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น

นางสาวผกาวดี อยู่เย็น เลขที่ 4
สาขา คหกรรมศาสตร์ หมู่ 2

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้

นายวิทวัตร ตุพิมาย 55162220113 โยธาสถาปัตย์

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น

นางสาวนลิตา คำโฮม 54191700212 สาขาอุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี หมู่ 2 ปี3

Unknown กล่าวว่า...

ตอบ
1.ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบเอทีเอ็ม
2.ลักษณะงาน : ATM เป็นมาตรฐานรูปแบบการส่งข้อมูลความเร็วสูงที่ถูกพัฒนามาสำหรับงานที่ต้องการความเร็วในการส่งข้อมูลสูงมาก ๆ ข้อมูลที่ส่งในเครือข่าย ATM จะถูกแบ่งเป็นกลุ่มย่อยเล็ก ๆ เรียกว่า เซลล์ (Cell) ซึ่งมีขนาด 53 byte ประกอบด้วยส่วนข้อมูล (payload) ขนาด 48 byte และส่วนหัว (header) ขนาด 5 byte ส่วนหัวจะเก็บข้อมูลที่จำเป็น ต่าง ๆ ที่ใช้ในการควบคุมการส่ง เช่น จุดหมายปลายทาง ระดับความสำคัญของ cell นั้น โดยจะ ประกอบด้วย VPI (Virtual Path Identifier) และ VCI (Virtual Circuit Identifier) ทำหน้าที่กำหนดวงจรเสมือน (virtual circuit) ในการเดินทางให้กับเซลล์นั้น และ HEC (Header Error Check) ทำหน้าที่ตรวจสอบ cell ที่ไม่สอดคล้องตามที่ระบุในส่วนหัว สวิตซ์ ATM จะทำหน้าที่ในการมัลติเพลกซ์และจัดการส่งข้อมูลนั้นตามที่กำหนดไว้ในส่วนหัวไปสู่ปลายทาง เมื่อข้อมูลของผู้ใช้เข้ามา จะถูกตัดแบ่งย่อยเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 48 byte และเติมส่วนหัวเข้าไป อีก 5 byte แล้วจึงส่งไปตามเส้นทางต่าง ๆ ในเครือข่าย ATM ซึ่งระบุไว้โดยส่วนหัว เมื่อถึงปลาย ทางแล้วก็จะเอาส่วนหัวออก แล้วประกอบกันเป็นข้อมูลชิ้นใหญ่เหมือนเดิม ลักษณะของ ATM นี้จะคล้ายกับ packet-switching network อื่นๆ ที่มีอยู่ เช่น x.25 หรือ frame relay แต่ต่างกันที่ ATM จะมีขนาด packet เล็กและคงที่
3. มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร : 1. ATM ถูกพัฒนาให้เป็นมาตรฐานกลางของการสื่อสารทั่วโลก อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถทำงาน ร่วมกันได้ถึงแม้จะต่างชนิดกัน โดยใช้มาตรฐานเดียวกัน ไม่จำเป็นต้องเป็นยี่ห้อหนึ่งยี่ห้อใด กล่าวคือ เป็นมาตรฐานกลางที่ร่วมกันกำหนดขึ้นเพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้ร่วมกัน
2. ATM ถูกพัฒนาเพื่อการส่งข้อมูล สำหรับทั้งเครือข่ายภายในระยะใกล้ (LAN : Local Area Network) และ ระยะไกล (Wide Area Network : WAN) แต่เดิมนั้นรูปแบบของการส่งข้อมูลใน LAN และ WAN จะแตกต่างกัน ซึ่งสร้างความยุ่งยากในการเชื่อมต่อและบริหารเครือข่าย แต่ ATM จะผนวกทั้ง LAN และ WAN เข้าเป็นเครือข่ายใหญ่ที่มีมาตรฐานเดียว
3. ATM ถูกพัฒนาให้ใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบ แต่เดิมนั้นข้อมูลแต่ละรูปแบบไดเแก่ สัญญาณเสียง (voice) ข้อมูล (data) และภาพเคลื่อนไหว (video) ต่างก็มีเครือข่ายของตนเอง โดยสัญญาณเสียงที่ใช้ในเครือข่ายโทรศัพท์จะมีลักษณะที่มีอัตราการส่งข้อมูลคง ที่เท่า ๆ กันตลอดเวลา ข้อมูลเสียงอาจยอมให้มีการสูญเสีย (error) ได้บ้าง แต่จะต้อง ให้มีการหน่วงเวลา (delay) น้อยที่สุด ส่วนข้อมูลของคอมพิวเตอร์ (data) ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จะมีอัตราการส่งข้อมูลไม่คงที่ มีลักษณะเป็น bursty คือ บางเวลาจะมีข้อัมูลมากเป็นกลุ่มก้อน แต่บางเวลาก์ไม่มีข้อมูลเข้ามาเลย ลักษณะนี้เรายอมให้มีการหน่วงเวลาได้บ้าง แต่จะให้มีการสูญเสีย (error) ให้น้อย ที่สุด จะเห็นว่าข้อมูลต่างลักษณะกัน ต้องการคุณภาพในกรส่งที่ต่างประเด็นกัน สำหรับ ATM เราไม่จำเป็นต้องแยกเครือข่ายสำหรับข้อมูลเหล่านี้ เนื่องจากมันถูกออก แบบมาเพื่อใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบทั้งเสียง (voice), ข้อมูล (data) และ วิดีโอ (video) นั่นเอง
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร : ช่วยอำนวยความสะดวกสบายในการ ถอนเงิน โอนเงิน เช็กยอดเงิน ชำระค่าบริการต่างๆ ไม่เสียเวลาในการเดินทางไปธนาคาร เพราะมีอยู่ทั่วไป

นาวสาวหทัย แอมภารัมย์ คบ 5/2 ภาษาไทยหมู่1 รหัส 55191010155

Unknown กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบเอทีเอ็ม
2.ลักษณะงาน : ATM เป็นมาตรฐานรูปแบบการส่งข้อมูลความเร็วสูงที่ถูกพัฒนามาสำหรับงานที่ต้องการความเร็วในการส่งข้อมูลสูงมาก ๆ ข้อมูลที่ส่งในเครือข่าย ATM จะถูกแบ่งเป็นกลุ่มย่อยเล็ก ๆ เรียกว่า เซลล์ (Cell) ซึ่งมีขนาด 53 byte ประกอบด้วยส่วนข้อมูล (payload) ขนาด 48 byte และส่วนหัว (header) ขนาด 5 byte ส่วนหัวจะเก็บข้อมูลที่จำเป็น ต่าง ๆ ที่ใช้ในการควบคุมการส่ง เช่น จุดหมายปลายทาง ระดับความสำคัญของ cell นั้น โดยจะ ประกอบด้วย VPI (Virtual Path Identifier) และ VCI (Virtual Circuit Identifier) ทำหน้าที่กำหนดวงจรเสมือน (virtual circuit) ในการเดินทางให้กับเซลล์นั้น และ HEC (Header Error Check) ทำหน้าที่ตรวจสอบ cell ที่ไม่สอดคล้องตามที่ระบุในส่วนหัว สวิตซ์ ATM จะทำหน้าที่ในการมัลติเพลกซ์และจัดการส่งข้อมูลนั้นตามที่กำหนดไว้ในส่วนหัวไปสู่ปลายทาง เมื่อข้อมูลของผู้ใช้เข้ามา จะถูกตัดแบ่งย่อยเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 48 byte และเติมส่วนหัวเข้าไป อีก 5 byte แล้วจึงส่งไปตามเส้นทางต่าง ๆ ในเครือข่าย ATM ซึ่งระบุไว้โดยส่วนหัว เมื่อถึงปลาย ทางแล้วก็จะเอาส่วนหัวออก แล้วประกอบกันเป็นข้อมูลชิ้นใหญ่เหมือนเดิม ลักษณะของ ATM นี้จะคล้ายกับ packet-switching network อื่นๆ ที่มีอยู่ เช่น x.25 หรือ frame relay แต่ต่างกันที่ ATM จะมีขนาด packet เล็กและคงที่
3. มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร : 1. ATM ถูกพัฒนาให้เป็นมาตรฐานกลางของการสื่อสารทั่วโลก อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถทำงาน ร่วมกันได้ถึงแม้จะต่างชนิดกัน โดยใช้มาตรฐานเดียวกัน ไม่จำเป็นต้องเป็นยี่ห้อหนึ่งยี่ห้อใด กล่าวคือ เป็นมาตรฐานกลางที่ร่วมกันกำหนดขึ้นเพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้ร่วมกัน
2. ATM ถูกพัฒนาเพื่อการส่งข้อมูล สำหรับทั้งเครือข่ายภายในระยะใกล้ (LAN : Local Area Network) และ ระยะไกล (Wide Area Network : WAN) แต่เดิมนั้นรูปแบบของการส่งข้อมูลใน LAN และ WAN จะแตกต่างกัน ซึ่งสร้างความยุ่งยากในการเชื่อมต่อและบริหารเครือข่าย แต่ ATM จะผนวกทั้ง LAN และ WAN เข้าเป็นเครือข่ายใหญ่ที่มีมาตรฐานเดียว
3. ATM ถูกพัฒนาให้ใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบ แต่เดิมนั้นข้อมูลแต่ละรูปแบบไดเแก่ สัญญาณเสียง (voice) ข้อมูล (data) และภาพเคลื่อนไหว (video) ต่างก็มีเครือข่ายของตนเอง โดยสัญญาณเสียงที่ใช้ในเครือข่ายโทรศัพท์จะมีลักษณะที่มีอัตราการส่งข้อมูลคง ที่เท่า ๆ กันตลอดเวลา ข้อมูลเสียงอาจยอมให้มีการสูญเสีย (error) ได้บ้าง แต่จะต้อง ให้มีการหน่วงเวลา (delay) น้อยที่สุด ส่วนข้อมูลของคอมพิวเตอร์ (data) ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จะมีอัตราการส่งข้อมูลไม่คงที่ มีลักษณะเป็น bursty คือ บางเวลาจะมีข้อัมูลมากเป็นกลุ่มก้อน แต่บางเวลาก์ไม่มีข้อมูลเข้ามาเลย ลักษณะนี้เรายอมให้มีการหน่วงเวลาได้บ้าง แต่จะให้มีการสูญเสีย (error) ให้น้อย ที่สุด จะเห็นว่าข้อมูลต่างลักษณะกัน ต้องการคุณภาพในกรส่งที่ต่างประเด็นกัน สำหรับ ATM เราไม่จำเป็นต้องแยกเครือข่ายสำหรับข้อมูลเหล่านี้ เนื่องจากมันถูกออก แบบมาเพื่อใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบทั้งเสียง (voice), ข้อมูล (data) และ วิดีโอ (video) นั่นเอง
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร : ช่วยอำนวยความสะดวกสบายในการ ถอนเงิน โอนเงิน เช็กยอดเงิน ชำระค่าบริการต่างๆ ไม่เสียเวลาในการเดินทางไปธนาคาร เพราะมีอยู่ทั่วทุกพื้นที่

1 ชือนาย ปิยภูมิ สมเสร็จ
รหัส 56191500102
คบ.เกษตรศาสตร์
2นาย สมภพ อุดหนุน
56191500104
คบ.เกษตรศาสตร์

Unknown กล่าวว่า...

ตอบ
1.ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบเอทีเอ็ม
2.ลักษณะงาน : ATM เป็นมาตรฐานรูปแบบการส่งข้อมูลความเร็วสูงที่ถูกพัฒนามาสำหรับงานที่ต้องการความเร็วในการส่งข้อมูลสูงมาก ๆ ข้อมูลที่ส่งในเครือข่าย ATM จะถูกแบ่งเป็นกลุ่มย่อยเล็ก ๆ เรียกว่า เซลล์ (Cell) ซึ่งมีขนาด 53 byte ประกอบด้วยส่วนข้อมูล (payload) ขนาด 48 byte และส่วนหัว (header) ขนาด 5 byte ส่วนหัวจะเก็บข้อมูลที่จำเป็น ต่าง ๆ ที่ใช้ในการควบคุมการส่ง เช่น จุดหมายปลายทาง ระดับความสำคัญของ cell นั้น โดยจะ ประกอบด้วย VPI (Virtual Path Identifier) และ VCI (Virtual Circuit Identifier) ทำหน้าที่กำหนดวงจรเสมือน (virtual circuit) ในการเดินทางให้กับเซลล์นั้น และ HEC (Header Error Check) ทำหน้าที่ตรวจสอบ cell ที่ไม่สอดคล้องตามที่ระบุในส่วนหัว สวิตซ์ ATM จะทำหน้าที่ในการมัลติเพลกซ์และจัดการส่งข้อมูลนั้นตามที่กำหนดไว้ในส่วนหัวไปสู่ปลายทาง เมื่อข้อมูลของผู้ใช้เข้ามา จะถูกตัดแบ่งย่อยเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 48 byte และเติมส่วนหัวเข้าไป อีก 5 byte แล้วจึงส่งไปตามเส้นทางต่าง ๆ ในเครือข่าย ATM ซึ่งระบุไว้โดยส่วนหัว เมื่อถึงปลาย ทางแล้วก็จะเอาส่วนหัวออก แล้วประกอบกันเป็นข้อมูลชิ้นใหญ่เหมือนเดิม ลักษณะของ ATM นี้จะคล้ายกับ packet-switching network อื่นๆ ที่มีอยู่ เช่น x.25 หรือ frame relay แต่ต่างกันที่ ATM จะมีขนาด packet เล็กและคงที่
3. มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร : 1. ATM ถูกพัฒนาให้เป็นมาตรฐานกลางของการสื่อสารทั่วโลก อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถทำงาน ร่วมกันได้ถึงแม้จะต่างชนิดกัน โดยใช้มาตรฐานเดียวกัน ไม่จำเป็นต้องเป็นยี่ห้อหนึ่งยี่ห้อใด กล่าวคือ เป็นมาตรฐานกลางที่ร่วมกันกำหนดขึ้นเพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้ร่วมกัน
2. ATM ถูกพัฒนาเพื่อการส่งข้อมูล สำหรับทั้งเครือข่ายภายในระยะใกล้ (LAN : Local Area Network) และ ระยะไกล (Wide Area Network : WAN) แต่เดิมนั้นรูปแบบของการส่งข้อมูลใน LAN และ WAN จะแตกต่างกัน ซึ่งสร้างความยุ่งยากในการเชื่อมต่อและบริหารเครือข่าย แต่ ATM จะผนวกทั้ง LAN และ WAN เข้าเป็นเครือข่ายใหญ่ที่มีมาตรฐานเดียว
3. ATM ถูกพัฒนาให้ใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบ แต่เดิมนั้นข้อมูลแต่ละรูปแบบไดเแก่ สัญญาณเสียง (voice) ข้อมูล (data) และภาพเคลื่อนไหว (video) ต่างก็มีเครือข่ายของตนเอง โดยสัญญาณเสียงที่ใช้ในเครือข่ายโทรศัพท์จะมีลักษณะที่มีอัตราการส่งข้อมูลคง ที่เท่า ๆ กันตลอดเวลา ข้อมูลเสียงอาจยอมให้มีการสูญเสีย (error) ได้บ้าง แต่จะต้อง ให้มีการหน่วงเวลา (delay) น้อยที่สุด ส่วนข้อมูลของคอมพิวเตอร์ (data) ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จะมีอัตราการส่งข้อมูลไม่คงที่ มีลักษณะเป็น bursty คือ บางเวลาจะมีข้อัมูลมากเป็นกลุ่มก้อน แต่บางเวลาก์ไม่มีข้อมูลเข้ามาเลย ลักษณะนี้เรายอมให้มีการหน่วงเวลาได้บ้าง แต่จะให้มีการสูญเสีย (error) ให้น้อย ที่สุด จะเห็นว่าข้อมูลต่างลักษณะกัน ต้องการคุณภาพในกรส่งที่ต่างประเด็นกัน สำหรับ ATM เราไม่จำเป็นต้องแยกเครือข่ายสำหรับข้อมูลเหล่านี้ เนื่องจากมันถูกออก แบบมาเพื่อใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบทั้งเสียง (voice), ข้อมูล (data) และ วิดีโอ (video) นั่นเอง
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร : ช่วยอำนวยความสะดวกสบายในการ ถอนเงิน โอนเงิน เช็กยอดเงิน ชำระค่าบริการต่างๆ ไม่เสียเวลาในการเดินทางไปธนาคาร เพราะมีอยู่ทั่วไป

นาย ปิยภูมิ สมเสร็จ
รหัส56191500102
คบ.เกษตรศาสตร์

Unknown กล่าวว่า...

ตอบ
1.ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบเอทีเอ็ม
2.ลักษณะงาน : ATM เป็นมาตรฐานรูปแบบการส่งข้อมูลความเร็วสูงที่ถูกพัฒนามาสำหรับงานที่ต้องการความเร็วในการส่งข้อมูลสูงมาก ๆ ข้อมูลที่ส่งในเครือข่าย ATM จะถูกแบ่งเป็นกลุ่มย่อยเล็ก ๆ เรียกว่า เซลล์ (Cell) ซึ่งมีขนาด 53 byte ประกอบด้วยส่วนข้อมูล (payload) ขนาด 48 byte และส่วนหัว (header) ขนาด 5 byte ส่วนหัวจะเก็บข้อมูลที่จำเป็น ต่าง ๆ ที่ใช้ในการควบคุมการส่ง เช่น จุดหมายปลายทาง ระดับความสำคัญของ cell นั้น โดยจะ ประกอบด้วย VPI (Virtual Path Identifier) และ VCI (Virtual Circuit Identifier) ทำหน้าที่กำหนดวงจรเสมือน (virtual circuit) ในการเดินทางให้กับเซลล์นั้น และ HEC (Header Error Check) ทำหน้าที่ตรวจสอบ cell ที่ไม่สอดคล้องตามที่ระบุในส่วนหัว สวิตซ์ ATM จะทำหน้าที่ในการมัลติเพลกซ์และจัดการส่งข้อมูลนั้นตามที่กำหนดไว้ในส่วนหัวไปสู่ปลายทาง เมื่อข้อมูลของผู้ใช้เข้ามา จะถูกตัดแบ่งย่อยเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 48 byte และเติมส่วนหัวเข้าไป อีก 5 byte แล้วจึงส่งไปตามเส้นทางต่าง ๆ ในเครือข่าย ATM ซึ่งระบุไว้โดยส่วนหัว เมื่อถึงปลาย ทางแล้วก็จะเอาส่วนหัวออก แล้วประกอบกันเป็นข้อมูลชิ้นใหญ่เหมือนเดิม ลักษณะของ ATM นี้จะคล้ายกับ packet-switching network อื่นๆ ที่มีอยู่ เช่น x.25 หรือ frame relay แต่ต่างกันที่ ATM จะมีขนาด packet เล็กและคงที่
3. มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร : 1. ATM ถูกพัฒนาให้เป็นมาตรฐานกลางของการสื่อสารทั่วโลก อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถทำงาน ร่วมกันได้ถึงแม้จะต่างชนิดกัน โดยใช้มาตรฐานเดียวกัน ไม่จำเป็นต้องเป็นยี่ห้อหนึ่งยี่ห้อใด กล่าวคือ เป็นมาตรฐานกลางที่ร่วมกันกำหนดขึ้นเพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้ร่วมกัน
2. ATM ถูกพัฒนาเพื่อการส่งข้อมูล สำหรับทั้งเครือข่ายภายในระยะใกล้ (LAN : Local Area Network) และ ระยะไกล (Wide Area Network : WAN) แต่เดิมนั้นรูปแบบของการส่งข้อมูลใน LAN และ WAN จะแตกต่างกัน ซึ่งสร้างความยุ่งยากในการเชื่อมต่อและบริหารเครือข่าย แต่ ATM จะผนวกทั้ง LAN และ WAN เข้าเป็นเครือข่ายใหญ่ที่มีมาตรฐานเดียว
3. ATM ถูกพัฒนาให้ใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบ แต่เดิมนั้นข้อมูลแต่ละรูปแบบไดเแก่ สัญญาณเสียง (voice) ข้อมูล (data) และภาพเคลื่อนไหว (video) ต่างก็มีเครือข่ายของตนเอง โดยสัญญาณเสียงที่ใช้ในเครือข่ายโทรศัพท์จะมีลักษณะที่มีอัตราการส่งข้อมูลคง ที่เท่า ๆ กันตลอดเวลา ข้อมูลเสียงอาจยอมให้มีการสูญเสีย (error) ได้บ้าง แต่จะต้อง ให้มีการหน่วงเวลา (delay) น้อยที่สุด ส่วนข้อมูลของคอมพิวเตอร์ (data) ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จะมีอัตราการส่งข้อมูลไม่คงที่ มีลักษณะเป็น bursty คือ บางเวลาจะมีข้อัมูลมากเป็นกลุ่มก้อน แต่บางเวลาก์ไม่มีข้อมูลเข้ามาเลย ลักษณะนี้เรายอมให้มีการหน่วงเวลาได้บ้าง แต่จะให้มีการสูญเสีย (error) ให้น้อย ที่สุด จะเห็นว่าข้อมูลต่างลักษณะกัน ต้องการคุณภาพในกรส่งที่ต่างประเด็นกัน สำหรับ ATM เราไม่จำเป็นต้องแยกเครือข่ายสำหรับข้อมูลเหล่านี้ เนื่องจากมันถูกออก แบบมาเพื่อใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบทั้งเสียง (voice), ข้อมูล (data) และ วิดีโอ (video) นั่นเอง
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร : ช่วยอำนวยความสะดวกสบายในการ ถอนเงิน โอนเงิน เช็กยอดเงิน ชำระค่าบริการต่างๆ ไม่เสียเวลาในการเดินทางไปธนาคาร เพราะมีอยู่ทั่วไป

นาย ปิยภูมิ สมเสร็จ
รหัส56191500102
คบ.เกษตรศาสตร์

Unknown กล่าวว่า...

ตอบ
1.ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบเอทีเอ็ม
2.ลักษณะงาน : ATM เป็นมาตรฐานรูปแบบการส่งข้อมูลความเร็วสูงที่ถูกพัฒนามาสำหรับงานที่ต้องการความเร็วในการส่งข้อมูลสูงมาก ๆ ข้อมูลที่ส่งในเครือข่าย ATM จะถูกแบ่งเป็นกลุ่มย่อยเล็ก ๆ เรียกว่า เซลล์ (Cell) ซึ่งมีขนาด 53 byte ประกอบด้วยส่วนข้อมูล (payload) ขนาด 48 byte และส่วนหัว (header) ขนาด 5 byte ส่วนหัวจะเก็บข้อมูลที่จำเป็น ต่าง ๆ ที่ใช้ในการควบคุมการส่ง เช่น จุดหมายปลายทาง ระดับความสำคัญของ cell นั้น โดยจะ ประกอบด้วย VPI (Virtual Path Identifier) และ VCI (Virtual Circuit Identifier) ทำหน้าที่กำหนดวงจรเสมือน (virtual circuit) ในการเดินทางให้กับเซลล์นั้น และ HEC (Header Error Check) ทำหน้าที่ตรวจสอบ cell ที่ไม่สอดคล้องตามที่ระบุในส่วนหัว สวิตซ์ ATM จะทำหน้าที่ในการมัลติเพลกซ์และจัดการส่งข้อมูลนั้นตามที่กำหนดไว้ในส่วนหัวไปสู่ปลายทาง เมื่อข้อมูลของผู้ใช้เข้ามา จะถูกตัดแบ่งย่อยเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 48 byte และเติมส่วนหัวเข้าไป อีก 5 byte แล้วจึงส่งไปตามเส้นทางต่าง ๆ ในเครือข่าย ATM ซึ่งระบุไว้โดยส่วนหัว เมื่อถึงปลาย ทางแล้วก็จะเอาส่วนหัวออก แล้วประกอบกันเป็นข้อมูลชิ้นใหญ่เหมือนเดิม ลักษณะของ ATM นี้จะคล้ายกับ packet-switching network อื่นๆ ที่มีอยู่ เช่น x.25 หรือ frame relay แต่ต่างกันที่ ATM จะมีขนาด packet เล็กและคงที่
3. มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร : 1. ATM ถูกพัฒนาให้เป็นมาตรฐานกลางของการสื่อสารทั่วโลก อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถทำงาน ร่วมกันได้ถึงแม้จะต่างชนิดกัน โดยใช้มาตรฐานเดียวกัน ไม่จำเป็นต้องเป็นยี่ห้อหนึ่งยี่ห้อใด กล่าวคือ เป็นมาตรฐานกลางที่ร่วมกันกำหนดขึ้นเพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้ร่วมกัน
2. ATM ถูกพัฒนาเพื่อการส่งข้อมูล สำหรับทั้งเครือข่ายภายในระยะใกล้ (LAN : Local Area Network) และ ระยะไกล (Wide Area Network : WAN) แต่เดิมนั้นรูปแบบของการส่งข้อมูลใน LAN และ WAN จะแตกต่างกัน ซึ่งสร้างความยุ่งยากในการเชื่อมต่อและบริหารเครือข่าย แต่ ATM จะผนวกทั้ง LAN และ WAN เข้าเป็นเครือข่ายใหญ่ที่มีมาตรฐานเดียว
3. ATM ถูกพัฒนาให้ใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบ แต่เดิมนั้นข้อมูลแต่ละรูปแบบไดเแก่ สัญญาณเสียง (voice) ข้อมูล (data) และภาพเคลื่อนไหว (video) ต่างก็มีเครือข่ายของตนเอง โดยสัญญาณเสียงที่ใช้ในเครือข่ายโทรศัพท์จะมีลักษณะที่มีอัตราการส่งข้อมูลคง ที่เท่า ๆ กันตลอดเวลา ข้อมูลเสียงอาจยอมให้มีการสูญเสีย (error) ได้บ้าง แต่จะต้อง ให้มีการหน่วงเวลา (delay) น้อยที่สุด ส่วนข้อมูลของคอมพิวเตอร์ (data) ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จะมีอัตราการส่งข้อมูลไม่คงที่ มีลักษณะเป็น bursty คือ บางเวลาจะมีข้อัมูลมากเป็นกลุ่มก้อน แต่บางเวลาก์ไม่มีข้อมูลเข้ามาเลย ลักษณะนี้เรายอมให้มีการหน่วงเวลาได้บ้าง แต่จะให้มีการสูญเสีย (error) ให้น้อย ที่สุด จะเห็นว่าข้อมูลต่างลักษณะกัน ต้องการคุณภาพในกรส่งที่ต่างประเด็นกัน สำหรับ ATM เราไม่จำเป็นต้องแยกเครือข่ายสำหรับข้อมูลเหล่านี้ เนื่องจากมันถูกออก แบบมาเพื่อใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบทั้งเสียง (voice), ข้อมูล (data) และ วิดีโอ (video) นั่นเอง
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร : ช่วยอำนวยความสะดวกสบายในการ ถอนเงิน โอนเงิน เช็กยอดเงิน ชำระค่าบริการต่างๆ ไม่เสียเวลาในการเดินทางไปธนาคาร เพราะมีอยู่ทั่วไป

นาย ปิยภูมิ สมเสร็จ
รหัส56191500102
คบ.เกษตรศาสตร์

Unknown กล่าวว่า...

ตอบ
1.ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบเอทีเอ็ม
2.ลักษณะงาน : ATM เป็นมาตรฐานรูปแบบการส่งข้อมูลความเร็วสูงที่ถูกพัฒนามาสำหรับงานที่ต้องการความเร็วในการส่งข้อมูลสูงมาก ๆ ข้อมูลที่ส่งในเครือข่าย ATM จะถูกแบ่งเป็นกลุ่มย่อยเล็ก ๆ เรียกว่า เซลล์ (Cell) ซึ่งมีขนาด 53 byte ประกอบด้วยส่วนข้อมูล (payload) ขนาด 48 byte และส่วนหัว (header) ขนาด 5 byte ส่วนหัวจะเก็บข้อมูลที่จำเป็น ต่าง ๆ ที่ใช้ในการควบคุมการส่ง เช่น จุดหมายปลายทาง ระดับความสำคัญของ cell นั้น โดยจะ ประกอบด้วย VPI (Virtual Path Identifier) และ VCI (Virtual Circuit Identifier) ทำหน้าที่กำหนดวงจรเสมือน (virtual circuit) ในการเดินทางให้กับเซลล์นั้น และ HEC (Header Error Check) ทำหน้าที่ตรวจสอบ cell ที่ไม่สอดคล้องตามที่ระบุในส่วนหัว สวิตซ์ ATM จะทำหน้าที่ในการมัลติเพลกซ์และจัดการส่งข้อมูลนั้นตามที่กำหนดไว้ในส่วนหัวไปสู่ปลายทาง เมื่อข้อมูลของผู้ใช้เข้ามา จะถูกตัดแบ่งย่อยเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 48 byte และเติมส่วนหัวเข้าไป อีก 5 byte แล้วจึงส่งไปตามเส้นทางต่าง ๆ ในเครือข่าย ATM ซึ่งระบุไว้โดยส่วนหัว เมื่อถึงปลาย ทางแล้วก็จะเอาส่วนหัวออก แล้วประกอบกันเป็นข้อมูลชิ้นใหญ่เหมือนเดิม ลักษณะของ ATM นี้จะคล้ายกับ packet-switching network อื่นๆ ที่มีอยู่ เช่น x.25 หรือ frame relay แต่ต่างกันที่ ATM จะมีขนาด packet เล็กและคงที่
3. มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร : 1. ATM ถูกพัฒนาให้เป็นมาตรฐานกลางของการสื่อสารทั่วโลก อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถทำงาน ร่วมกันได้ถึงแม้จะต่างชนิดกัน โดยใช้มาตรฐานเดียวกัน ไม่จำเป็นต้องเป็นยี่ห้อหนึ่งยี่ห้อใด กล่าวคือ เป็นมาตรฐานกลางที่ร่วมกันกำหนดขึ้นเพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้ร่วมกัน
2. ATM ถูกพัฒนาเพื่อการส่งข้อมูล สำหรับทั้งเครือข่ายภายในระยะใกล้ (LAN : Local Area Network) และ ระยะไกล (Wide Area Network : WAN) แต่เดิมนั้นรูปแบบของการส่งข้อมูลใน LAN และ WAN จะแตกต่างกัน ซึ่งสร้างความยุ่งยากในการเชื่อมต่อและบริหารเครือข่าย แต่ ATM จะผนวกทั้ง LAN และ WAN เข้าเป็นเครือข่ายใหญ่ที่มีมาตรฐานเดียว
3. ATM ถูกพัฒนาให้ใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบ แต่เดิมนั้นข้อมูลแต่ละรูปแบบไดเแก่ สัญญาณเสียง (voice) ข้อมูล (data) และภาพเคลื่อนไหว (video) ต่างก็มีเครือข่ายของตนเอง โดยสัญญาณเสียงที่ใช้ในเครือข่ายโทรศัพท์จะมีลักษณะที่มีอัตราการส่งข้อมูลคง ที่เท่า ๆ กันตลอดเวลา ข้อมูลเสียงอาจยอมให้มีการสูญเสีย (error) ได้บ้าง แต่จะต้อง ให้มีการหน่วงเวลา (delay) น้อยที่สุด ส่วนข้อมูลของคอมพิวเตอร์ (data) ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จะมีอัตราการส่งข้อมูลไม่คงที่ มีลักษณะเป็น bursty คือ บางเวลาจะมีข้อัมูลมากเป็นกลุ่มก้อน แต่บางเวลาก์ไม่มีข้อมูลเข้ามาเลย ลักษณะนี้เรายอมให้มีการหน่วงเวลาได้บ้าง แต่จะให้มีการสูญเสีย (error) ให้น้อย ที่สุด จะเห็นว่าข้อมูลต่างลักษณะกัน ต้องการคุณภาพในกรส่งที่ต่างประเด็นกัน สำหรับ ATM เราไม่จำเป็นต้องแยกเครือข่ายสำหรับข้อมูลเหล่านี้ เนื่องจากมันถูกออก แบบมาเพื่อใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบทั้งเสียง (voice), ข้อมูล (data) และ วิดีโอ (video) นั่นเอง
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร : ช่วยอำนวยความสะดวกสบายในการ ถอนเงิน โอนเงิน เช็กยอดเงิน ชำระค่าบริการต่างๆ ไม่เสียเวลาในการเดินทางไปธนาคาร เพราะมีอยู่ทั่วไป

นาย ปิยภูมิ สมเสร็จ
รหัส56191500102
คบ.เกษตรศาสตร์

Unknown กล่าวว่า...

ตอบ
1.ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบเอทีเอ็ม
2.ลักษณะงาน : ATM เป็นมาตรฐานรูปแบบการส่งข้อมูลความเร็วสูงที่ถูกพัฒนามาสำหรับงานที่ต้องการความเร็วในการส่งข้อมูลสูงมาก ๆ ข้อมูลที่ส่งในเครือข่าย ATM จะถูกแบ่งเป็นกลุ่มย่อยเล็ก ๆ เรียกว่า เซลล์ (Cell) ซึ่งมีขนาด 53 byte ประกอบด้วยส่วนข้อมูล (payload) ขนาด 48 byte และส่วนหัว (header) ขนาด 5 byte ส่วนหัวจะเก็บข้อมูลที่จำเป็น ต่าง ๆ ที่ใช้ในการควบคุมการส่ง เช่น จุดหมายปลายทาง ระดับความสำคัญของ cell นั้น โดยจะ ประกอบด้วย VPI (Virtual Path Identifier) และ VCI (Virtual Circuit Identifier) ทำหน้าที่กำหนดวงจรเสมือน (virtual circuit) ในการเดินทางให้กับเซลล์นั้น และ HEC (Header Error Check) ทำหน้าที่ตรวจสอบ cell ที่ไม่สอดคล้องตามที่ระบุในส่วนหัว สวิตซ์ ATM จะทำหน้าที่ในการมัลติเพลกซ์และจัดการส่งข้อมูลนั้นตามที่กำหนดไว้ในส่วนหัวไปสู่ปลายทาง เมื่อข้อมูลของผู้ใช้เข้ามา จะถูกตัดแบ่งย่อยเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 48 byte และเติมส่วนหัวเข้าไป อีก 5 byte แล้วจึงส่งไปตามเส้นทางต่าง ๆ ในเครือข่าย ATM ซึ่งระบุไว้โดยส่วนหัว เมื่อถึงปลาย ทางแล้วก็จะเอาส่วนหัวออก แล้วประกอบกันเป็นข้อมูลชิ้นใหญ่เหมือนเดิม ลักษณะของ ATM นี้จะคล้ายกับ packet-switching network อื่นๆ ที่มีอยู่ เช่น x.25 หรือ frame relay แต่ต่างกันที่ ATM จะมีขนาด packet เล็กและคงที่
3. มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร : 1. ATM ถูกพัฒนาให้เป็นมาตรฐานกลางของการสื่อสารทั่วโลก อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถทำงาน ร่วมกันได้ถึงแม้จะต่างชนิดกัน โดยใช้มาตรฐานเดียวกัน ไม่จำเป็นต้องเป็นยี่ห้อหนึ่งยี่ห้อใด กล่าวคือ เป็นมาตรฐานกลางที่ร่วมกันกำหนดขึ้นเพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้ร่วมกัน
2. ATM ถูกพัฒนาเพื่อการส่งข้อมูล สำหรับทั้งเครือข่ายภายในระยะใกล้ (LAN : Local Area Network) และ ระยะไกล (Wide Area Network : WAN) แต่เดิมนั้นรูปแบบของการส่งข้อมูลใน LAN และ WAN จะแตกต่างกัน ซึ่งสร้างความยุ่งยากในการเชื่อมต่อและบริหารเครือข่าย แต่ ATM จะผนวกทั้ง LAN และ WAN เข้าเป็นเครือข่ายใหญ่ที่มีมาตรฐานเดียว
3. ATM ถูกพัฒนาให้ใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบ แต่เดิมนั้นข้อมูลแต่ละรูปแบบไดเแก่ สัญญาณเสียง (voice) ข้อมูล (data) และภาพเคลื่อนไหว (video) ต่างก็มีเครือข่ายของตนเอง โดยสัญญาณเสียงที่ใช้ในเครือข่ายโทรศัพท์จะมีลักษณะที่มีอัตราการส่งข้อมูลคง ที่เท่า ๆ กันตลอดเวลา ข้อมูลเสียงอาจยอมให้มีการสูญเสีย (error) ได้บ้าง แต่จะต้อง ให้มีการหน่วงเวลา (delay) น้อยที่สุด ส่วนข้อมูลของคอมพิวเตอร์ (data) ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จะมีอัตราการส่งข้อมูลไม่คงที่ มีลักษณะเป็น bursty คือ บางเวลาจะมีข้อัมูลมากเป็นกลุ่มก้อน แต่บางเวลาก์ไม่มีข้อมูลเข้ามาเลย ลักษณะนี้เรายอมให้มีการหน่วงเวลาได้บ้าง แต่จะให้มีการสูญเสีย (error) ให้น้อย ที่สุด จะเห็นว่าข้อมูลต่างลักษณะกัน ต้องการคุณภาพในกรส่งที่ต่างประเด็นกัน สำหรับ ATM เราไม่จำเป็นต้องแยกเครือข่ายสำหรับข้อมูลเหล่านี้ เนื่องจากมันถูกออก แบบมาเพื่อใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบทั้งเสียง (voice), ข้อมูล (data) และ วิดีโอ (video) นั่นเอง
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร : ช่วยอำนวยความสะดวกสบายในการ ถอนเงิน โอนเงิน เช็กยอดเงิน ชำระค่าบริการต่างๆ ไม่เสียเวลาในการเดินทางไปธนาคาร เพราะมีอยู่ทั่วไป

นาย ปิยภูมิ สมเสร็จ
รหัส56191500102
คบ.เกษตรศาสตร์

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ:ระบบการลงทะเบียนเรียน
ลักษณะงาน:การนำเทคโนโลยีที่ใช้ในปัจจุบันมาพัฒนาให้มีการใช้งานได้รวดเร็วยิ่งขึ้น โดยมีเครือข่ายต่างๆให้การสนับสนุนในการใช้งาน.
มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร:
1.สะดวกรวดเร็ว
2.ไม่เสียเวลาในการใช้งาน
3.เช็คข้อมูลได้เลยไม่ต่อรอ
เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร:เกี่ยวข้องกะนักศึกษาอย่างมากเพราะถ้าไม่มีการลงทะเบียนก็จ๊ขาดวิชาเรียน เก็บหน่วยกิจไม่ได้ไม่ทันจะจบไม่ทันเพื่อน. การลงทะเบียนจึงสำคัญมากกกกก
นายสมเกียรติ ปลากระโทก 56122420121 วิทยาการคอมพิวเตอร์

Unknown กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ
ตอบ ระบบการใช้สารสนเทศในห้องสมุด

2.ลักษณะงาน
ตอบ โดยนำระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่มาใช้งานห้องสมุด พัฒนาให้เป็นระบบอัตโนมัติ (Automated Library System)สร้างระบบเครือข่ายเชื่อมโยงระหว่างห้องสมุดมหาวิทยาลัย เพื่อให้การจัดบริการสารสนเทศมีความครบถ้วนสมบูรณ์และรวดเร็วยิ่งขึ้น เกิดระบบการใช้ทรัพยากรร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ

3.มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร
ตอบ 1.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริการสารสนเทศในระบบอัตโนมัติ ให้สนองความต้องการของผู้ใช้ให้มากที่สุด ครบถ้วน และสะดวกต่อการเข้าถึง โดยใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกันอย่างประหยัด
2.เพื่อพัฒนาห้องสมุดมหาวิทยาลัยให้เป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้และสารสนเทศที่เอื้อต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา
3.เพื่อสนับสนุนการกระจายโอกาสทางการศึกษาและความเสมอภาคทางการศึกษา โดยใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล ตามโครงการเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษาของทบวงมหาวิทยาลัย ซึ่งผู้ใช้สามารถสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากห้องสมุดได้อย่างรวดเร็วโดยผ่านระบบเครือข่ายบริการของห้องสมุดมหาวิทยาลัย
4.เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ ทั้งด้านผู้ให้บริการและผู้ใช้ห้องสมุด ให้มีความรู้และความชำนาญในการจัดการและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร
ตอบ 1.ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
2.ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
3.ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุดเกี่ยวข้องกับนักศึกษา
4.ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
5.ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
6.สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น


นางสาวอรไท จันศร
รหัสนักศึกษา 54191700245
สาขาอุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี หมู่ 2

Unknown กล่าวว่า...

ระบบการลงทะเบียนเรียน
ลักษณะงาน:การนำเทคโนโลยีที่ใช้ในปัจจุบันมาพัฒนาให้มีการใช้งานได้รวดเร็วยิ่งขึ้น โดยมีเครือข่ายต่างๆให้การสนับสนุนในการใช้งาน.
มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร:
1.สะดวกรวดเร็ว
2.ไม่เสียเวลาในการใช้งาน
3.เช็คข้อมูลได้เลยไม่ต่อรอ
เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร:เกี่ยวข้องกะนักศึกษาอย่างมากเพราะถ้าไม่มีการลงทะเบียนก็จ๊ขาดวิชาเรียน เก็บหน่วยกิจไม่ได้ไม่ทันจะจบไม่ทันเพื่อน. การลงทะเบียนจึงสำคัญมาก
นางสาวนิตยา นิสสัยงาม รหัส 56191960215 วิทยาศาสตร์

Unknown กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ
ตอบ ระบบการใช้สารสนเทศในห้องสมุด

2.ลักษณะงาน
ตอบ โดยนำระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่มาใช้งานห้องสมุด พัฒนาให้เป็นระบบอัตโนมัติ (Automated Library System)สร้างระบบเครือข่ายเชื่อมโยงระหว่างห้องสมุดมหาวิทยาลัย เพื่อให้การจัดบริการสารสนเทศมีความครบถ้วนสมบูรณ์และรวดเร็วยิ่งขึ้น เกิดระบบการใช้ทรัพยากรร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ

3.มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร
ตอบ 1.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริการสารสนเทศในระบบอัตโนมัติ ให้สนองความต้องการของผู้ใช้ให้มากที่สุด ครบถ้วน และสะดวกต่อการเข้าถึง โดยใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกันอย่างประหยัด
2.เพื่อพัฒนาห้องสมุดมหาวิทยาลัยให้เป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้และสารสนเทศที่เอื้อต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา
3.เพื่อสนับสนุนการกระจายโอกาสทางการศึกษาและความเสมอภาคทางการศึกษา โดยใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล ตามโครงการเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษาของทบวงมหาวิทยาลัย ซึ่งผู้ใช้สามารถสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากห้องสมุดได้อย่างรวดเร็วโดยผ่านระบบเครือข่ายบริการของห้องสมุดมหาวิทยาลัย
4.เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ ทั้งด้านผู้ให้บริการและผู้ใช้ห้องสมุด ให้มีความรู้และความชำนาญในการจัดการและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร
ตอบ 1.ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
2.ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
3.ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุดเกี่ยวข้องกับนักศึกษา
4.ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
5.ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
6.สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น นางสาว ทนิดา อรรคบาล รหัสนักศึกษา 56191430134 สาขา ฟิสิกส์

Unknown กล่าวว่า...

ตอบ
1.ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบเอทีเอ็ม
2.ลักษณะงาน : ATM เป็นมาตรฐานรูปแบบการส่งข้อมูลความเร็วสูงที่ถูกพัฒนามาสำหรับงานที่ต้องการความเร็วในการส่งข้อมูลสูงมาก ๆ ข้อมูลที่ส่งในเครือข่าย ATM จะถูกแบ่งเป็นกลุ่มย่อยเล็ก ๆ เรียกว่า เซลล์ (Cell) ซึ่งมีขนาด 53 byte ประกอบด้วยส่วนข้อมูล (payload) ขนาด 48 byte และส่วนหัว (header) ขนาด 5 byte ส่วนหัวจะเก็บข้อมูลที่จำเป็น ต่าง ๆ ที่ใช้ในการควบคุมการส่ง เช่น จุดหมายปลายทาง ระดับความสำคัญของ cell นั้น โดยจะ ประกอบด้วย VPI (Virtual Path Identifier) และ VCI (Virtual Circuit Identifier) ทำหน้าที่กำหนดวงจรเสมือน (virtual circuit) ในการเดินทางให้กับเซลล์นั้น และ HEC (Header Error Check) ทำหน้าที่ตรวจสอบ cell ที่ไม่สอดคล้องตามที่ระบุในส่วนหัว สวิตซ์ ATM จะทำหน้าที่ในการมัลติเพลกซ์และจัดการส่งข้อมูลนั้นตามที่กำหนดไว้ในส่วนหัวไปสู่ปลายทาง เมื่อข้อมูลของผู้ใช้เข้ามา จะถูกตัดแบ่งย่อยเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 48 byte และเติมส่วนหัวเข้าไป อีก 5 byte แล้วจึงส่งไปตามเส้นทางต่าง ๆ ในเครือข่าย ATM ซึ่งระบุไว้โดยส่วนหัว เมื่อถึงปลาย ทางแล้วก็จะเอาส่วนหัวออก แล้วประกอบกันเป็นข้อมูลชิ้นใหญ่เหมือนเดิม ลักษณะของ ATM นี้จะคล้ายกับ packet-switching network อื่นๆ ที่มีอยู่ เช่น x.25 หรือ frame relay แต่ต่างกันที่ ATM จะมีขนาด packet เล็กและคงที่
3. มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร : 1. ATM ถูกพัฒนาให้เป็นมาตรฐานกลางของการสื่อสารทั่วโลก อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถทำงาน ร่วมกันได้ถึงแม้จะต่างชนิดกัน โดยใช้มาตรฐานเดียวกัน ไม่จำเป็นต้องเป็นยี่ห้อหนึ่งยี่ห้อใด กล่าวคือ เป็นมาตรฐานกลางที่ร่วมกันกำหนดขึ้นเพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้ร่วมกัน
2. ATM ถูกพัฒนาเพื่อการส่งข้อมูล สำหรับทั้งเครือข่ายภายในระยะใกล้ (LAN : Local Area Network) และ ระยะไกล (Wide Area Network : WAN) แต่เดิมนั้นรูปแบบของการส่งข้อมูลใน LAN และ WAN จะแตกต่างกัน ซึ่งสร้างความยุ่งยากในการเชื่อมต่อและบริหารเครือข่าย แต่ ATM จะผนวกทั้ง LAN และ WAN เข้าเป็นเครือข่ายใหญ่ที่มีมาตรฐานเดียว
3. ATM ถูกพัฒนาให้ใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบ แต่เดิมนั้นข้อมูลแต่ละรูปแบบไดเแก่ สัญญาณเสียง (voice) ข้อมูล (data) และภาพเคลื่อนไหว (video) ต่างก็มีเครือข่ายของตนเอง โดยสัญญาณเสียงที่ใช้ในเครือข่ายโทรศัพท์จะมีลักษณะที่มีอัตราการส่งข้อมูลคง ที่เท่า ๆ กันตลอดเวลา ข้อมูลเสียงอาจยอมให้มีการสูญเสีย (error) ได้บ้าง แต่จะต้อง ให้มีการหน่วงเวลา (delay) น้อยที่สุด ส่วนข้อมูลของคอมพิวเตอร์ (data) ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จะมีอัตราการส่งข้อมูลไม่คงที่ มีลักษณะเป็น bursty คือ บางเวลาจะมีข้อัมูลมากเป็นกลุ่มก้อน แต่บางเวลาก์ไม่มีข้อมูลเข้ามาเลย ลักษณะนี้เรายอมให้มีการหน่วงเวลาได้บ้าง แต่จะให้มีการสูญเสีย (error) ให้น้อย ที่สุด จะเห็นว่าข้อมูลต่างลักษณะกัน ต้องการคุณภาพในกรส่งที่ต่างประเด็นกัน สำหรับ ATM เราไม่จำเป็นต้องแยกเครือข่ายสำหรับข้อมูลเหล่านี้ เนื่องจากมันถูกออก แบบมาเพื่อใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบทั้งเสียง (voice), ข้อมูล (data) และ วิดีโอ (video) นั่นเอง
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร : ช่วยอำนวยความสะดวกสบายในการ ถอนเงิน โอนเงิน เช็กยอดเงิน ชำระค่าบริการต่างๆ ไม่เสียเวลาในการเดินทางไปธนาคาร เพราะมีอยู่ทั่วทุกพื้นที่
นางสาวปาริชาติ ชัยรังษี สาขาภาษาไทย ค.บ. 5/2
รหัสนักศึกษา 55191010238

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อระบบสารสนทศ : เครื่องเบิก-ถอนเงินอัตโนมัติ
ลักษณะงาน : การฝาก ถอน โอนเงิน
มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร : เพื่ออำนวยความสะดวกในการฝาก ถอน โอนเงิน และนำคอมพิวเตอร์ระบบ
ออนไลน์และออฟไลน์เข้ามาช่วยในการทำงานประจำวันของธนาคารด้วยการเชื่อมโยงข้อมูลของธนาคารต่างสาขา ต่างธนาคาร ทำให้ผู้ใช้บริการสามารถเบิก ถอน โอนเงินชำระเงินค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ได้โดยสะดวก
เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร : 1.สะดวกในการฝาก ถอนและโอนเงิน

นางสาวธิดารัตน์ สุปิงคลัด เลขที่ ๑๘
รหัส ๕๕๑๙๑๐๑๐๑๑๘
ค.บ. ๕/๒ สาขาภาษาไทย

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น

นางสาวจิรัฐกาล สามาลย์ คบ ฟิสิกส์ รหัส 56191430135

Unknown กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ
ตอบ ระบบการใช้สารสนเทศในห้องสมุด

2.ลักษณะงาน
ตอบ โดยนำระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่มาใช้งานห้องสมุด พัฒนาให้เป็นระบบอัตโนมัติ (Automated Library System)สร้างระบบเครือข่ายเชื่อมโยงระหว่างห้องสมุดมหาวิทยาลัย เพื่อให้การจัดบริการสารสนเทศมีความครบถ้วนสมบูรณ์และรวดเร็วยิ่งขึ้น เกิดระบบการใช้ทรัพยากรร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ

3.มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร
ตอบ 1.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริการสารสนเทศในระบบอัตโนมัติ ให้สนองความต้องการของผู้ใช้ให้มากที่สุด ครบถ้วน และสะดวกต่อการเข้าถึง โดยใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกันอย่างประหยัด
2.เพื่อพัฒนาห้องสมุดมหาวิทยาลัยให้เป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้และสารสนเทศที่เอื้อต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา
3.เพื่อสนับสนุนการกระจายโอกาสทางการศึกษาและความเสมอภาคทางการศึกษา โดยใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล ตามโครงการเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษาของทบวงมหาวิทยาลัย ซึ่งผู้ใช้สามารถสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากห้องสมุดได้อย่างรวดเร็วโดยผ่านระบบเครือข่ายบริการของห้องสมุดมหาวิทยาลัย
4.เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ ทั้งด้านผู้ให้บริการและผู้ใช้ห้องสมุด ให้มีความรู้และความชำนาญในการจัดการและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร
ตอบ 1.ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
2.ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
3.ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุดเกี่ยวข้องกับนักศึกษา
4.ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
5.ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
6.สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น

นายจิรพงศ์ ทานงาม
56191500201 สาขา ค.บ.เกษตรศาสตร์

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ชื่อ : การเช็คเกรดออนไลน์
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการเช็คเกรดเพื่อให้สะดวกต่อการเช็คเกรดได้รวดเร็วขึ้น เมื่ออยากดูเกรดไม่ดวกเดินทางไปดูด้วยตนเองสามรถเช็คเกรดออนไลน์ได้ สะดวกง่ายต่อการเช็ค
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน
-ทำให้สะดวกรวดเร็วในการแก้ไขผลการเรียน
ทำให้สะดวกในการตรวจเช็คผลการเรียนของนักศึกษา
ประโยชน์ต่อนักศึกษา
- ทำให้ง่ายต่อการเช็คผลการเรียน
-เช็คผลการเรียนได้รวดเร็วขึ้น
-ไม่ลำบากต่อการเดินทาง
-ทำงานอย่างเป็นระบบ

นางสาวนิลวรรณ เยาวลักษณื
สาขาอุตสาหกรรมศิลป์
54191700214

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบการศึกษา
ลักษณะงาน : ด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนำมาใช้เพื่ออำนวยความสะดวกในการบริหารด้านการศึกษา เช่น ระบบการลงทะเบียน และระบบการจัดตารางสอน นอกจากนี้ยังใช้เป็นเครื่องมือในการเพิ่มโอก่สทางด้านการศึกษาและเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในด้านการศึกษา
1. การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ทำให้ผู้ที่อยู่ห่างไกลหรือไม่สะดวกในการเดินทางสามารถได้รับการศึกษาเช่นเดียวกับผู้ที่อยู่ในเมือง
2. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ยังช่วยเสริมประสิทธิภาพการเรียนการสอนในวิชาต่างๆ เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ ภาษาต่างประเทศ ทำให้บทเรียนมีความน่าสนใจมากขึ้น และเกิดความเข้าใจได้ง่ายขึ้น เช่น การแสดงสถาณการณ์จำลอง แบบจำลอง ภาพเคลื่อนไหว แสงสีและเสียงประกอบ นักเรียนสามารถเตรียมตัวก่อนเรียน หรือทบทวนบทเรียนด้วยตนเองเมื่อใดก็ได้ที่มีเวลาว่าง
3. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เพิ่มโอกาสในการเรียนรู้ให้กับผู้พิการทางสายตาหรือหู
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีบทบาทต่อการถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารทางด้านการศึกษาได้เป็นอย่างดี ทั้งในและนอกสถานศึกษา หน่วยงานต่างๆ ใช้บทเรียนออนไลน์ในการฝึกอบรมพนักงานเพื่อให้ความรู้เพิ่มเติม นอกจากนี้อินเทอร์เน็ตยังเป็นแหล่งข้อมูลที่สำคัญที่ทั้งครูและนักเรียนหรือบุคคลทั่วไป ใช้สำหรับค้นหาข้อมูลเรื่องต่างๆ ในการทำรายงาน หรือเพื่อศึกษาหาความรู้ เว็บไซต์สำหรับค้นหาข้อมูลที่ใช้กันมากในปัจจุบัน เช่น google.com, ask.com, dogpile.com และ wikipedia.org ตัวอย่างการค้นหาข้อมูลจากหลักฐานข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
1. การจัดห้องสอบ
2. การพิมพ์รายชื่อนักศึกษาเพื่อการกรอกคะแนนและเกรด
3. คำนวณค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่นักศึกษาต้องจ่ายเป็นค่าลงทะเบียนเรียน
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
1. นักศึกษาตรวจสอบวิชาที่เปิดสอน ตารางสอน
2. ตรวจสอบวิชาว่าติดขัดข้อกำหนดใดหรือไม่
3. พิมพ์รายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนและคำนวณค่าใช้จ่ายการลงทะเบียน
4. พิมพ์รายงานการลงทะเบียนของนักศึกษาในแต่ละวิชา
นางสาวกวินนา พันธ์พงษ์ 55191010101
สาขาภาษาไทย หมู่ 1

Unknown กล่าวว่า...

ตอบ
1.ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบเอทีเอ็ม
2.ลักษณะงาน : ATM เป็นมาตรฐานรูปแบบการส่งข้อมูลความเร็วสูงที่ถูกพัฒนามาสำหรับงานที่ต้องการความเร็วในการส่งข้อมูลสูงมาก ๆ ข้อมูลที่ส่งในเครือข่าย ATM จะถูกแบ่งเป็นกลุ่มย่อยเล็ก ๆ เรียกว่า เซลล์ (Cell) ซึ่งมีขนาด 53 byte ประกอบด้วยส่วนข้อมูล (payload) ขนาด 48 byte และส่วนหัว (header) ขนาด 5 byte ส่วนหัวจะเก็บข้อมูลที่จำเป็น ต่าง ๆ ที่ใช้ในการควบคุมการส่ง เช่น จุดหมายปลายทาง ระดับความสำคัญของ cell นั้น โดยจะ ประกอบด้วย VPI (Virtual Path Identifier) และ VCI (Virtual Circuit Identifier) ทำหน้าที่กำหนดวงจรเสมือน (virtual circuit) ในการเดินทางให้กับเซลล์นั้น และ HEC (Header Error Check) ทำหน้าที่ตรวจสอบ cell ที่ไม่สอดคล้องตามที่ระบุในส่วนหัว สวิตซ์ ATM จะทำหน้าที่ในการมัลติเพลกซ์และจัดการส่งข้อมูลนั้นตามที่กำหนดไว้ในส่วนหัวไปสู่ปลายทาง เมื่อข้อมูลของผู้ใช้เข้ามา จะถูกตัดแบ่งย่อยเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 48 byte และเติมส่วนหัวเข้าไป อีก 5 byte แล้วจึงส่งไปตามเส้นทางต่าง ๆ ในเครือข่าย ATM ซึ่งระบุไว้โดยส่วนหัว เมื่อถึงปลาย ทางแล้วก็จะเอาส่วนหัวออก แล้วประกอบกันเป็นข้อมูลชิ้นใหญ่เหมือนเดิม ลักษณะของ ATM นี้จะคล้ายกับ packet-switching network อื่นๆ ที่มีอยู่ เช่น x.25 หรือ frame relay แต่ต่างกันที่ ATM จะมีขนาด packet เล็กและคงที่
3. มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร : 1. ATM ถูกพัฒนาให้เป็นมาตรฐานกลางของการสื่อสารทั่วโลก อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถทำงาน ร่วมกันได้ถึงแม้จะต่างชนิดกัน โดยใช้มาตรฐานเดียวกัน ไม่จำเป็นต้องเป็นยี่ห้อหนึ่งยี่ห้อใด กล่าวคือ เป็นมาตรฐานกลางที่ร่วมกันกำหนดขึ้นเพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้ร่วมกัน
2. ATM ถูกพัฒนาเพื่อการส่งข้อมูล สำหรับทั้งเครือข่ายภายในระยะใกล้ (LAN : Local Area Network) และ ระยะไกล (Wide Area Network : WAN) แต่เดิมนั้นรูปแบบของการส่งข้อมูลใน LAN และ WAN จะแตกต่างกัน ซึ่งสร้างความยุ่งยากในการเชื่อมต่อและบริหารเครือข่าย แต่ ATM จะผนวกทั้ง LAN และ WAN เข้าเป็นเครือข่ายใหญ่ที่มีมาตรฐานเดียว
3. ATM ถูกพัฒนาให้ใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบ แต่เดิมนั้นข้อมูลแต่ละรูปแบบไดเแก่ สัญญาณเสียง (voice) ข้อมูล (data) และภาพเคลื่อนไหว (video) ต่างก็มีเครือข่ายของตนเอง โดยสัญญาณเสียงที่ใช้ในเครือข่ายโทรศัพท์จะมีลักษณะที่มีอัตราการส่งข้อมูลคง ที่เท่า ๆ กันตลอดเวลา ข้อมูลเสียงอาจยอมให้มีการสูญเสีย (error) ได้บ้าง แต่จะต้อง ให้มีการหน่วงเวลา (delay) น้อยที่สุด ส่วนข้อมูลของคอมพิวเตอร์ (data) ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จะมีอัตราการส่งข้อมูลไม่คงที่ มีลักษณะเป็น bursty คือ บางเวลาจะมีข้อัมูลมากเป็นกลุ่มก้อน แต่บางเวลาก์ไม่มีข้อมูลเข้ามาเลย ลักษณะนี้เรายอมให้มีการหน่วงเวลาได้บ้าง แต่จะให้มีการสูญเสีย (error) ให้น้อย ที่สุด จะเห็นว่าข้อมูลต่างลักษณะกัน ต้องการคุณภาพในกรส่งที่ต่างประเด็นกัน สำหรับ ATM เราไม่จำเป็นต้องแยกเครือข่ายสำหรับข้อมูลเหล่านี้ เนื่องจากมันถูกออก แบบมาเพื่อใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบทั้งเสียง (voice), ข้อมูล (data) และ วิดีโอ (video) นั่นเอง
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร : ช่วยอำนวยความสะดวกสบายในการ ถอนเงิน โอนเงิน เช็กยอดเงิน ชำระค่าบริการต่างๆ ไม่เสียเวลาในการเดินทางไปธนาคาร เพราะมีอยู่ทั่วไป

นางสาวกวินนา พันธ์พงษ์ 55191010101
สาขาภาษาไทย ระดับ ค.บ. 5/1

Unknown กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ
ตอบ ระบบการใช้สารสนเทศในห้องสมุด

2.ลักษณะงาน
ตอบ โดยนำระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่มาใช้งานห้องสมุด พัฒนาให้เป็นระบบอัตโนมัติ (Automated Library System)สร้างระบบเครือข่ายเชื่อมโยงระหว่างห้องสมุดมหาวิทยาลัย เพื่อให้การจัดบริการสารสนเทศมีความครบถ้วนสมบูรณ์และรวดเร็วยิ่งขึ้น เกิดระบบการใช้ทรัพยากรร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ

3.มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร
ตอบ 1.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริการสารสนเทศในระบบอัตโนมัติ ให้สนองความต้องการของผู้ใช้ให้มากที่สุด ครบถ้วน และสะดวกต่อการเข้าถึง โดยใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกันอย่างประหยัด
2.เพื่อพัฒนาห้องสมุดมหาวิทยาลัยให้เป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้และสารสนเทศที่เอื้อต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา
3.เพื่อสนับสนุนการกระจายโอกาสทางการศึกษาและความเสมอภาคทางการศึกษา โดยใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล ตามโครงการเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษาของทบวงมหาวิทยาลัย ซึ่งผู้ใช้สามารถสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากห้องสมุดได้อย่างรวดเร็วโดยผ่านระบบเครือข่ายบริการของห้องสมุดมหาวิทยาลัย
4.เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ ทั้งด้านผู้ให้บริการและผู้ใช้ห้องสมุด ให้มีความรู้และความชำนาญในการจัดการและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร
ตอบ 1.ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
2.ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
3.ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุดเกี่ยวข้องกับนักศึกษา
4.ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
5.ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
6.สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น

Unknown กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ
ตอบ ระบบการใช้สารสนเทศในห้องสมุด

2.ลักษณะงาน
ตอบ โดยนำระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่มาใช้งานห้องสมุด พัฒนาให้เป็นระบบอัตโนมัติ (Automated Library System)สร้างระบบเครือข่ายเชื่อมโยงระหว่างห้องสมุดมหาวิทยาลัย เพื่อให้การจัดบริการสารสนเทศมีความครบถ้วนสมบูรณ์และรวดเร็วยิ่งขึ้น เกิดระบบการใช้ทรัพยากรร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ

3.มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร
ตอบ 1.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริการสารสนเทศในระบบอัตโนมัติ ให้สนองความต้องการของผู้ใช้ให้มากที่สุด ครบถ้วน และสะดวกต่อการเข้าถึง โดยใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกันอย่างประหยัด
2.เพื่อพัฒนาห้องสมุดมหาวิทยาลัยให้เป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้และสารสนเทศที่เอื้อต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา
3.เพื่อสนับสนุนการกระจายโอกาสทางการศึกษาและความเสมอภาคทางการศึกษา โดยใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล ตามโครงการเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษาของทบวงมหาวิทยาลัย ซึ่งผู้ใช้สามารถสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากห้องสมุดได้อย่างรวดเร็วโดยผ่านระบบเครือข่ายบริการของห้องสมุดมหาวิทยาลัย
4.เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ ทั้งด้านผู้ให้บริการและผู้ใช้ห้องสมุด ให้มีความรู้และความชำนาญในการจัดการและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร
ตอบ 1.ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
2.ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
3.ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุดเกี่ยวข้องกับนักศึกษา
4.ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
5.ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
6.สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น


นางสาวสายฝน ไหมทอง
54191700234
สาขาอุตสาหกรรมศลป์และเทคโนโลยี

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบการศึกษา
ลักษณะงาน : ด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนำมาใช้เพื่ออำนวยความสะดวกในการบริหารด้านการศึกษา เช่น ระบบการลงทะเบียน และระบบการจัดตารางสอน นอกจากนี้ยังใช้เป็นเครื่องมือในการเพิ่มโอก่สทางด้านการศึกษาและเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในด้านการศึกษา
1. การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ทำให้ผู้ที่อยู่ห่างไกลหรือไม่สะดวกในการเดินทางสามารถได้รับการศึกษาเช่นเดียวกับผู้ที่อยู่ในเมือง
2. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ยังช่วยเสริมประสิทธิภาพการเรียนการสอนในวิชาต่างๆ เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ ภาษาต่างประเทศ ทำให้บทเรียนมีความน่าสนใจมากขึ้น และเกิดความเข้าใจได้ง่ายขึ้น เช่น การแสดงสถาณการณ์จำลอง แบบจำลอง ภาพเคลื่อนไหว แสงสีและเสียงประกอบ นักเรียนสามารถเตรียมตัวก่อนเรียน หรือทบทวนบทเรียนด้วยตนเองเมื่อใดก็ได้ที่มีเวลาว่าง
3. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เพิ่มโอกาสในการเรียนรู้ให้กับผู้พิการทางสายตาหรือหู
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีบทบาทต่อการถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารทางด้านการศึกษาได้เป็นอย่างดี ทั้งในและนอกสถานศึกษา หน่วยงานต่างๆ ใช้บทเรียนออนไลน์ในการฝึกอบรมพนักงานเพื่อให้ความรู้เพิ่มเติม นอกจากนี้อินเทอร์เน็ตยังเป็นแหล่งข้อมูลที่สำคัญที่ทั้งครูและนักเรียนหรือบุคคลทั่วไป ใช้สำหรับค้นหาข้อมูลเรื่องต่างๆ ในการทำรายงาน หรือเพื่อศึกษาหาความรู้ เว็บไซต์สำหรับค้นหาข้อมูลที่ใช้กันมากในปัจจุบัน เช่น google.com, ask.com, dogpile.com และ wikipedia.org ตัวอย่างการค้นหาข้อมูลจากหลักฐานข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
1. การจัดห้องสอบ
2. การพิมพ์รายชื่อนักศึกษาเพื่อการกรอกคะแนนและเกรด
3. คำนวณค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่นักศึกษาต้องจ่ายเป็นค่าลงทะเบียนเรียน
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
1. นักศึกษาตรวจสอบวิชาที่เปิดสอน ตารางสอน
2. ตรวจสอบวิชาว่าติดขัดข้อกำหนดใดหรือไม่
3. พิมพ์รายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนและคำนวณค่าใช้จ่ายการลงทะเบียน
4. พิมพ์รายงานการลงทะเบียนของนักศึกษาในแต่ละวิชา

นางสาวสุนิษาจูงงาม
รหัสนักศึกษา 54191700239
สาขา:อุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบการศึกษา
ลักษณะงาน : ด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนำมาใช้เพื่ออำนวยความสะดวกในการบริหารด้านการศึกษา เช่น ระบบการลงทะเบียน และระบบการจัดตารางสอน นอกจากนี้ยังใช้เป็นเครื่องมือในการเพิ่มโอก่สทางด้านการศึกษาและเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในด้านการศึกษา
1. การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ทำให้ผู้ที่อยู่ห่างไกลหรือไม่สะดวกในการเดินทางสามารถได้รับการศึกษาเช่นเดียวกับผู้ที่อยู่ในเมือง
2. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ยังช่วยเสริมประสิทธิภาพการเรียนการสอนในวิชาต่างๆ เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ ภาษาต่างประเทศ ทำให้บทเรียนมีความน่าสนใจมากขึ้น และเกิดความเข้าใจได้ง่ายขึ้น เช่น การแสดงสถาณการณ์จำลอง แบบจำลอง ภาพเคลื่อนไหว แสงสีและเสียงประกอบ นักเรียนสามารถเตรียมตัวก่อนเรียน หรือทบทวนบทเรียนด้วยตนเองเมื่อใดก็ได้ที่มีเวลาว่าง
3. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เพิ่มโอกาสในการเรียนรู้ให้กับผู้พิการทางสายตาหรือหู
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีบทบาทต่อการถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารทางด้านการศึกษาได้เป็นอย่างดี ทั้งในและนอกสถานศึกษา หน่วยงานต่างๆ ใช้บทเรียนออนไลน์ในการฝึกอบรมพนักงานเพื่อให้ความรู้เพิ่มเติม นอกจากนี้อินเทอร์เน็ตยังเป็นแหล่งข้อมูลที่สำคัญที่ทั้งครูและนักเรียนหรือบุคคลทั่วไป ใช้สำหรับค้นหาข้อมูลเรื่องต่างๆ ในการทำรายงาน หรือเพื่อศึกษาหาความรู้ เว็บไซต์สำหรับค้นหาข้อมูลที่ใช้กันมากในปัจจุบัน เช่น google.com, ask.com, dogpile.com และ wikipedia.org ตัวอย่างการค้นหาข้อมูลจากหลักฐานข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
1. การจัดห้องสอบ
2. การพิมพ์รายชื่อนักศึกษาเพื่อการกรอกคะแนนและเกรด
3. คำนวณค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่นักศึกษาต้องจ่ายเป็นค่าลงทะเบียนเรียน
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
1. นักศึกษาตรวจสอบวิชาที่เปิดสอน ตารางสอน
2. ตรวจสอบวิชาว่าติดขัดข้อกำหนดใดหรือไม่
3. พิมพ์รายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนและคำนวณค่าใช้จ่ายการลงทะเบียน
4. พิมพ์รายงานการลงทะเบียนของนักศึกษาในแต่ละวิชา

นางสาว สุนิษา จูงงาม
รหัสนักศึกษา 54191700239
สาขา:อุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี

Unknown กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ
ตอบ ระบบการลงทะเบียนออนไลน์
2.ลักษณะงาน
ตอบ โดย 1.Hardwareทำหน้าที่ในการเป็น คอม+อุปกรณ์และออนไลน์ทางอินเตอร์เน็ต
2.Software ทำงานในเรื่องโปรแกรมการลงทะเบียนออนไลน์
3.Peopleware ทำหน้าที่ในการบริหารระบบและผู้ใช้ระบบ
4.Data and Information ทำหน้าที่ในการเก็บข้อมูลนักศึกษา
5.ระบบดำเนินงาน
3.มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร
ตอบ ช่วยในการประหยัดเวลาและสะดวกรวดเร็วในการเช็คข้อมูล
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร
ตอบ นักศึกษาสามารถลงทะเบียนออนไลน์ได้อย่างสะดวกและสามารถจองวิชาเรียนหรือแก้ไขได้

นางสาวมาริสา เรพล
รหัส 54191700223
สาขา อุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี หมู่ 2

Unknown กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ
ตอบ ระบบการลงทะเบียนออนไลน์
2.ลักษณะงาน
ตอบ โดย 1.Hardwareทำหน้าที่ในการเป็น คอม+อุปกรณ์และออนไลน์ทางอินเตอร์เน็ต
2.Software ทำงานในเรื่องโปรแกรมการลงทะเบียนออนไลน์
3.Peopleware ทำหน้าที่ในการบริหารระบบและผู้ใช้ระบบ
4.Data and Information ทำหน้าที่ในการเก็บข้อมูลนักศึกษา
5.ระบบดำเนินงาน
3.มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร
ตอบ ช่วยในการประหยัดเวลาและสะดวกรวดเร็วในการเช็คข้อมูล
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร
ตอบ นักศึกษาสามารถลงทะเบียนออนไลน์ได้อย่างสะดวกและสามารถจองวิชาเรียนหรือแก้ไขได้

นางสาวมาริสา เรพล
รหัส 54191700223
สาขา อุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี หมู่ 2

Unknown กล่าวว่า...

ระบบปฏิบัติการ : ระบบปฏิบัติการ เป็นโปรแกรมที่ทำงานเป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้เครื่องและฮาร์ดแวร์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดสภาพแวดล้อมให้ผู้ใช้ระบบสามารถปฏิบัติงานบนเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ โดยจะเอื้ออำนวยการพัฒนาและการใช้โปรแกรมต่างๆ รวมถึงการจัดสรรทรัพยากรต่างๆ ให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ : 1. ติดต่อกับผู้ใช้ (User Interface)
คือ ผู้ที่ใช้สามารถที่จะติดต่อหรือควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ผ่านทางด้านระบบปฏิบัติการ โดยที่ระบบปฏิบัติการนั้นจะส่งข้อความตอบโต้ไปยังผู้ใช้เพื่อที่จะให้ผู้ใช้ป้อนคำสั่งหรือสั่งการด้วยอุปกรณ์รับข้อมูลต่างๆ ที่มีอยู่ ในขณะเดียวกันก็ทำหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างโปรมแกรมประยุกต์ต่างๆ เพื่อติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ขณะที่เราใช้งานด้วย
2. ควบคุมดูแลอุปกรณ์และการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์
เนื่องจากผู้ใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ผ่านทางระบบปฏิบัติการ อาจไม่จำเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจถึงหลักการทำงานภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ ดังนั้นระบบปฏิบัติการจึงต้องมีหน้าที่ควบคุมดูแลการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อให้การทำงานของระบบเป็นไปได้อย่างถูกต้อง และสอดคล้อง
3. จัดสรรทรัพยากรต่าง ๆ ในระบบ
ทรัพยากร (Resource) คือ สิ่งที่ถูกใช้ไปเพื่อให้โปรแกรมดำเนินต่อไปได้ เช่น หน่วยประมวลผล (CPU) หน่วยความจำ (Memory) อุปกรณ์รับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
ดังนั้น ระบบปฏิบัติการจะต้องจัดสรรทรัพยากรเหล่านี้เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ถ้าระบบปฏิบัติการสามารถจักสรรทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพแล้ว การทำงานของโปรแกรมต่าง ๆ ก็สามารถทำให้ได้รวดเร็ว และได้ปริมาณงานเพิ่มขึ้นด้วย
ระบบปฏิบัติการที่ใช้ใน pc : ระบบปฏิบัติการเป็นโปรแกรม (Software) ที่ทําหน้าที่ ควบคุมการทํางานของ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่ต่อพ่วงกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งระบบปฏิบัติการจะทําหน้าที่ เป็น ตัวกลางในการติดต่อกับฮาร์ดแวร์ของเครื่องโดยตรงและโปรแกรมการใช์งานต่าง ๆ
ระบบปฏิบัติการที่ใช้ใน server : โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เป็น Server จะทำงานบนระบบปฏิบัติการ อาจจะเป็น Linux หรือ Windows หรือ Unix ก็ได้ ดังนั้นคำว่า server จึงมิได้หมายถึง คอมพิวเตอร์ เพียงอย่างเดียวแต่ยังหมายถึงระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์อีกด้วย

นางสาวสุนิษา จูงงาม
รหัส 54191700239
สาขา:อุตสาหกรรมศิลปืและเทคโนดลยี

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อระบบสารสนเทศ
ตอบ ระบบการลงทะเบียนออนไลน์

ลักษณะงาน
ตอบ โดย 1.Hardwareทำหน้าที่ในการเป็น คอม+อุปกรณ์และออนไลน์ทางอินเตอร์เน็ต
2.Software ทำงานในเรื่องโปรแกรมการลงทะเบียนออนไลน์
3.Peopleware ทำหน้าที่ในการบริหารระบบและผู้ใช้ระบบ
4.Data and Information ทำหน้าที่ในการเก็บข้อมูลนักศึกษา
5.ระบบดำเนินงาน

มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร
ตอบ ประหยัดเวลาในการใช้ลงรายวิชา

เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร
ตอบ นักศึกษาสามารถจองรายวิชาตามเวลาที่ตนต้องการได้สะดวกและรวดเร็ว

นายยงยุทธ วงศ์รุจิโรจน์ สาขาภาษาไทย รหัส 55191010137

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น

นางสาวทิวาภรณ์ กรมภักดี 54191700209 สาขาอุตสาหกรมศิลป์และเทคโนโลยี หมู่2 ปี3

Unknown กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบเอทีเอ็ม
2.ลักษณะงาน : ATM เป็นมาตรฐานรูปแบบการส่งข้อมูลความเร็วสูงที่ถูกพัฒนามาสำหรับงานที่ต้องการความเร็วในการส่งข้อมูลสูงมาก ๆ ข้อมูลที่ส่งในเครือข่าย ATM จะถูกแบ่งเป็นกลุ่มย่อยเล็ก ๆ เรียกว่า เซลล์ (Cell) ซึ่งมีขนาด 53 byte ประกอบด้วยส่วนข้อมูล (payload) ขนาด 48 byte และส่วนหัว (header) ขนาด 5 byte ส่วนหัวจะเก็บข้อมูลที่จำเป็น ต่าง ๆ ที่ใช้ในการควบคุมการส่ง เช่น จุดหมายปลายทาง ระดับความสำคัญของ cell นั้น โดยจะ ประกอบด้วย VPI (Virtual Path Identifier) และ VCI (Virtual Circuit Identifier) ทำหน้าที่กำหนดวงจรเสมือน (virtual circuit) ในการเดินทางให้กับเซลล์นั้น และ HEC (Header Error Check) ทำหน้าที่ตรวจสอบ cell ที่ไม่สอดคล้องตามที่ระบุในส่วนหัว สวิตซ์ ATM จะทำหน้าที่ในการมัลติเพลกซ์และจัดการส่งข้อมูลนั้นตามที่กำหนดไว้ในส่วนหัวไปสู่ปลายทาง เมื่อข้อมูลของผู้ใช้เข้ามา จะถูกตัดแบ่งย่อยเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 48 byte และเติมส่วนหัวเข้าไป อีก 5 byte แล้วจึงส่งไปตามเส้นทางต่าง ๆ ในเครือข่าย ATM ซึ่งระบุไว้โดยส่วนหัว เมื่อถึงปลาย ทางแล้วก็จะเอาส่วนหัวออก แล้วประกอบกันเป็นข้อมูลชิ้นใหญ่เหมือนเดิม ลักษณะของ ATM นี้จะคล้ายกับ packet-switching network อื่นๆ ที่มีอยู่ เช่น x.25 หรือ frame relay แต่ต่างกันที่ ATM จะมีขนาด packet เล็กและคงที่
3. มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร : 1. ATM ถูกพัฒนาให้เป็นมาตรฐานกลางของการสื่อสารทั่วโลก อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถทำงาน ร่วมกันได้ถึงแม้จะต่างชนิดกัน โดยใช้มาตรฐานเดียวกัน ไม่จำเป็นต้องเป็นยี่ห้อหนึ่งยี่ห้อใด กล่าวคือ เป็นมาตรฐานกลางที่ร่วมกันกำหนดขึ้นเพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้ร่วมกัน
2. ATM ถูกพัฒนาเพื่อการส่งข้อมูล สำหรับทั้งเครือข่ายภายในระยะใกล้ (LAN : Local Area Network) และ ระยะไกล (Wide Area Network : WAN) แต่เดิมนั้นรูปแบบของการส่งข้อมูลใน LAN และ WAN จะแตกต่างกัน ซึ่งสร้างความยุ่งยากในการเชื่อมต่อและบริหารเครือข่าย แต่ ATM จะผนวกทั้ง LAN และ WAN เข้าเป็นเครือข่ายใหญ่ที่มีมาตรฐานเดียว
3. ATM ถูกพัฒนาให้ใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบ แต่เดิมนั้นข้อมูลแต่ละรูปแบบไดเแก่ สัญญาณเสียง (voice) ข้อมูล (data) และภาพเคลื่อนไหว (video) ต่างก็มีเครือข่ายของตนเอง โดยสัญญาณเสียงที่ใช้ในเครือข่ายโทรศัพท์จะมีลักษณะที่มีอัตราการส่งข้อมูลคง ที่เท่า ๆ กันตลอดเวลา ข้อมูลเสียงอาจยอมให้มีการสูญเสีย (error) ได้บ้าง แต่จะต้อง ให้มีการหน่วงเวลา (delay) น้อยที่สุด ส่วนข้อมูลของคอมพิวเตอร์ (data) ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จะมีอัตราการส่งข้อมูลไม่คงที่ มีลักษณะเป็น bursty คือ บางเวลาจะมีข้อัมูลมากเป็นกลุ่มก้อน แต่บางเวลาก์ไม่มีข้อมูลเข้ามาเลย ลักษณะนี้เรายอมให้มีการหน่วงเวลาได้บ้าง แต่จะให้มีการสูญเสีย (error) ให้น้อย ที่สุด จะเห็นว่าข้อมูลต่างลักษณะกัน ต้องการคุณภาพในกรส่งที่ต่างประเด็นกัน สำหรับ ATM เราไม่จำเป็นต้องแยกเครือข่ายสำหรับข้อมูลเหล่านี้ เนื่องจากมันถูกออก แบบมาเพื่อใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบทั้งเสียง (voice), ข้อมูล (data) และ วิดีโอ (video) นั่นเอง
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร : ช่วยอำนวยความสะดวกสบายในการ ถอนเงิน โอนเงิน เช็กยอดเงิน ชำระค่าบริการต่างๆ ไม่เสียเวลาในการเดินทางไปธนาคาร เพราะมีอยู่ทั่วทุกพื้นที่

นางสาวสุมาลี วันเพ็ญ
54191700242
สาขา อุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี หมู่ 2

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น

นางสาวจุฬาลักษณ์ ไชยสุระ
รหัสนักศึกษา 55191010223
สาขาภาษาไทย หมู่ 2

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น

นายพัฒนพงศ์ พรหมบุตร 54191700221
สาขาอุตสาหกรมศิลป์และเทคโนโลยี หมู่2 ปี3

Unknown กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบเอทีเอ็ม
2.ลักษณะงาน : ATM เป็นมาตรฐานรูปแบบการส่งข้อมูลความเร็วสูงที่ถูกพัฒนามาสำหรับงานที่ต้องการความเร็วในการส่งข้อมูลสูงมาก ๆ ข้อมูลที่ส่งในเครือข่าย ATM จะถูกแบ่งเป็นกลุ่มย่อยเล็ก ๆ เรียกว่า เซลล์ (Cell) ซึ่งมีขนาด 53 byte ประกอบด้วยส่วนข้อมูล (payload) ขนาด 48 byte และส่วนหัว (header) ขนาด 5 byte ส่วนหัวจะเก็บข้อมูลที่จำเป็น ต่าง ๆ ที่ใช้ในการควบคุมการส่ง เช่น จุดหมายปลายทาง ระดับความสำคัญของ cell นั้น โดยจะ ประกอบด้วย VPI (Virtual Path Identifier) และ VCI (Virtual Circuit Identifier) ทำหน้าที่กำหนดวงจรเสมือน (virtual circuit) ในการเดินทางให้กับเซลล์นั้น และ HEC (Header Error Check) ทำหน้าที่ตรวจสอบ cell ที่ไม่สอดคล้องตามที่ระบุในส่วนหัว สวิตซ์ ATM จะทำหน้าที่ในการมัลติเพลกซ์และจัดการส่งข้อมูลนั้นตามที่กำหนดไว้ในส่วนหัวไปสู่ปลายทาง เมื่อข้อมูลของผู้ใช้เข้ามา จะถูกตัดแบ่งย่อยเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 48 byte และเติมส่วนหัวเข้าไป อีก 5 byte แล้วจึงส่งไปตามเส้นทางต่าง ๆ ในเครือข่าย ATM ซึ่งระบุไว้โดยส่วนหัว เมื่อถึงปลาย ทางแล้วก็จะเอาส่วนหัวออก แล้วประกอบกันเป็นข้อมูลชิ้นใหญ่เหมือนเดิม ลักษณะของ ATM นี้จะคล้ายกับ packet-switching network อื่นๆ ที่มีอยู่ เช่น x.25 หรือ frame relay แต่ต่างกันที่ ATM จะมีขนาด packet เล็กและคงที่
3. มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร : 1. ATM ถูกพัฒนาให้เป็นมาตรฐานกลางของการสื่อสารทั่วโลก อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถทำงาน ร่วมกันได้ถึงแม้จะต่างชนิดกัน โดยใช้มาตรฐานเดียวกัน ไม่จำเป็นต้องเป็นยี่ห้อหนึ่งยี่ห้อใด กล่าวคือ เป็นมาตรฐานกลางที่ร่วมกันกำหนดขึ้นเพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้ร่วมกัน
2. ATM ถูกพัฒนาเพื่อการส่งข้อมูล สำหรับทั้งเครือข่ายภายในระยะใกล้ (LAN : Local Area Network) และ ระยะไกล (Wide Area Network : WAN) แต่เดิมนั้นรูปแบบของการส่งข้อมูลใน LAN และ WAN จะแตกต่างกัน ซึ่งสร้างความยุ่งยากในการเชื่อมต่อและบริหารเครือข่าย แต่ ATM จะผนวกทั้ง LAN และ WAN เข้าเป็นเครือข่ายใหญ่ที่มีมาตรฐานเดียว
3. ATM ถูกพัฒนาให้ใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบ แต่เดิมนั้นข้อมูลแต่ละรูปแบบไดเแก่ สัญญาณเสียง (voice) ข้อมูล (data) และภาพเคลื่อนไหว (video) ต่างก็มีเครือข่ายของตนเอง โดยสัญญาณเสียงที่ใช้ในเครือข่ายโทรศัพท์จะมีลักษณะที่มีอัตราการส่งข้อมูลคง ที่เท่า ๆ กันตลอดเวลา ข้อมูลเสียงอาจยอมให้มีการสูญเสีย (error) ได้บ้าง แต่จะต้อง ให้มีการหน่วงเวลา (delay) น้อยที่สุด ส่วนข้อมูลของคอมพิวเตอร์ (data) ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จะมีอัตราการส่งข้อมูลไม่คงที่ มีลักษณะเป็น bursty คือ บางเวลาจะมีข้อัมูลมากเป็นกลุ่มก้อน แต่บางเวลาก์ไม่มีข้อมูลเข้ามาเลย ลักษณะนี้เรายอมให้มีการหน่วงเวลาได้บ้าง แต่จะให้มีการสูญเสีย (error) ให้น้อย ที่สุด จะเห็นว่าข้อมูลต่างลักษณะกัน ต้องการคุณภาพในกรส่งที่ต่างประเด็นกัน สำหรับ ATM เราไม่จำเป็นต้องแยกเครือข่ายสำหรับข้อมูลเหล่านี้ เนื่องจากมันถูกออก แบบมาเพื่อใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบทั้งเสียง (voice), ข้อมูล (data) และ วิดีโอ (video) นั่นเอง
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร : ช่วยอำนวยความสะดวกสบายในการ ถอนเงิน โอนเงิน เช็กยอดเงิน ชำระค่าบริการต่างๆ ไม่เสียเวลาในการเดินทางไปธนาคาร เพราะมีอยู่ทั่วทุกพื้นที่

นายสุริยา กัญญาพันธ์
54191700244
สาขาอุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี


นางสาววิดาพร โทระษา กล่าวว่า...

ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบการศึกษา
ลักษณะงาน : ด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนำมาใช้เพื่ออำนวยความสะดวกในการบริหารด้านการศึกษา เช่น ระบบการลงทะเบียน และระบบการจัดตารางสอน นอกจากนี้ยังใช้เป็นเครื่องมือในการเพิ่มโอก่สทางด้านการศึกษาและเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในด้านการศึกษา
1. การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ทำให้ผู้ที่อยู่ห่างไกลหรือไม่สะดวกในการเดินทางสามารถได้รับการศึกษาเช่นเดียวกับผู้ที่อยู่ในเมือง
2. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ยังช่วยเสริมประสิทธิภาพการเรียนการสอนในวิชาต่างๆ เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ ภาษาต่างประเทศ ทำให้บทเรียนมีความน่าสนใจมากขึ้น และเกิดความเข้าใจได้ง่ายขึ้น เช่น การแสดงสถาณการณ์จำลอง แบบจำลอง ภาพเคลื่อนไหว แสงสีและเสียงประกอบ นักเรียนสามารถเตรียมตัวก่อนเรียน หรือทบทวนบทเรียนด้วยตนเองเมื่อใดก็ได้ที่มีเวลาว่าง
3. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เพิ่มโอกาสในการเรียนรู้ให้กับผู้พิการทางสายตาหรือหู
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีบทบาทต่อการถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารทางด้านการศึกษาได้เป็นอย่างดี ทั้งในและนอกสถานศึกษา หน่วยงานต่างๆ ใช้บทเรียนออนไลน์ในการฝึกอบรมพนักงานเพื่อให้ความรู้เพิ่มเติม นอกจากนี้อินเทอร์เน็ตยังเป็นแหล่งข้อมูลที่สำคัญที่ทั้งครูและนักเรียนหรือบุคคลทั่วไป ใช้สำหรับค้นหาข้อมูลเรื่องต่างๆ ในการทำรายงาน หรือเพื่อศึกษาหาความรู้ เว็บไซต์สำหรับค้นหาข้อมูลที่ใช้กันมากในปัจจุบัน เช่น google.com, ask.com, dogpile.com และ wikipedia.org ตัวอย่างการค้นหาข้อมูลจากหลักฐานข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
1. การจัดห้องสอบ
2. การพิมพ์รายชื่อนักศึกษาเพื่อการกรอกคะแนนและเกรด
3. คำนวณค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่นักศึกษาต้องจ่ายเป็นค่าลงทะเบียนเรียน
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
1. นักศึกษาตรวจสอบวิชาที่เปิดสอน ตารางสอน
2. ตรวจสอบวิชาว่าติดขัดข้อกำหนดใดหรือไม่
3. พิมพ์รายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนและคำนวณค่าใช้จ่ายการลงทะเบียน
4. พิมพ์รายงานการลงทะเบียนของนักศึกษาในแต่ละวิชา
นางสาววิดาพร โทระษา รหัสนักศึกษา54191700227
สาขาอุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี หมู่2

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น

นายวิริยะ พรหมวันดี สาขาภาษาไทย
55191010174 ระดับ ค.บ. 5/1

Unknown กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ
ตอบ ระบบการใช้สารสนเทศในห้องสมุด

2.ลักษณะงาน
ตอบ โดยนำระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่มาใช้งานห้องสมุด พัฒนาให้เป็นระบบอัตโนมัติ (Automated Library System)สร้างระบบเครือข่ายเชื่อมโยงระหว่างห้องสมุดมหาวิทยาลัย เพื่อให้การจัดบริการสารสนเทศมีความครบถ้วนสมบูรณ์และรวดเร็วยิ่งขึ้น เกิดระบบการใช้ทรัพยากรร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ

3.มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร
ตอบ 1.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริการสารสนเทศในระบบอัตโนมัติ ให้สนองความต้องการของผู้ใช้ให้มากที่สุด ครบถ้วน และสะดวกต่อการเข้าถึง โดยใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกันอย่างประหยัด
2.เพื่อพัฒนาห้องสมุดมหาวิทยาลัยให้เป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้และสารสนเทศที่เอื้อต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา
3.เพื่อสนับสนุนการกระจายโอกาสทางการศึกษาและความเสมอภาคทางการศึกษา โดยใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล ตามโครงการเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษาของทบวงมหาวิทยาลัย ซึ่งผู้ใช้สามารถสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากห้องสมุดได้อย่างรวดเร็วโดยผ่านระบบเครือข่ายบริการของห้องสมุดมหาวิทยาลัย
4.เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ ทั้งด้านผู้ให้บริการและผู้ใช้ห้องสมุด ให้มีความรู้และความชำนาญในการจัดการและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร
ตอบ 1.ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
2.ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
3.ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุดเกี่ยวข้องกับนักศึกษา
4.ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
5.ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
6.สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น

นางสาววิภาวี มีชัย
รหัส54191700229
สาขาอุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี

Unknown กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ
ตอบ ระบบการใช้สารสนเทศในห้องสมุด

2.ลักษณะงาน
ตอบ โดยนำระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่มาใช้งานห้องสมุด พัฒนาให้เป็นระบบอัตโนมัติ (Automated Library System)สร้างระบบเครือข่ายเชื่อมโยงระหว่างห้องสมุดมหาวิทยาลัย เพื่อให้การจัดบริการสารสนเทศมีความครบถ้วนสมบูรณ์และรวดเร็วยิ่งขึ้น เกิดระบบการใช้ทรัพยากรร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ

3.มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร
ตอบ 1.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริการสารสนเทศในระบบอัตโนมัติ ให้สนองความต้องการของผู้ใช้ให้มากที่สุด ครบถ้วน และสะดวกต่อการเข้าถึง โดยใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกันอย่างประหยัด
2.เพื่อพัฒนาห้องสมุดมหาวิทยาลัยให้เป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้และสารสนเทศที่เอื้อต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา
3.เพื่อสนับสนุนการกระจายโอกาสทางการศึกษาและความเสมอภาคทางการศึกษา โดยใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล ตามโครงการเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษาของทบวงมหาวิทยาลัย ซึ่งผู้ใช้สามารถสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากห้องสมุดได้อย่างรวดเร็วโดยผ่านระบบเครือข่ายบริการของห้องสมุดมหาวิทยาลัย
4.เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ ทั้งด้านผู้ให้บริการและผู้ใช้ห้องสมุด ให้มีความรู้และความชำนาญในการจัดการและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร
ตอบ 1.ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
2.ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
3.ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุดเกี่ยวข้องกับนักศึกษา
4.ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
5.ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
6.สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น

นางสาวอรอุมา ทรงวาจา
สาขาอุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี หมู่ 2
รหัสนักศึกษา 54191700246

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น

นางสาวสมพร ไชยรัมย์ 54191700233 สาขาอุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี หมู่2 ปี3

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น

นางสาวสมพร ไชยรัมย์ 54191700233 สาขาอุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี หมู่2 ปี3

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น
นางสาวขนิษฐา นิลแก้ว 54191700202 สาขาอุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี หมู่2 ปี3

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น


นางสาวนวลปรางค์ ถือดียิ่ง 54191700213 สาขาอุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี หมู่2 ปี3

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น

นางสาวปองฤทัย สุวรรณลา 54191700216 สาขาอุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี หมู่2 ปี3

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น
วรรธรธัช สุวงศ์ คบ.ฟิสิกส์ 56191430120

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น
นางสาววันเพ็ญ มาลาทอง
คหกรรมศาสตร์ หมู่ 2
55191600220

Unknown กล่าวว่า...

ตอบ
1.ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบเอทีเอ็ม
2.ลักษณะงาน : ATM เป็นมาตรฐานรูปแบบการส่งข้อมูลความเร็วสูงที่ถูกพัฒนามาสำหรับงานที่ต้องการความเร็วในการส่งข้อมูลสูงมาก ๆ ข้อมูลที่ส่งในเครือข่าย ATM จะถูกแบ่งเป็นกลุ่มย่อยเล็ก ๆ เรียกว่า เซลล์ (Cell) ซึ่งมีขนาด 53 byte ประกอบด้วยส่วนข้อมูล (payload) ขนาด 48 byte และส่วนหัว (header) ขนาด 5 byte ส่วนหัวจะเก็บข้อมูลที่จำเป็น ต่าง ๆ ที่ใช้ในการควบคุมการส่ง เช่น จุดหมายปลายทาง ระดับความสำคัญของ cell นั้น โดยจะ ประกอบด้วย VPI (Virtual Path Identifier) และ VCI (Virtual Circuit Identifier) ทำหน้าที่กำหนดวงจรเสมือน (virtual circuit) ในการเดินทางให้กับเซลล์นั้น และ HEC (Header Error Check) ทำหน้าที่ตรวจสอบ cell ที่ไม่สอดคล้องตามที่ระบุในส่วนหัว สวิตซ์ ATM จะทำหน้าที่ในการมัลติเพลกซ์และจัดการส่งข้อมูลนั้นตามที่กำหนดไว้ในส่วนหัวไปสู่ปลายทาง เมื่อข้อมูลของผู้ใช้เข้ามา จะถูกตัดแบ่งย่อยเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 48 byte และเติมส่วนหัวเข้าไป อีก 5 byte แล้วจึงส่งไปตามเส้นทางต่าง ๆ ในเครือข่าย ATM ซึ่งระบุไว้โดยส่วนหัว เมื่อถึงปลาย ทางแล้วก็จะเอาส่วนหัวออก แล้วประกอบกันเป็นข้อมูลชิ้นใหญ่เหมือนเดิม ลักษณะของ ATM นี้จะคล้ายกับ packet-switching network อื่นๆ ที่มีอยู่ เช่น x.25 หรือ frame relay แต่ต่างกันที่ ATM จะมีขนาด packet เล็กและคงที่
3. มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร : 1. ATM ถูกพัฒนาให้เป็นมาตรฐานกลางของการสื่อสารทั่วโลก อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถทำงาน ร่วมกันได้ถึงแม้จะต่างชนิดกัน โดยใช้มาตรฐานเดียวกัน ไม่จำเป็นต้องเป็นยี่ห้อหนึ่งยี่ห้อใด กล่าวคือ เป็นมาตรฐานกลางที่ร่วมกันกำหนดขึ้นเพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้ร่วมกัน
2. ATM ถูกพัฒนาเพื่อการส่งข้อมูล สำหรับทั้งเครือข่ายภายในระยะใกล้ (LAN : Local Area Network) และ ระยะไกล (Wide Area Network : WAN) แต่เดิมนั้นรูปแบบของการส่งข้อมูลใน LAN และ WAN จะแตกต่างกัน ซึ่งสร้างความยุ่งยากในการเชื่อมต่อและบริหารเครือข่าย แต่ ATM จะผนวกทั้ง LAN และ WAN เข้าเป็นเครือข่ายใหญ่ที่มีมาตรฐานเดียว
3. ATM ถูกพัฒนาให้ใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบ แต่เดิมนั้นข้อมูลแต่ละรูปแบบไดเแก่ สัญญาณเสียง (voice) ข้อมูล (data) และภาพเคลื่อนไหว (video) ต่างก็มีเครือข่ายของตนเอง โดยสัญญาณเสียงที่ใช้ในเครือข่ายโทรศัพท์จะมีลักษณะที่มีอัตราการส่งข้อมูลคง ที่เท่า ๆ กันตลอดเวลา ข้อมูลเสียงอาจยอมให้มีการสูญเสีย (error) ได้บ้าง แต่จะต้อง ให้มีการหน่วงเวลา (delay) น้อยที่สุด ส่วนข้อมูลของคอมพิวเตอร์ (data) ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จะมีอัตราการส่งข้อมูลไม่คงที่ มีลักษณะเป็น bursty คือ บางเวลาจะมีข้อัมูลมากเป็นกลุ่มก้อน แต่บางเวลาก์ไม่มีข้อมูลเข้ามาเลย ลักษณะนี้เรายอมให้มีการหน่วงเวลาได้บ้าง แต่จะให้มีการสูญเสีย (error) ให้น้อย ที่สุด จะเห็นว่าข้อมูลต่างลักษณะกัน ต้องการคุณภาพในกรส่งที่ต่างประเด็นกัน สำหรับ ATM เราไม่จำเป็นต้องแยกเครือข่ายสำหรับข้อมูลเหล่านี้ เนื่องจากมันถูกออก แบบมาเพื่อใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบทั้งเสียง (voice), ข้อมูล (data) และ วิดีโอ (video) นั่นเอง
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร : ช่วยอำนวยความสะดวกสบายในการ ถอนเงิน โอนเงิน เช็กยอดเงิน ชำระค่าบริการต่างๆ ไม่เสียเวลาในการเดินทางไปธนาคาร เพราะมีอยู่ทั่วทุกพื้นที่
นางสาวปาริชาติ ชัยรังษี ค.บ. 5/2 สาขาภาษาไทย รหัสนักศึกษา 55191010238

Unknown กล่าวว่า...

ตอบ
1.ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบเอทีเอ็ม
2.ลักษณะงาน : ATM เป็นมาตรฐานรูปแบบการส่งข้อมูลความเร็วสูงที่ถูกพัฒนามาสำหรับงานที่ต้องการความเร็วในการส่งข้อมูลสูงมาก ๆ ข้อมูลที่ส่งในเครือข่าย ATM จะถูกแบ่งเป็นกลุ่มย่อยเล็ก ๆ เรียกว่า เซลล์ (Cell) ซึ่งมีขนาด 53 byte ประกอบด้วยส่วนข้อมูล (payload) ขนาด 48 byte และส่วนหัว (header) ขนาด 5 byte ส่วนหัวจะเก็บข้อมูลที่จำเป็น ต่าง ๆ ที่ใช้ในการควบคุมการส่ง เช่น จุดหมายปลายทาง ระดับความสำคัญของ cell นั้น โดยจะ ประกอบด้วย VPI (Virtual Path Identifier) และ VCI (Virtual Circuit Identifier) ทำหน้าที่กำหนดวงจรเสมือน (virtual circuit) ในการเดินทางให้กับเซลล์นั้น และ HEC (Header Error Check) ทำหน้าที่ตรวจสอบ cell ที่ไม่สอดคล้องตามที่ระบุในส่วนหัว สวิตซ์ ATM จะทำหน้าที่ในการมัลติเพลกซ์และจัดการส่งข้อมูลนั้นตามที่กำหนดไว้ในส่วนหัวไปสู่ปลายทาง เมื่อข้อมูลของผู้ใช้เข้ามา จะถูกตัดแบ่งย่อยเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 48 byte และเติมส่วนหัวเข้าไป อีก 5 byte แล้วจึงส่งไปตามเส้นทางต่าง ๆ ในเครือข่าย ATM ซึ่งระบุไว้โดยส่วนหัว เมื่อถึงปลาย ทางแล้วก็จะเอาส่วนหัวออก แล้วประกอบกันเป็นข้อมูลชิ้นใหญ่เหมือนเดิม ลักษณะของ ATM นี้จะคล้ายกับ packet-switching network อื่นๆ ที่มีอยู่ เช่น x.25 หรือ frame relay แต่ต่างกันที่ ATM จะมีขนาด packet เล็กและคงที่
3. มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร : 1. ATM ถูกพัฒนาให้เป็นมาตรฐานกลางของการสื่อสารทั่วโลก อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถทำงาน ร่วมกันได้ถึงแม้จะต่างชนิดกัน โดยใช้มาตรฐานเดียวกัน ไม่จำเป็นต้องเป็นยี่ห้อหนึ่งยี่ห้อใด กล่าวคือ เป็นมาตรฐานกลางที่ร่วมกันกำหนดขึ้นเพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้ร่วมกัน
2. ATM ถูกพัฒนาเพื่อการส่งข้อมูล สำหรับทั้งเครือข่ายภายในระยะใกล้ (LAN : Local Area Network) และ ระยะไกล (Wide Area Network : WAN) แต่เดิมนั้นรูปแบบของการส่งข้อมูลใน LAN และ WAN จะแตกต่างกัน ซึ่งสร้างความยุ่งยากในการเชื่อมต่อและบริหารเครือข่าย แต่ ATM จะผนวกทั้ง LAN และ WAN เข้าเป็นเครือข่ายใหญ่ที่มีมาตรฐานเดียว
3. ATM ถูกพัฒนาให้ใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบ แต่เดิมนั้นข้อมูลแต่ละรูปแบบไดเแก่ สัญญาณเสียง (voice) ข้อมูล (data) และภาพเคลื่อนไหว (video) ต่างก็มีเครือข่ายของตนเอง โดยสัญญาณเสียงที่ใช้ในเครือข่ายโทรศัพท์จะมีลักษณะที่มีอัตราการส่งข้อมูลคง ที่เท่า ๆ กันตลอดเวลา ข้อมูลเสียงอาจยอมให้มีการสูญเสีย (error) ได้บ้าง แต่จะต้อง ให้มีการหน่วงเวลา (delay) น้อยที่สุด ส่วนข้อมูลของคอมพิวเตอร์ (data) ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จะมีอัตราการส่งข้อมูลไม่คงที่ มีลักษณะเป็น bursty คือ บางเวลาจะมีข้อัมูลมากเป็นกลุ่มก้อน แต่บางเวลาก์ไม่มีข้อมูลเข้ามาเลย ลักษณะนี้เรายอมให้มีการหน่วงเวลาได้บ้าง แต่จะให้มีการสูญเสีย (error) ให้น้อย ที่สุด จะเห็นว่าข้อมูลต่างลักษณะกัน ต้องการคุณภาพในกรส่งที่ต่างประเด็นกัน สำหรับ ATM เราไม่จำเป็นต้องแยกเครือข่ายสำหรับข้อมูลเหล่านี้ เนื่องจากมันถูกออก แบบมาเพื่อใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบทั้งเสียง (voice), ข้อมูล (data) และ วิดีโอ (video) นั่นเอง
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร : ช่วยอำนวยความสะดวกสบายในการ ถอนเงิน โอนเงิน เช็กยอดเงิน ชำระค่าบริการต่างๆ ไม่เสียเวลาในการเดินทางไปธนาคาร เพราะมีอยู่ทั่วทุกพื้นที่
นางสาวปาริชาติ ชัยรังษี ค.บ. 5/2 สาขาภาษาไทย รหัสนักศึกษา 55191010238

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

พาณิชย์อิเล็กโทรนิกส์ (Electronic Commerce)
1. แนวคิดเกี่ยวกับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce)
1.1 ความหมายของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ตอบ Electronic Commerce หรือ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การทำธุรกรรมทางเศรษฐกิจที่ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น การซื้อขายสินค้าและบริหาร การโฆษณาสินค้า การโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น จุดเด่นของ E-Commerce คือ ประหยัดค่าใช้จ่าย และเพิ่ม ประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจ
1.2 ความสำคัญของธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ตอบ เนื่องมาจากอัตราการเติบโตของการใช้อินเตอร์เน็ตและการเพิ่มขึ้นของเว็บไซต์ทางธุรกิจที่มีอย่างต่อเนื่อง ทำให้การประกอบธุรกิจโดยเฉพาะธุรกิจบนอินเตอร์เน็ตเป็นช่องทางการตลาดขนาดใหญ่ของโลกไร้พรมแดนที่สามารถเข้าถึงกลุ่มผู้บริโภคเป้าหมายได้โดยตรงอย่างรวดเร็ว ไร้ขีดจำกัดของเรื่องเวลาและสถานที่ การแข่งขันทางการค้าเสรีและระหว่างประเทศที่ต้องแข่งขันและชิงความได้เปรียบกันที่ “ความเร็ว” ทั้งการนำเสนอสินค้าผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ มีความสำคัญอย่างยิ่งในสังคมเศรษฐกิจฐานความรู้ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งของการประกอบธุรกิจในปัจจุบัน และได้รับความนิยมเพิ่มขันเป็นลำดับ
1.3 ประเภทของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ตอบ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ มี 4 ประเภทหลัก ๆ คือ
• ธุรกิจกับธุรกิจ (Business to Business หรือ B to B)
• ธุรกิจและลูกค้า (Business to Consumers หรือ B to C))
• ธุรกิจกับรัฐบาล (Business to Government หรือ B to G)
• ลูกค้ากับลูกค้า (Consumers to Consumers หรือ C to C)
1.4 ลักษณะของสินค้าและบริการในธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ตอบ สำหรับสินค้าที่ซื้อขายในพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จำแนกได้ดังนี้
1. สินค้าที่มีลักษณะเป็นข้อมูลดิจิทัล (digital products) เป็นสินค้าที่จับต้องไม่ได้ (intangible
goods) เช่น ซอฟต์แวร์ เพลง ภาพยนตร์ เป็นต้น
2. สินค้าที่ไม่ใช่ข้อมูลดิจิทัล (non-digital products) เป็นสินค้าที่สามารถจับต้องได้ (tangible
goods)
3. สินค้าบริการ ได้แก่ การท่องเที่ยว โรงแรม ร้านอาหาร บริการรถเช่า บริการทัวร์และจองตั๋ว
เครื่องบิน บริการฝากขายอสังหาริมทรัพย์ เป็นต้น
2. ปัจจัยที่ส่งผลต่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
2.1 ปัจจัยที่ทำให้ธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ประสบผลสำเร็จ
ตอบ 1. ทำรูปแบบให้มีความน่าสนใจ
2. สินค้าต้องมีคุณภาพตามที่โฆษณาไว้
3. ความชัดเจน ความกระชับของข้อความโฆษณา
4. มีการทำระบบให้เข้าใจง่าย ง่ายต่อการใช้งาน
5. มีเงื่อนไขการสั่งซื้อที่ชัดเจน การส่งสินค้า นโยบาย การยืนยันหลังการสั่งซื้อ
2.2 ปัจจัยที่ทำให้ธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ไม่ประสบผลสำเร็จ
ตอบ 1. สินค้าไม่ได้มาตรฐานตามที่โฆษณาไว้
2. การบริหารจัดการไม่ดี
3. ไม่มีการบริการหลังการขาย
4. ระบบที่ยุ่งยาก ยากต่อการใช้งาน
5. เกิดความผิดพลาดในระบบอยู่บ่อยครั้ง
2.3 ระบบรักษาความปลอดภัยในการชำระเงิน
ตอบ • การใช้รหัส (Encryption)
• ใบรับรองทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic certificate)
• โปรโตคอล (Protocols)
3. ปัญหาและอุปสรรคในการทำธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ตอบ ความไม่ปลอดภัยของข้อมูล ขาดการตรวจสอบการใช้บัตรเครดิตบน Internet ข้อมูลบนบัตรเครดิตอาจถูกดักฟังหรืออ่าน เพื่อเอาชื่อและหมายเลขบัตรเครดิตไปใช้โดยที่เจ้าของบัตรเครดิตไม่รู้ได้

4. แนวทางในการทำธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ตอบ รัฐต้องเร่งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการพัฒนาคุณภาพและบริการอย่างเร่งด่วน พร้อมทั้งกำหนดราคาที่เหมาะสม เพื่อให้ทุกคนเข้าถึง E-Commerce ได้อย่างเท่าเทียม และใช้ประโยชน์ได้อย่างแท้จริง อีกทั้งควรมีการประชาสัมพันธ์ควบคู่ไปด้วย รัฐและเอกชนจะต้องร่วมมืออย่างใกล้ชิดและเร่งด่วนเพื่อพัฒนาและเสริมสร้างความแข็งแกร่ง รวมถึงสมรรถนะด้านการแข่งขันให้แก่สถาบัน องค์กรที่เกี่ยวข้องกับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น การนำระบบ EDI เข้ามาใช้
เปิดเสรีบริการโทรคมนาคม ด้วยการยกเลิกการผูกขาดทางโทรคมนาคมอย่างเร็วที่สุด การเปิดการแข่งขันอย่างเสรีจะทำให้ผู้ใช้บริการไม่ต้องรับภาระค่าใช้จ่ายที่สูงเกินไป
5. ตัวอย่างพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ตอบ หมายถึง รูปแบบของการทำ e-commerce ที่มีรูปแบบการผสมผสานระหว่างผู้ที่มีธุรกิจร้านค้าหรือมีบริษัท เปิดให้บริการทำการค้าจริงๆ และมีเว็บไซต์เป็นอีกช่องทางหนึ่งในการขาย ตัวอย่างเว็บไซต์
www.se-ed.com เป็นเว็บไซต์ของร้านซีเอ็ดที่มีหน้าร้านขายจริงๆ อยู่แล้ว ทำธุรกิจเกี่ยวกับขายหนังสือที่น่าสนในมากมาย
นาย ประสิทธิ์ บุลา เอก คหกรรมศาสตร์ รหัส 55191600202

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

พาณิชย์อิเล็กโทรนิกส์ (Electronic Commerce)
1. แนวคิดเกี่ยวกับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce)
1.1 ความหมายของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ตอบ Electronic Commerce หรือ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การทำธุรกรรมทางเศรษฐกิจที่ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น การซื้อขายสินค้าและบริหาร การโฆษณาสินค้า การโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น จุดเด่นของ E-Commerce คือ ประหยัดค่าใช้จ่าย และเพิ่ม ประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจ
1.2 ความสำคัญของธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ตอบ เนื่องมาจากอัตราการเติบโตของการใช้อินเตอร์เน็ตและการเพิ่มขึ้นของเว็บไซต์ทางธุรกิจที่มีอย่างต่อเนื่อง ทำให้การประกอบธุรกิจโดยเฉพาะธุรกิจบนอินเตอร์เน็ตเป็นช่องทางการตลาดขนาดใหญ่ของโลกไร้พรมแดนที่สามารถเข้าถึงกลุ่มผู้บริโภคเป้าหมายได้โดยตรงอย่างรวดเร็ว ไร้ขีดจำกัดของเรื่องเวลาและสถานที่ การแข่งขันทางการค้าเสรีและระหว่างประเทศที่ต้องแข่งขันและชิงความได้เปรียบกันที่ “ความเร็ว” ทั้งการนำเสนอสินค้าผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ มีความสำคัญอย่างยิ่งในสังคมเศรษฐกิจฐานความรู้ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งของการประกอบธุรกิจในปัจจุบัน และได้รับความนิยมเพิ่มขันเป็นลำดับ
1.3 ประเภทของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ตอบ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ มี 4 ประเภทหลัก ๆ คือ
• ธุรกิจกับธุรกิจ (Business to Business หรือ B to B)
• ธุรกิจและลูกค้า (Business to Consumers หรือ B to C))
• ธุรกิจกับรัฐบาล (Business to Government หรือ B to G)
• ลูกค้ากับลูกค้า (Consumers to Consumers หรือ C to C)
1.4 ลักษณะของสินค้าและบริการในธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ตอบ สำหรับสินค้าที่ซื้อขายในพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จำแนกได้ดังนี้
1. สินค้าที่มีลักษณะเป็นข้อมูลดิจิทัล (digital products) เป็นสินค้าที่จับต้องไม่ได้ (intangible
goods) เช่น ซอฟต์แวร์ เพลง ภาพยนตร์ เป็นต้น
2. สินค้าที่ไม่ใช่ข้อมูลดิจิทัล (non-digital products) เป็นสินค้าที่สามารถจับต้องได้ (tangible
goods)
3. สินค้าบริการ ได้แก่ การท่องเที่ยว โรงแรม ร้านอาหาร บริการรถเช่า บริการทัวร์และจองตั๋ว
เครื่องบิน บริการฝากขายอสังหาริมทรัพย์ เป็นต้น
2. ปัจจัยที่ส่งผลต่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
2.1 ปัจจัยที่ทำให้ธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ประสบผลสำเร็จ
ตอบ 1. ทำรูปแบบให้มีความน่าสนใจ
2. สินค้าต้องมีคุณภาพตามที่โฆษณาไว้
3. ความชัดเจน ความกระชับของข้อความโฆษณา
4. มีการทำระบบให้เข้าใจง่าย ง่ายต่อการใช้งาน
5. มีเงื่อนไขการสั่งซื้อที่ชัดเจน การส่งสินค้า นโยบาย การยืนยันหลังการสั่งซื้อ
2.2 ปัจจัยที่ทำให้ธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ไม่ประสบผลสำเร็จ
ตอบ 1. สินค้าไม่ได้มาตรฐานตามที่โฆษณาไว้
2. การบริหารจัดการไม่ดี
3. ไม่มีการบริการหลังการขาย
4. ระบบที่ยุ่งยาก ยากต่อการใช้งาน
5. เกิดความผิดพลาดในระบบอยู่บ่อยครั้ง
2.3 ระบบรักษาความปลอดภัยในการชำระเงิน
ตอบ • การใช้รหัส (Encryption)
• ใบรับรองทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic certificate)
• โปรโตคอล (Protocols)
3. ปัญหาและอุปสรรคในการทำธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ตอบ ความไม่ปลอดภัยของข้อมูล ขาดการตรวจสอบการใช้บัตรเครดิตบน Internet ข้อมูลบนบัตรเครดิตอาจถูกดักฟังหรืออ่าน เพื่อเอาชื่อและหมายเลขบัตรเครดิตไปใช้โดยที่เจ้าของบัตรเครดิตไม่รู้ได้

4. แนวทางในการทำธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ตอบ รัฐต้องเร่งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการพัฒนาคุณภาพและบริการอย่างเร่งด่วน พร้อมทั้งกำหนดราคาที่เหมาะสม เพื่อให้ทุกคนเข้าถึง E-Commerce ได้อย่างเท่าเทียม และใช้ประโยชน์ได้อย่างแท้จริง อีกทั้งควรมีการประชาสัมพันธ์ควบคู่ไปด้วย รัฐและเอกชนจะต้องร่วมมืออย่างใกล้ชิดและเร่งด่วนเพื่อพัฒนาและเสริมสร้างความแข็งแกร่ง รวมถึงสมรรถนะด้านการแข่งขันให้แก่สถาบัน องค์กรที่เกี่ยวข้องกับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น การนำระบบ EDI เข้ามาใช้
เปิดเสรีบริการโทรคมนาคม ด้วยการยกเลิกการผูกขาดทางโทรคมนาคมอย่างเร็วที่สุด การเปิดการแข่งขันอย่างเสรีจะทำให้ผู้ใช้บริการไม่ต้องรับภาระค่าใช้จ่ายที่สูงเกินไป
5. ตัวอย่างพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ตอบ หมายถึง รูปแบบของการทำ e-commerce ที่มีรูปแบบการผสมผสานระหว่างผู้ที่มีธุรกิจร้านค้าหรือมีบริษัท เปิดให้บริการทำการค้าจริงๆ และมีเว็บไซต์เป็นอีกช่องทางหนึ่งในการขาย ตัวอย่างเว็บไซต์
www.se-ed.com เป็นเว็บไซต์ของร้านซีเอ็ดที่มีหน้าร้านขายจริงๆ อยู่แล้ว ทำธุรกิจเกี่ยวกับขายหนังสือที่น่าสนในมากมาย
นาย ประสิทธิ์ บุลา เอก คหกรรมศาสตร์ รหัส 55191600202

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

พาณิชย์อิเล็กโทรนิกส์ (Electronic Commerce)
1. แนวคิดเกี่ยวกับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce)
1.1 ความหมายของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ตอบ Electronic Commerce หรือ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การทำธุรกรรมทางเศรษฐกิจที่ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น การซื้อขายสินค้าและบริหาร การโฆษณาสินค้า การโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น จุดเด่นของ E-Commerce คือ ประหยัดค่าใช้จ่าย และเพิ่ม ประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจ
1.2 ความสำคัญของธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ตอบ เนื่องมาจากอัตราการเติบโตของการใช้อินเตอร์เน็ตและการเพิ่มขึ้นของเว็บไซต์ทางธุรกิจที่มีอย่างต่อเนื่อง ทำให้การประกอบธุรกิจโดยเฉพาะธุรกิจบนอินเตอร์เน็ตเป็นช่องทางการตลาดขนาดใหญ่ของโลกไร้พรมแดนที่สามารถเข้าถึงกลุ่มผู้บริโภคเป้าหมายได้โดยตรงอย่างรวดเร็ว ไร้ขีดจำกัดของเรื่องเวลาและสถานที่ การแข่งขันทางการค้าเสรีและระหว่างประเทศที่ต้องแข่งขันและชิงความได้เปรียบกันที่ “ความเร็ว” ทั้งการนำเสนอสินค้าผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ มีความสำคัญอย่างยิ่งในสังคมเศรษฐกิจฐานความรู้ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งของการประกอบธุรกิจในปัจจุบัน และได้รับความนิยมเพิ่มขันเป็นลำดับ
1.3 ประเภทของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ตอบ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ มี 4 ประเภทหลัก ๆ คือ
• ธุรกิจกับธุรกิจ (Business to Business หรือ B to B)
• ธุรกิจและลูกค้า (Business to Consumers หรือ B to C))
• ธุรกิจกับรัฐบาล (Business to Government หรือ B to G)
• ลูกค้ากับลูกค้า (Consumers to Consumers หรือ C to C)
1.4 ลักษณะของสินค้าและบริการในธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ตอบ สำหรับสินค้าที่ซื้อขายในพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จำแนกได้ดังนี้
1. สินค้าที่มีลักษณะเป็นข้อมูลดิจิทัล (digital products) เป็นสินค้าที่จับต้องไม่ได้ (intangible
goods) เช่น ซอฟต์แวร์ เพลง ภาพยนตร์ เป็นต้น
2. สินค้าที่ไม่ใช่ข้อมูลดิจิทัล (non-digital products) เป็นสินค้าที่สามารถจับต้องได้ (tangible
goods)
3. สินค้าบริการ ได้แก่ การท่องเที่ยว โรงแรม ร้านอาหาร บริการรถเช่า บริการทัวร์และจองตั๋ว
เครื่องบิน บริการฝากขายอสังหาริมทรัพย์ เป็นต้น
2. ปัจจัยที่ส่งผลต่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
2.1 ปัจจัยที่ทำให้ธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ประสบผลสำเร็จ
ตอบ 1. ทำรูปแบบให้มีความน่าสนใจ
2. สินค้าต้องมีคุณภาพตามที่โฆษณาไว้
3. ความชัดเจน ความกระชับของข้อความโฆษณา
4. มีการทำระบบให้เข้าใจง่าย ง่ายต่อการใช้งาน
5. มีเงื่อนไขการสั่งซื้อที่ชัดเจน การส่งสินค้า นโยบาย การยืนยันหลังการสั่งซื้อ
2.2 ปัจจัยที่ทำให้ธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ไม่ประสบผลสำเร็จ
ตอบ 1. สินค้าไม่ได้มาตรฐานตามที่โฆษณาไว้
2. การบริหารจัดการไม่ดี
3. ไม่มีการบริการหลังการขาย
4. ระบบที่ยุ่งยาก ยากต่อการใช้งาน
5. เกิดความผิดพลาดในระบบอยู่บ่อยครั้ง
2.3 ระบบรักษาความปลอดภัยในการชำระเงิน
ตอบ • การใช้รหัส (Encryption)
• ใบรับรองทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic certificate)
• โปรโตคอล (Protocols)
3. ปัญหาและอุปสรรคในการทำธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ตอบ ความไม่ปลอดภัยของข้อมูล ขาดการตรวจสอบการใช้บัตรเครดิตบน Internet ข้อมูลบนบัตรเครดิตอาจถูกดักฟังหรืออ่าน เพื่อเอาชื่อและหมายเลขบัตรเครดิตไปใช้โดยที่เจ้าของบัตรเครดิตไม่รู้ได้

4. แนวทางในการทำธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ตอบ รัฐต้องเร่งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการพัฒนาคุณภาพและบริการอย่างเร่งด่วน พร้อมทั้งกำหนดราคาที่เหมาะสม เพื่อให้ทุกคนเข้าถึง E-Commerce ได้อย่างเท่าเทียม และใช้ประโยชน์ได้อย่างแท้จริง อีกทั้งควรมีการประชาสัมพันธ์ควบคู่ไปด้วย รัฐและเอกชนจะต้องร่วมมืออย่างใกล้ชิดและเร่งด่วนเพื่อพัฒนาและเสริมสร้างความแข็งแกร่ง รวมถึงสมรรถนะด้านการแข่งขันให้แก่สถาบัน องค์กรที่เกี่ยวข้องกับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น การนำระบบ EDI เข้ามาใช้
เปิดเสรีบริการโทรคมนาคม ด้วยการยกเลิกการผูกขาดทางโทรคมนาคมอย่างเร็วที่สุด การเปิดการแข่งขันอย่างเสรีจะทำให้ผู้ใช้บริการไม่ต้องรับภาระค่าใช้จ่ายที่สูงเกินไป
5. ตัวอย่างพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ตอบ หมายถึง รูปแบบของการทำ e-commerce ที่มีรูปแบบการผสมผสานระหว่างผู้ที่มีธุรกิจร้านค้าหรือมีบริษัท เปิดให้บริการทำการค้าจริงๆ และมีเว็บไซต์เป็นอีกช่องทางหนึ่งในการขาย ตัวอย่างเว็บไซต์
www.se-ed.com เป็นเว็บไซต์ของร้านซีเอ็ดที่มีหน้าร้านขายจริงๆ อยู่แล้ว ทำธุรกิจเกี่ยวกับขายหนังสือที่น่าสนในมากมาย
นาย ประสิทธิ์ บุลา เอก คหกรรมศาสตร์ รหัส 55191600202

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบการศึกษา
ลักษณะงาน : ด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนำมาใช้เพื่ออำนวยความสะดวกในการบริหารด้านการศึกษา เช่น ระบบการลงทะเบียน และระบบการจัดตารางสอน นอกจากนี้ยังใช้เป็นเครื่องมือในการเพิ่มโอก่สทางด้านการศึกษาและเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในด้านการศึกษา
1. การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ทำให้ผู้ที่อยู่ห่างไกลหรือไม่สะดวกในการเดินทางสามารถได้รับการศึกษาเช่นเดียวกับผู้ที่อยู่ในเมือง
2. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ยังช่วยเสริมประสิทธิภาพการเรียนการสอนในวิชาต่างๆ เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ ภาษาต่างประเทศ ทำให้บทเรียนมีความน่าสนใจมากขึ้น และเกิดความเข้าใจได้ง่ายขึ้น เช่น การแสดงสถาณการณ์จำลอง แบบจำลอง ภาพเคลื่อนไหว แสงสีและเสียงประกอบ นักเรียนสามารถเตรียมตัวก่อนเรียน หรือทบทวนบทเรียนด้วยตนเองเมื่อใดก็ได้ที่มีเวลาว่าง
3. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เพิ่มโอกาสในการเรียนรู้ให้กับผู้พิการทางสายตาหรือหู
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีบทบาทต่อการถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารทางด้านการศึกษาได้เป็นอย่างดี ทั้งในและนอกสถานศึกษา หน่วยงานต่างๆ ใช้บทเรียนออนไลน์ในการฝึกอบรมพนักงานเพื่อให้ความรู้เพิ่มเติม นอกจากนี้อินเทอร์เน็ตยังเป็นแหล่งข้อมูลที่สำคัญที่ทั้งครูและนักเรียนหรือบุคคลทั่วไป ใช้สำหรับค้นหาข้อมูลเรื่องต่างๆ ในการทำรายงาน หรือเพื่อศึกษาหาความรู้ เว็บไซต์สำหรับค้นหาข้อมูลที่ใช้กันมากในปัจจุบัน เช่น google.com, ask.com, dogpile.com และ wikipedia.org ตัวอย่างการค้นหาข้อมูลจากหลักฐานข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
1. การจัดห้องสอบ
2. การพิมพ์รายชื่อนักศึกษาเพื่อการกรอกคะแนนและเกรด
3. คำนวณค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่นักศึกษาต้องจ่ายเป็นค่าลงทะเบียนเรียน
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
1. นักศึกษาตรวจสอบวิชาที่เปิดสอน ตารางสอน
2. ตรวจสอบวิชาว่าติดขัดข้อกำหนดใดหรือไม่
3. พิมพ์รายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนและคำนวณค่าใช้จ่ายการลงทะเบียน
4. พิมพ์รายงานการลงทะเบียนของนักศึกษาในแต่ละวิชา
นาย ประสิทธิ์ บุลา เอก คหกรรมศาสตร์ รหัส 55191600202

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบการศึกษา
ลักษณะงาน : ด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนำมาใช้เพื่ออำนวยความสะดวกในการบริหารด้านการศึกษา เช่น ระบบการลงทะเบียน และระบบการจัดตารางสอน นอกจากนี้ยังใช้เป็นเครื่องมือในการเพิ่มโอก่สทางด้านการศึกษาและเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในด้านการศึกษา
1. การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ทำให้ผู้ที่อยู่ห่างไกลหรือไม่สะดวกในการเดินทางสามารถได้รับการศึกษาเช่นเดียวกับผู้ที่อยู่ในเมือง
2. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ยังช่วยเสริมประสิทธิภาพการเรียนการสอนในวิชาต่างๆ เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ ภาษาต่างประเทศ ทำให้บทเรียนมีความน่าสนใจมากขึ้น และเกิดความเข้าใจได้ง่ายขึ้น เช่น การแสดงสถาณการณ์จำลอง แบบจำลอง ภาพเคลื่อนไหว แสงสีและเสียงประกอบ นักเรียนสามารถเตรียมตัวก่อนเรียน หรือทบทวนบทเรียนด้วยตนเองเมื่อใดก็ได้ที่มีเวลาว่าง
3. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เพิ่มโอกาสในการเรียนรู้ให้กับผู้พิการทางสายตาหรือหู
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีบทบาทต่อการถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารทางด้านการศึกษาได้เป็นอย่างดี ทั้งในและนอกสถานศึกษา หน่วยงานต่างๆ ใช้บทเรียนออนไลน์ในการฝึกอบรมพนักงานเพื่อให้ความรู้เพิ่มเติม นอกจากนี้อินเทอร์เน็ตยังเป็นแหล่งข้อมูลที่สำคัญที่ทั้งครูและนักเรียนหรือบุคคลทั่วไป ใช้สำหรับค้นหาข้อมูลเรื่องต่างๆ ในการทำรายงาน หรือเพื่อศึกษาหาความรู้ เว็บไซต์สำหรับค้นหาข้อมูลที่ใช้กันมากในปัจจุบัน เช่น google.com, ask.com, dogpile.com และ wikipedia.org ตัวอย่างการค้นหาข้อมูลจากหลักฐานข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
1. การจัดห้องสอบ
2. การพิมพ์รายชื่อนักศึกษาเพื่อการกรอกคะแนนและเกรด
3. คำนวณค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่นักศึกษาต้องจ่ายเป็นค่าลงทะเบียนเรียน
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
1. นักศึกษาตรวจสอบวิชาที่เปิดสอน ตารางสอน
2. ตรวจสอบวิชาว่าติดขัดข้อกำหนดใดหรือไม่
3. พิมพ์รายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนและคำนวณค่าใช้จ่ายการลงทะเบียน
4. พิมพ์รายงานการลงทะเบียนของนักศึกษาในแต่ละวิชา
นาย ประสิทธิ์ บุลา เอก คหกรรมศาสตร์ รหัส 55191600202

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบการศึกษา
ลักษณะงาน : ด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนำมาใช้เพื่ออำนวยความสะดวกในการบริหารด้านการศึกษา เช่น ระบบการลงทะเบียน และระบบการจัดตารางสอน นอกจากนี้ยังใช้เป็นเครื่องมือในการเพิ่มโอก่สทางด้านการศึกษาและเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในด้านการศึกษา
1. การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ทำให้ผู้ที่อยู่ห่างไกลหรือไม่สะดวกในการเดินทางสามารถได้รับการศึกษาเช่นเดียวกับผู้ที่อยู่ในเมือง
2. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ยังช่วยเสริมประสิทธิภาพการเรียนการสอนในวิชาต่างๆ เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ ภาษาต่างประเทศ ทำให้บทเรียนมีความน่าสนใจมากขึ้น และเกิดความเข้าใจได้ง่ายขึ้น เช่น การแสดงสถาณการณ์จำลอง แบบจำลอง ภาพเคลื่อนไหว แสงสีและเสียงประกอบ นักเรียนสามารถเตรียมตัวก่อนเรียน หรือทบทวนบทเรียนด้วยตนเองเมื่อใดก็ได้ที่มีเวลาว่าง
3. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เพิ่มโอกาสในการเรียนรู้ให้กับผู้พิการทางสายตาหรือหู
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีบทบาทต่อการถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารทางด้านการศึกษาได้เป็นอย่างดี ทั้งในและนอกสถานศึกษา หน่วยงานต่างๆ ใช้บทเรียนออนไลน์ในการฝึกอบรมพนักงานเพื่อให้ความรู้เพิ่มเติม นอกจากนี้อินเทอร์เน็ตยังเป็นแหล่งข้อมูลที่สำคัญที่ทั้งครูและนักเรียนหรือบุคคลทั่วไป ใช้สำหรับค้นหาข้อมูลเรื่องต่างๆ ในการทำรายงาน หรือเพื่อศึกษาหาความรู้ เว็บไซต์สำหรับค้นหาข้อมูลที่ใช้กันมากในปัจจุบัน เช่น google.com, ask.com, dogpile.com และ wikipedia.org ตัวอย่างการค้นหาข้อมูลจากหลักฐานข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
1. การจัดห้องสอบ
2. การพิมพ์รายชื่อนักศึกษาเพื่อการกรอกคะแนนและเกรด
3. คำนวณค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่นักศึกษาต้องจ่ายเป็นค่าลงทะเบียนเรียน
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
1. นักศึกษาตรวจสอบวิชาที่เปิดสอน ตารางสอน
2. ตรวจสอบวิชาว่าติดขัดข้อกำหนดใดหรือไม่
3. พิมพ์รายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนและคำนวณค่าใช้จ่ายการลงทะเบียน
4. พิมพ์รายงานการลงทะเบียนของนักศึกษาในแต่ละวิชา
นาย ประสิทธิ์ บุลา เอก คหกรรมศาสตร์ รหัส 55191600202

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบการศึกษา
ลักษณะงาน : ด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนำมาใช้เพื่ออำนวยความสะดวกในการบริหารด้านการศึกษา เช่น ระบบการลงทะเบียน และระบบการจัดตารางสอน นอกจากนี้ยังใช้เป็นเครื่องมือในการเพิ่มโอก่สทางด้านการศึกษาและเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในด้านการศึกษา
1. การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ทำให้ผู้ที่อยู่ห่างไกลหรือไม่สะดวกในการเดินทางสามารถได้รับการศึกษาเช่นเดียวกับผู้ที่อยู่ในเมือง
2. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ยังช่วยเสริมประสิทธิภาพการเรียนการสอนในวิชาต่างๆ เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ ภาษาต่างประเทศ ทำให้บทเรียนมีความน่าสนใจมากขึ้น และเกิดความเข้าใจได้ง่ายขึ้น เช่น การแสดงสถาณการณ์จำลอง แบบจำลอง ภาพเคลื่อนไหว แสงสีและเสียงประกอบ นักเรียนสามารถเตรียมตัวก่อนเรียน หรือทบทวนบทเรียนด้วยตนเองเมื่อใดก็ได้ที่มีเวลาว่าง
3. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เพิ่มโอกาสในการเรียนรู้ให้กับผู้พิการทางสายตาหรือหู
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีบทบาทต่อการถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารทางด้านการศึกษาได้เป็นอย่างดี ทั้งในและนอกสถานศึกษา หน่วยงานต่างๆ ใช้บทเรียนออนไลน์ในการฝึกอบรมพนักงานเพื่อให้ความรู้เพิ่มเติม นอกจากนี้อินเทอร์เน็ตยังเป็นแหล่งข้อมูลที่สำคัญที่ทั้งครูและนักเรียนหรือบุคคลทั่วไป ใช้สำหรับค้นหาข้อมูลเรื่องต่างๆ ในการทำรายงาน หรือเพื่อศึกษาหาความรู้ เว็บไซต์สำหรับค้นหาข้อมูลที่ใช้กันมากในปัจจุบัน เช่น google.com, ask.com, dogpile.com และ wikipedia.org ตัวอย่างการค้นหาข้อมูลจากหลักฐานข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
1. การจัดห้องสอบ
2. การพิมพ์รายชื่อนักศึกษาเพื่อการกรอกคะแนนและเกรด
3. คำนวณค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่นักศึกษาต้องจ่ายเป็นค่าลงทะเบียนเรียน
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
1. นักศึกษาตรวจสอบวิชาที่เปิดสอน ตารางสอน
2. ตรวจสอบวิชาว่าติดขัดข้อกำหนดใดหรือไม่
3. พิมพ์รายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนและคำนวณค่าใช้จ่ายการลงทะเบียน
4. พิมพ์รายงานการลงทะเบียนของนักศึกษาในแต่ละวิชา
นาย ประสิทธิ์ บุลา เอก คหกรรมศาสตร์ รหัส 55191600202

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบการศึกษา
ลักษณะงาน : ด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนำมาใช้เพื่ออำนวยความสะดวกในการบริหารด้านการศึกษา เช่น ระบบการลงทะเบียน และระบบการจัดตารางสอน นอกจากนี้ยังใช้เป็นเครื่องมือในการเพิ่มโอก่สทางด้านการศึกษาและเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในด้านการศึกษา
1. การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ทำให้ผู้ที่อยู่ห่างไกลหรือไม่สะดวกในการเดินทางสามารถได้รับการศึกษาเช่นเดียวกับผู้ที่อยู่ในเมือง
2. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ยังช่วยเสริมประสิทธิภาพการเรียนการสอนในวิชาต่างๆ เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ ภาษาต่างประเทศ ทำให้บทเรียนมีความน่าสนใจมากขึ้น และเกิดความเข้าใจได้ง่ายขึ้น เช่น การแสดงสถาณการณ์จำลอง แบบจำลอง ภาพเคลื่อนไหว แสงสีและเสียงประกอบ นักเรียนสามารถเตรียมตัวก่อนเรียน หรือทบทวนบทเรียนด้วยตนเองเมื่อใดก็ได้ที่มีเวลาว่าง
3. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เพิ่มโอกาสในการเรียนรู้ให้กับผู้พิการทางสายตาหรือหู
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีบทบาทต่อการถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารทางด้านการศึกษาได้เป็นอย่างดี ทั้งในและนอกสถานศึกษา หน่วยงานต่างๆ ใช้บทเรียนออนไลน์ในการฝึกอบรมพนักงานเพื่อให้ความรู้เพิ่มเติม นอกจากนี้อินเทอร์เน็ตยังเป็นแหล่งข้อมูลที่สำคัญที่ทั้งครูและนักเรียนหรือบุคคลทั่วไป ใช้สำหรับค้นหาข้อมูลเรื่องต่างๆ ในการทำรายงาน หรือเพื่อศึกษาหาความรู้ เว็บไซต์สำหรับค้นหาข้อมูลที่ใช้กันมากในปัจจุบัน เช่น google.com, ask.com, dogpile.com และ wikipedia.org ตัวอย่างการค้นหาข้อมูลจากหลักฐานข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
1. การจัดห้องสอบ
2. การพิมพ์รายชื่อนักศึกษาเพื่อการกรอกคะแนนและเกรด
3. คำนวณค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่นักศึกษาต้องจ่ายเป็นค่าลงทะเบียนเรียน
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
1. นักศึกษาตรวจสอบวิชาที่เปิดสอน ตารางสอน
2. ตรวจสอบวิชาว่าติดขัดข้อกำหนดใดหรือไม่
3. พิมพ์รายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนและคำนวณค่าใช้จ่ายการลงทะเบียน
4. พิมพ์รายงานการลงทะเบียนของนักศึกษาในแต่ละวิชา
นาย ประสิทธิ์ บุลา เอก คหกรรมศาสตร์ รหัส 55191600202

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
-ง่ายต่อการค้นหาหนังสือ
-ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้

นายภาณุพงษ์ พิมพา รหัสนักศึกษา 56191430122 สาขาฟิสิกส์ ค.บ. 5/1

Unknown กล่าวว่า...

ชี่อ ระบบจองวิชาเรียนออลไลน์
ลักษณะงาน การเลือกจองวิชาเรียนทางเว็บไซค์ ได้ก้าวเข้าสู่การใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเป็นสื่อในการนำเสนอ โดยมีรูปแบบการนำเสนอผลงานแบ่งได้ 2 รูปแบบใหญ่ๆ คือ
1.การนำเสนอในลักษณะ Web Based Learning
2. การนำเสนอในลักษณะ E-learning

ประโยชน์ของการเรียนการสอนออนไลน์
- เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอน
- สนับสนุนการเรียนการสอน
- เกิดเครือข่ายความรู้
- เน้นการเรียนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ตรงตาม หัวใจของการปฏิรูปการศึกษา
- ลดช่องว่างการเรียนรู้ระหว่างเมืองและท้องถิ่น

นางสาวนัยนา สีสมงาม คบ วิทยาศาสตร์ หมู่ 2
รหัส 56191960237

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ : การเช็คเกรดออนไลน์
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการเช็คเกรดเพื่อให้สะดวกต่อการเช็คเกรดได้รวดเร็ว ขึ้น เมื่ออยากดูเกรดไม่ดวกเดินทางไปดูด้วยตนเองสามรถเช็คเกรดออนไลน์ได้ สะดวกง่ายต่อการเช็ค
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน
-ทำให้สะดวกรวดเร็วในการแก้ไขผลการเรียน
ทำให้สะดวกในการตรวจเช็คผลการเรียนของนักศึกษา
ประโยชน์ต่อนักศึกษา
- ทำให้ง่ายต่อการเช็คผลการเรียน
-เช็คผลการเรียนได้รวดเร็วขึ้น
-ไม่ลำบากต่อการเดินทาง
-ทำงานอย่างเป็นระบบ

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อระบบ การใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน เป็นการนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานต่างๆ เช่นใช้ในการรวบรวมข้อมูลการเข้าออกของนักศึกษาและใช้เป็นเครื่องมือในการค้นหาหนังสือต่างๆในห้องสมุด
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน
-ทำให้เกิดความสะดวกในห้องสมุด
-ช่วยสืบค้นหนังสือได้รวดเร็ว
เกี่ยวกับนักศึกษาอย่างไร
-เป็นเครื่องมือในการค้นหาหนังสือแก่นักศึกษาที่จะหาข้อมูล
-ทำให้สะดวกต่อการสืบค้นหนังสือ
นางสาวเมธาวด๊ สิมมา ค.บ.ฟิสิกส์ รหัส56191430116

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ.ระบบลงทะเบียนออนไลน์
ลักษณะงาน .มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการ ในระบบการศึกษาที่รวดเร็วมากขึ้น
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน:
-มีความสะดวกรวดเร็วต่อหน่วยงานสถานศึกษา
-มีความเป็นระบบต่อหน่วยงาน
-มีความรวดเร็วต่อนักศึกษา
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา
-การใช่งานอย่างมีระบบและรวดเร็วต่อการศึกษา
-มีความเป็นมาตรฐาน

นางสาวสุธิดา บุญฤทธิ์ วิทยาการคอมพิวเตอร์
56122420115

Unknown กล่าวว่า...

ชี่อ ระบบจองวิชาเรียนออลไลน์
ลักษณะงาน การเลือกจองวิชาเรียนทางเว็บไซค์ ได้ก้าวเข้าสู่การใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเป็นสื่อในการนำเสนอ โดยมีรูปแบบการนำเสนอผลงานแบ่งได้ 2 รูปแบบใหญ่ๆ คือ
1.การนำเสนอในลักษณะ Web Based Learning
2. การนำเสนอในลักษณะ E-learning

ประโยชน์ของการเรียนการสอนออนไลน์
- เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอน
- สนับสนุนการเรียนการสอน
- เกิดเครือข่ายความรู้
- เน้นการเรียนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ตรงตาม หัวใจของการปฏิรูปการศึกษา
- ลดช่องว่างการเรียนรู้ระหว่างเมืองและท้องถิ่น

Unknown กล่าวว่า...

ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น
นางสาวเมธาวดี สิมมา ค.บ.ฟิสิกส์ รหัส56191430116

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น

Unknown กล่าวว่า...

ตอบ
1.ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบเอทีเอ็ม
2.ลักษณะงาน : ATM เป็นมาตรฐานรูปแบบการส่งข้อมูลความเร็วสูงที่ถูกพัฒนามาสำหรับงานที่ต้องการความเร็วในการส่งข้อมูลสูงมาก ๆ ข้อมูลที่ส่งในเครือข่าย ATM จะถูกแบ่งเป็นกลุ่มย่อยเล็ก ๆ เรียกว่า เซลล์ (Cell) ซึ่งมีขนาด 53 byte ประกอบด้วยส่วนข้อมูล (payload) ขนาด 48 byte และส่วนหัว (header) ขนาด 5 byte ส่วนหัวจะเก็บข้อมูลที่จำเป็น ต่าง ๆ ที่ใช้ในการควบคุมการส่ง เช่น จุดหมายปลายทาง ระดับความสำคัญของ cell นั้น โดยจะ ประกอบด้วย VPI (Virtual Path Identifier) และ VCI (Virtual Circuit Identifier) ทำหน้าที่กำหนดวงจรเสมือน (virtual circuit) ในการเดินทางให้กับเซลล์นั้น และ HEC (Header Error Check) ทำหน้าที่ตรวจสอบ cell ที่ไม่สอดคล้องตามที่ระบุในส่วนหัว สวิตซ์ ATM จะทำหน้าที่ในการมัลติเพลกซ์และจัดการส่งข้อมูลนั้นตามที่กำหนดไว้ในส่วนหัวไปสู่ปลายทาง เมื่อข้อมูลของผู้ใช้เข้ามา จะถูกตัดแบ่งย่อยเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 48 byte และเติมส่วนหัวเข้าไป อีก 5 byte แล้วจึงส่งไปตามเส้นทางต่าง ๆ ในเครือข่าย ATM ซึ่งระบุไว้โดยส่วนหัว เมื่อถึงปลาย ทางแล้วก็จะเอาส่วนหัวออก แล้วประกอบกันเป็นข้อมูลชิ้นใหญ่เหมือนเดิม ลักษณะของ ATM นี้จะคล้ายกับ packet-switching network อื่นๆ ที่มีอยู่ เช่น x.25 หรือ frame relay แต่ต่างกันที่ ATM จะมีขนาด packet เล็กและคงที่
3. มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร : 1. ATM ถูกพัฒนาให้เป็นมาตรฐานกลางของการสื่อสารทั่วโลก อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถทำงาน ร่วมกันได้ถึงแม้จะต่างชนิดกัน โดยใช้มาตรฐานเดียวกัน ไม่จำเป็นต้องเป็นยี่ห้อหนึ่งยี่ห้อใด กล่าวคือ เป็นมาตรฐานกลางที่ร่วมกันกำหนดขึ้นเพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้ร่วมกัน
2. ATM ถูกพัฒนาเพื่อการส่งข้อมูล สำหรับทั้งเครือข่ายภายในระยะใกล้ (LAN : Local Area Network) และ ระยะไกล (Wide Area Network : WAN) แต่เดิมนั้นรูปแบบของการส่งข้อมูลใน LAN และ WAN จะแตกต่างกัน ซึ่งสร้างความยุ่งยากในการเชื่อมต่อและบริหารเครือข่าย แต่ ATM จะผนวกทั้ง LAN และ WAN เข้าเป็นเครือข่ายใหญ่ที่มีมาตรฐานเดียว
3. ATM ถูกพัฒนาให้ใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบ แต่เดิมนั้นข้อมูลแต่ละรูปแบบไดเแก่ สัญญาณเสียง (voice) ข้อมูล (data) และภาพเคลื่อนไหว (video) ต่างก็มีเครือข่ายของตนเอง โดยสัญญาณเสียงที่ใช้ในเครือข่ายโทรศัพท์จะมีลักษณะที่มีอัตราการส่งข้อมูลคง ที่เท่า ๆ กันตลอดเวลา ข้อมูลเสียงอาจยอมให้มีการสูญเสีย (error) ได้บ้าง แต่จะต้อง ให้มีการหน่วงเวลา (delay) น้อยที่สุด ส่วนข้อมูลของคอมพิวเตอร์ (data) ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จะมีอัตราการส่งข้อมูลไม่คงที่ มีลักษณะเป็น bursty คือ บางเวลาจะมีข้อัมูลมากเป็นกลุ่มก้อน แต่บางเวลาก์ไม่มีข้อมูลเข้ามาเลย ลักษณะนี้เรายอมให้มีการหน่วงเวลาได้บ้าง แต่จะให้มีการสูญเสีย (error) ให้น้อย ที่สุด จะเห็นว่าข้อมูลต่างลักษณะกัน ต้องการคุณภาพในกรส่งที่ต่างประเด็นกัน สำหรับ ATM เราไม่จำเป็นต้องแยกเครือข่ายสำหรับข้อมูลเหล่านี้ เนื่องจากมันถูกออก แบบมาเพื่อใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบทั้งเสียง (voice), ข้อมูล (data) และ วิดีโอ (video) นั่นเอง
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร : ช่วยอำนวยความสะดวกสบายในการ ถอนเงิน โอนเงิน เช็กยอดเงิน ชำระค่าบริการต่างๆ ไม่เสียเวลาในการเดินทางไปธนาคาร เพราะมีอยู่ทั่วทุกพื้นที่

นายสนธยา แสนกล้า สาขา ค.บ. พิสิกส์ รหัส 56191430133

Unknown กล่าวว่า...

ตอบ
1.ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบเอทีเอ็ม
2.ลักษณะงาน : ATM เป็นมาตรฐานรูปแบบการส่งข้อมูลความเร็วสูงที่ถูกพัฒนามาสำหรับงานที่ต้องการความเร็วในการส่งข้อมูลสูงมาก ๆ ข้อมูลที่ส่งในเครือข่าย ATM จะถูกแบ่งเป็นกลุ่มย่อยเล็ก ๆ เรียกว่า เซลล์ (Cell) ซึ่งมีขนาด 53 byte ประกอบด้วยส่วนข้อมูล (payload) ขนาด 48 byte และส่วนหัว (header) ขนาด 5 byte ส่วนหัวจะเก็บข้อมูลที่จำเป็น ต่าง ๆ ที่ใช้ในการควบคุมการส่ง เช่น จุดหมายปลายทาง ระดับความสำคัญของ cell นั้น โดยจะ ประกอบด้วย VPI (Virtual Path Identifier) และ VCI (Virtual Circuit Identifier) ทำหน้าที่กำหนดวงจรเสมือน (virtual circuit) ในการเดินทางให้กับเซลล์นั้น และ HEC (Header Error Check) ทำหน้าที่ตรวจสอบ cell ที่ไม่สอดคล้องตามที่ระบุในส่วนหัว สวิตซ์ ATM จะทำหน้าที่ในการมัลติเพลกซ์และจัดการส่งข้อมูลนั้นตามที่กำหนดไว้ในส่วนหัวไปสู่ปลายทาง เมื่อข้อมูลของผู้ใช้เข้ามา จะถูกตัดแบ่งย่อยเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 48 byte และเติมส่วนหัวเข้าไป อีก 5 byte แล้วจึงส่งไปตามเส้นทางต่าง ๆ ในเครือข่าย ATM ซึ่งระบุไว้โดยส่วนหัว เมื่อถึงปลาย ทางแล้วก็จะเอาส่วนหัวออก แล้วประกอบกันเป็นข้อมูลชิ้นใหญ่เหมือนเดิม ลักษณะของ ATM นี้จะคล้ายกับ packet-switching network อื่นๆ ที่มีอยู่ เช่น x.25 หรือ frame relay แต่ต่างกันที่ ATM จะมีขนาด packet เล็กและคงที่
3. มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร : 1. ATM ถูกพัฒนาให้เป็นมาตรฐานกลางของการสื่อสารทั่วโลก อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถทำงาน ร่วมกันได้ถึงแม้จะต่างชนิดกัน โดยใช้มาตรฐานเดียวกัน ไม่จำเป็นต้องเป็นยี่ห้อหนึ่งยี่ห้อใด กล่าวคือ เป็นมาตรฐานกลางที่ร่วมกันกำหนดขึ้นเพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้ร่วมกัน
2. ATM ถูกพัฒนาเพื่อการส่งข้อมูล สำหรับทั้งเครือข่ายภายในระยะใกล้ (LAN : Local Area Network) และ ระยะไกล (Wide Area Network : WAN) แต่เดิมนั้นรูปแบบของการส่งข้อมูลใน LAN และ WAN จะแตกต่างกัน ซึ่งสร้างความยุ่งยากในการเชื่อมต่อและบริหารเครือข่าย แต่ ATM จะผนวกทั้ง LAN และ WAN เข้าเป็นเครือข่ายใหญ่ที่มีมาตรฐานเดียว
3. ATM ถูกพัฒนาให้ใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบ แต่เดิมนั้นข้อมูลแต่ละรูปแบบไดเแก่ สัญญาณเสียง (voice) ข้อมูล (data) และภาพเคลื่อนไหว (video) ต่างก็มีเครือข่ายของตนเอง โดยสัญญาณเสียงที่ใช้ในเครือข่ายโทรศัพท์จะมีลักษณะที่มีอัตราการส่งข้อมูลคง ที่เท่า ๆ กันตลอดเวลา ข้อมูลเสียงอาจยอมให้มีการสูญเสีย (error) ได้บ้าง แต่จะต้อง ให้มีการหน่วงเวลา (delay) น้อยที่สุด ส่วนข้อมูลของคอมพิวเตอร์ (data) ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จะมีอัตราการส่งข้อมูลไม่คงที่ มีลักษณะเป็น bursty คือ บางเวลาจะมีข้อัมูลมากเป็นกลุ่มก้อน แต่บางเวลาก์ไม่มีข้อมูลเข้ามาเลย ลักษณะนี้เรายอมให้มีการหน่วงเวลาได้บ้าง แต่จะให้มีการสูญเสีย (error) ให้น้อย ที่สุด จะเห็นว่าข้อมูลต่างลักษณะกัน ต้องการคุณภาพในกรส่งที่ต่างประเด็นกัน สำหรับ ATM เราไม่จำเป็นต้องแยกเครือข่ายสำหรับข้อมูลเหล่านี้ เนื่องจากมันถูกออก แบบมาเพื่อใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบทั้งเสียง (voice), ข้อมูล (data) และ วิดีโอ (video) นั่นเอง
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร : ช่วยอำนวยความสะดวกสบายในการ ถอนเงิน โอนเงิน เช็กยอดเงิน ชำระค่าบริการต่างๆ ไม่เสียเวลาในการเดินทางไปธนาคาร เพราะมีอยู่ทั่วทุกพื้นที่

นายสนธยา แสนกล้า สาขา ค.บ. พิสิกส์ รหัส 56191430133

Unknown กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ
ตอบ ระบบการใช้สารสนเทศในห้องสมุด

2.ลักษณะงาน
ตอบ โดยนำระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่มาใช้งานห้องสมุด พัฒนาให้เป็นระบบอัตโนมัติ (Automated Library System)สร้างระบบเครือข่ายเชื่อมโยงระหว่างห้องสมุดมหาวิทยาลัย เพื่อให้การจัดบริการสารสนเทศมีความครบถ้วนสมบูรณ์และรวดเร็วยิ่งขึ้น เกิดระบบการใช้ทรัพยากรร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ

3.มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร
ตอบ 1.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริการสารสนเทศในระบบอัตโนมัติ ให้สนองความต้องการของผู้ใช้ให้มากที่สุด ครบถ้วน และสะดวกต่อการเข้าถึง โดยใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกันอย่างประหยัด
2.เพื่อพัฒนาห้องสมุดมหาวิทยาลัยให้เป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้และสารสนเทศที่เอื้อต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา
3.เพื่อสนับสนุนการกระจายโอกาสทางการศึกษาและความเสมอภาคทางการศึกษา โดยใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล ตามโครงการเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษาของทบวงมหาวิทยาลัย ซึ่งผู้ใช้สามารถสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากห้องสมุดได้อย่างรวดเร็วโดยผ่านระบบเครือข่ายบริการของห้องสมุดมหาวิทยาลัย
4.เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ ทั้งด้านผู้ให้บริการและผู้ใช้ห้องสมุด ให้มีความรู้และความชำนาญในการจัดการและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร
ตอบ 1.ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
2.ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
3.ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุดเกี่ยวข้องกับนักศึกษา
4.ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
5.ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
6.สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น


นางสาวศิริกาญจน์ ปัจฉิมานนท์ รหัส 54191700231 หมู่2 ปี3 ค.บ.อุตสาหกรรมศิลป์

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อระบบสารสนเทศ
ตอบ ระบบการลงทะเบียนออนไลน์

ลักษณะงาน
ตอบ โดย 1.Hardwareทำหน้าที่ในการเป็น คอม+อุปกรณ์และออนไลน์ทางอินเตอร์เน็ต
2.Software ทำงานในเรื่องโปรแกรมการลงทะเบียนออนไลน์
3.Peopleware ทำหน้าที่ในการบริหารระบบและผู้ใช้ระบบ
4.Data and Information ทำหน้าที่ในการเก็บข้อมูลนักศึกษา
5.ระบบดำเนินงาน

มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร
ตอบ ประหยัดเวลาในการใช้ลงรายวิชา

เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร
ตอบ นักศึกษาสามารถจองรายวิชาตามเวลาที่ตนต้องการได้สะดวกและรวดเร็ว

นางสาวกวินนา พันธ์พงษ์ 55191010101
สาขาภาษาไทย

Unknown กล่าวว่า...

ตอบ
1.ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบเอทีเอ็ม
2.ลักษณะงาน : ATM เป็นมาตรฐานรูปแบบการส่งข้อมูลความเร็วสูงที่ถูกพัฒนามาสำหรับงานที่ต้องการความเร็วในการส่งข้อมูลสูงมาก ๆ ข้อมูลที่ส่งในเครือข่าย ATM จะถูกแบ่งเป็นกลุ่มย่อยเล็ก ๆ เรียกว่า เซลล์ (Cell) ซึ่งมีขนาด 53 byte ประกอบด้วยส่วนข้อมูล (payload) ขนาด 48 byte และส่วนหัว (header) ขนาด 5 byte ส่วนหัวจะเก็บข้อมูลที่จำเป็น ต่าง ๆ ที่ใช้ในการควบคุมการส่ง เช่น จุดหมายปลายทาง ระดับความสำคัญของ cell นั้น โดยจะ ประกอบด้วย VPI (Virtual Path Identifier) และ VCI (Virtual Circuit Identifier) ทำหน้าที่กำหนดวงจรเสมือน (virtual circuit) ในการเดินทางให้กับเซลล์นั้น และ HEC (Header Error Check) ทำหน้าที่ตรวจสอบ cell ที่ไม่สอดคล้องตามที่ระบุในส่วนหัว สวิตซ์ ATM จะทำหน้าที่ในการมัลติเพลกซ์และจัดการส่งข้อมูลนั้นตามที่กำหนดไว้ในส่วนหัวไปสู่ปลายทาง เมื่อข้อมูลของผู้ใช้เข้ามา จะถูกตัดแบ่งย่อยเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 48 byte และเติมส่วนหัวเข้าไป อีก 5 byte แล้วจึงส่งไปตามเส้นทางต่าง ๆ ในเครือข่าย ATM ซึ่งระบุไว้โดยส่วนหัว เมื่อถึงปลาย ทางแล้วก็จะเอาส่วนหัวออก แล้วประกอบกันเป็นข้อมูลชิ้นใหญ่เหมือนเดิม ลักษณะของ ATM นี้จะคล้ายกับ packet-switching network อื่นๆ ที่มีอยู่ เช่น x.25 หรือ frame relay แต่ต่างกันที่ ATM จะมีขนาด packet เล็กและคงที่
3. มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร : 1. ATM ถูกพัฒนาให้เป็นมาตรฐานกลางของการสื่อสารทั่วโลก อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถทำงาน ร่วมกันได้ถึงแม้จะต่างชนิดกัน โดยใช้มาตรฐานเดียวกัน ไม่จำเป็นต้องเป็นยี่ห้อหนึ่งยี่ห้อใด กล่าวคือ เป็นมาตรฐานกลางที่ร่วมกันกำหนดขึ้นเพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้ร่วมกัน
2. ATM ถูกพัฒนาเพื่อการส่งข้อมูล สำหรับทั้งเครือข่ายภายในระยะใกล้ (LAN : Local Area Network) และ ระยะไกล (Wide Area Network : WAN) แต่เดิมนั้นรูปแบบของการส่งข้อมูลใน LAN และ WAN จะแตกต่างกัน ซึ่งสร้างความยุ่งยากในการเชื่อมต่อและบริหารเครือข่าย แต่ ATM จะผนวกทั้ง LAN และ WAN เข้าเป็นเครือข่ายใหญ่ที่มีมาตรฐานเดียว
3. ATM ถูกพัฒนาให้ใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบ แต่เดิมนั้นข้อมูลแต่ละรูปแบบไดเแก่ สัญญาณเสียง (voice) ข้อมูล (data) และภาพเคลื่อนไหว (video) ต่างก็มีเครือข่ายของตนเอง โดยสัญญาณเสียงที่ใช้ในเครือข่ายโทรศัพท์จะมีลักษณะที่มีอัตราการส่งข้อมูลคง ที่เท่า ๆ กันตลอดเวลา ข้อมูลเสียงอาจยอมให้มีการสูญเสีย (error) ได้บ้าง แต่จะต้อง ให้มีการหน่วงเวลา (delay) น้อยที่สุด ส่วนข้อมูลของคอมพิวเตอร์ (data) ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จะมีอัตราการส่งข้อมูลไม่คงที่ มีลักษณะเป็น bursty คือ บางเวลาจะมีข้อัมูลมากเป็นกลุ่มก้อน แต่บางเวลาก์ไม่มีข้อมูลเข้ามาเลย ลักษณะนี้เรายอมให้มีการหน่วงเวลาได้บ้าง แต่จะให้มีการสูญเสีย (error) ให้น้อย ที่สุด จะเห็นว่าข้อมูลต่างลักษณะกัน ต้องการคุณภาพในกรส่งที่ต่างประเด็นกัน สำหรับ ATM เราไม่จำเป็นต้องแยกเครือข่ายสำหรับข้อมูลเหล่านี้ เนื่องจากมันถูกออก แบบมาเพื่อใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบทั้งเสียง (voice), ข้อมูล (data) และ วิดีโอ (video) นั่นเอง
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร : ช่วยอำนวยความสะดวกสบายในการ ถอนเงิน โอนเงิน เช็กยอดเงิน ชำระค่าบริการต่างๆ ไม่เสียเวลาในการเดินทางไปธนาคาร เพราะมีอยู่ทั่วทุกพื้นที่
นาย วัชรพงษ์ ทองลอย
55128040250
สาขารัฐประศาสนศาสตร์(การปกครองท้องถิ่น)

Unknown กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ การเช๊คผลการเรียนออนไลน์
2.ลักษณะงาน เป็นหน้าเพจ เพจหนึ่งที่มีอยู่ในเว็บเพจของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ไว้บริการนักศึกษาเพื่อตรวจสอบผลการเรียนในระบบแบบออนไลน์
3.ประโยชน์ต่อหน่วยงาน ทำให้ง่ายต่อการจัดระบบและสามารถช่วยลดขั้นตอนที่นักศึกษาต้องเข้ามายังสำนักส่งเสริมฯ เพื่อติดต่อดำเนินการขอเช็คผลการเรียน
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษา สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลาในการเช๊คผลการเรียน นักศึกษาสามารถเข้าถึงได้ทุกที่ ที่มีอินเตอร์เน็ต
นายราเชนทร์ ไชยพันธ์ 55128040238 หมู่2 รปศ.(การปกครองท้องถิ่น)

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ:ระบบการลงทะเบียนเรียนออนไลน์
ลักษณะงาน:การนำเทคโนโลยีที่ใช้ในปัจจุบันมาพัฒนาให้มีการใช้งานได้รวดเร็วยิ่งขึ้น โดยมีเครือข่ายต่างๆให้การสนับสนุนในการใช้งาน.
มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร:
1.สะดวกรวดเร็ว
2.ไม่เสียเวลา
3.เช็คข้อมูลได้ตลอด
เกี่ยว ข้องกับนักศึกษาอย่างไร:เกี่ยวข้องกับนักศึกษาโดยตรงเพราะถ้าไม่มีการลง ทะเบียนก็จะขาดวิชาเรียน เก็บหน่วยกิจไม่ทันไม่ครบและส่งผลต่อการศึกษา

นางสาวพูนทรัพย์ ไกรเพชร
55191600206 สาขาวิชาคหกรรมศาสตร

Unknown กล่าวว่า...
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
Unknown กล่าวว่า...

1.ชื่อระแบบสารสนเทศ :ระบบการยืมหนังสือ
2.ลักษณะของระบบ:ใช้ในการยืมหนังสือ
3.มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร: เพื่อสร้างฐานข้อมูลของระบบการยืม - คืนหนังสือและเพื่อทำให้เกิดความสะดวกกับผู้ใช้และในการจัดเก็บข้อมูลการยืม­ – คืนหนังสือ

4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษา:เพื่อนักศึกษายืม-คืนหนังสือภายในห้องสมุดโรงเรียนเป็นระบบ

นายเนติ ประสิทธิ์ 55123020115
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

Unknown กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ
ตอบ ระบบการใช้สารสนเทศในห้องสมุด

2.ลักษณะงาน
ตอบ โดยนำระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่มาใช้งานห้องสมุด พัฒนาให้เป็นระบบอัตโนมัติ (Automated Library System)สร้างระบบเครือข่ายเชื่อมโยงระหว่างห้องสมุดมหาวิทยาลัย เพื่อให้การจัดบริการสารสนเทศมีความครบถ้วนสมบูรณ์และรวดเร็วยิ่งขึ้น เกิดระบบการใช้ทรัพยากรร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ

3.มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร
ตอบ 1.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริการสารสนเทศในระบบอัตโนมัติ ให้สนองความต้องการของผู้ใช้ให้มากที่สุด ครบถ้วน และสะดวกต่อการเข้าถึง โดยใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกันอย่างประหยัด
2.เพื่อพัฒนาห้องสมุดมหาวิทยาลัยให้เป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้และสารสนเทศที่เอื้อต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา
3.เพื่อสนับสนุนการกระจายโอกาสทางการศึกษาและความเสมอภาคทางการศึกษา โดยใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล ตามโครงการเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษาของทบวงมหาวิทยาลัย ซึ่งผู้ใช้สามารถสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากห้องสมุดได้อย่างรวดเร็วโดยผ่านระบบเครือข่ายบริการของห้องสมุดมหาวิทยาลัย
4.เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ ทั้งด้านผู้ให้บริการและผู้ใช้ห้องสมุด ให้มีความรู้และความชำนาญในการจัดการและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร
ตอบ 1.ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
2.ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
3.ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุดเกี่ยวข้องกับนักศึกษา
4.ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
5.ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
6.สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น
นายอรรคเดช ฤกษ์ศรี 55122220152 โยธาและสถาปัตย

Unknown กล่าวว่า...
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
Unknown กล่าวว่า...

ชื่อระบบสารสนเทศ : ระบบกองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
ลักษณะงาน :ให้บริการและดำเนินงานกองทุนกู้ยืมแก่นักศึกษา
มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร : เพื่อให้เงินกู้ยืมแก่นักเรียน หรือนักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์เพื่อเป็นค่าเล่าเรียน ค่าใช้จ่ายที่ เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา และค่าใช้จ่ายที่จำเป็นในการครองชีพระหว่างศึกษา โดยให้เงินกู้ยืมแก่นักเรียนนักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (สายสามัญและสายอาชีพ) จนถึงระดับปริญญาตรี
เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร : นักศึกษามีโอกาสได้รับการศึกษาที่เท่าเทียมกับบุคคลอื่น

Unknown กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ การเช๊คผลการเรียนออนไลน์
2.ลักษณะงาน เป็นหน้าเพจ เพจหนึ่งที่มีอยู่ในเว็บเพจของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ไว้บริการนักศึกษาเพื่อตรวจสอบผลการเรียนในระบบแบบออนไลน์
3.ประโยชน์ต่อหน่วยงาน ทำให้ง่ายต่อการจัดระบบและสามารถช่วยลดขั้นตอนที่นักศึกษาต้องเข้ามายังสำนักส่งเสริมฯ เพื่อติดต่อดำเนินการขอเช็คผลการเรียน
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษา สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลาในการเช๊คผลการเรียน นักศึกษาสามารถเข้าถึงได้ทุกที่ ที่มีอินเตอร์เน็ต

นายติณณภพ สุมาลุย์ 55162220106 เทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและสถาปัตยกรรม

Unknown กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ : การลงทะเบียนเรียนในระบบออนไลน์
2. ลักษณะงาน : การจองรายวิชาที่ประสงค์จะลงทะเบียนในภาคการศึกษานั้น ผ่านระบบออนไลน์ของมหาวิทยาลัย
3. มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร :ช่วยอำนวยความสะดวกในการดำเนินงาน การตรวจสอบ การจัดเก็บข้อมูลในการลงทะเบียนเรียนของนักศึกษาให้กับบุคลากรและเจ้าหน้าที่เกี่ยวข้อง
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร :นักศึกษาสามารถเลือกลงทะเบียนเรียนวิชาต่างๆที่กำหนดไว้ในหลักสูตรได้ โดยสามารถตรวจสอบได้ทันทีว่า มีวิชาอะไรเปิดสอนบ้าง และการเรียนการสอนเป็นวันอะไรเวลาอะไร วิชานั้นๆมีผู้สมัครเรียนกี่คน เต็มจำนวนที่สามารถรับแล้วหรือไม่ ซึ่งจะทำให้มีการปรับเปลี่ยนข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ เพื่อให้นักศึกษาสามารถรับข้อมูลที่ถูกต้องและสามารถลงทะเบียนเรียนได้อย่างถูกต้อง

นางสาวสุกัญญา ว่องไว
รหัสนักศึกษา 56191960119
สาขา วิทยาศาสตร์ ค.บ.5/1

นางสาวศิรินภา มะลิงาม หมู่ 2 คบ. คหกรรมศาสตร์ 55191600221 กล่าวว่า...

ชื่อ : ระบบการใช้งานในห้องสมุด
ลักษณะงาน : การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดำเนินงานโดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการให้บริการห้องสมุด การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบริการยืม คืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ หรือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมาก
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน :
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- ทำให้ง่ายต่อการจัดหมวดหมู่หนังสือ
- ทำให้ทราบจำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา :
- ทำให้ง่ายต่อการค้นหาหนังสือที่ต้องการ
- ทำให้ง่ายต่อการยืม-ส่งหนังสือ
- สามารถจองหนังสือที่ต้องการได้ง่ายขึ้น

นางสาวศิรินภา มะลิงาม 55191600221 สาขาคหกรรมศาสตร์ คบ.5/2

Unknown กล่าวว่า...

1.ชื่อระบบสารสนเทศ : การลงทะเบียนเรียนในระบบออนไลน์
2. ลักษณะงาน : การจองรายวิชาที่ประสงค์จะลงทะเบียนในภาคการศึกษานั้น ผ่านระบบออนไลน์ของมหาวิทยาลัย
3. มีประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร :ช่วยอำนวยความสะดวกในการดำเนินงาน การตรวจสอบ การจัดเก็บข้อมูลในการลงทะเบียนเรียนของนักศึกษาให้กับบุคลากรและเจ้าหน้าที่เกี่ยวข้อง
4.เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร :นักศึกษาสามารถเลือกลงทะเบียนเรียนวิชาต่างๆที่กำหนดไว้ในหลักสูตรได้ โดยสามารถตรวจสอบได้ทันทีว่า มีวิชาอะไรเปิดสอนบ้าง และการเรียนการสอนเป็นวันอะไรเวลาอะไร วิชานั้นๆมีผู้สมัครเรียนกี่คน เต็มจำนวนที่สามารถรับแล้วหรือไม่ ซึ่งจะทำให้มีการปรับเปลี่ยนข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ เพื่อให้นักศึกษาสามารถรับข้อมูลที่ถูกต้องและสามารถลงทะเบียนเรียนได้อย่างถูกต้อง
นางสาวศิรินภา อยู่ปูน รหัส 56191960118 ค.บ.วิทยาศาสตร์ 5/1

«เก่าที่สุด ‹เก่ากว่า   1 – 200 จาก 203   ใหม่กว่า› ใหม่ที่สุด»

การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึม

หลักการเขียนโปรแกรม องค์ประกอบของประโยคคำสั่ง ชนิดของข้อมูล โครงสร้างข้อมูลแบบอาร์เรย์ โครงสร้างคำสั่งแบบลำดับ โครงสร้างคำสั่งแบบวนซ้ำ การ...