วันจันทร์ที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

(Electronic Commerce) 1. แนวคิดเกี่ยวกับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce) 1.1 ความหมายของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 1.2 ความสำคัญของธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 1.3 ประเภทของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 1.4 ลักษณะของสินค้าและบริการในธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 2. ปัจจัยที่ส่งผลต่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 2.1 ปัจจัยที่ทำให้ธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ประสบผลสำเร็จ 2.2 ปัจจัยที่ทำให้ธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ไม่ประสบผลสำเร็จ 2.3 ระบบรักษาความปลอดภัยในการชำระเงิน 3. ปัญหาและอุปสรรคในการทำธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 4. แนวทางในการทำธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 5. ตัวอย่างพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

402 ความคิดเห็น:

«เก่าที่สุด   ‹เก่ากว่า   401 – 402 จาก 402
อัญชลี 259 กล่าวว่า...

1. แนวคิดเกี่ยวกับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ประกอบด้วย
4 ส่วนใหญ่ ๆ คือ
1.แอพพลิเคชั่นของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
2.ปัจจัยทางการบริหาร
3.โครงสร้างพื้นฐาน
4.ประเภทสินค้าของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
1.1พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) หมายถึง การดาเนินธุรกิจทุกรูปแบบที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายสินค้าและบริการผ่านคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารโทรคมนาคมหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์
1.2 ความสำคัญของธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ขณะนี้เป็นช่วงแห่งการส่งเสริม และสนับสนุนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย อีกวิธีหนึ่งที่เป็นการกระตุ้นความแพร่หลายของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ใน ประเทศแบบอ้อม คือ การพัฒนาระบบของภาครัฐให้ทันสมัยมากขึ้น คือนำเอาสื่ออิเล็กทรอนิกส์เข้ามาใช้มากขึ้น ดังจะเห็นได้จากโครงการ รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government) ที่รัฐบาลพยายามผลักดันให้สำเร็จโดยเร็วที่สุด
1.3 ประเภทของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ( E-Commerce )
1. ธุรกิจกับธุรกิจ ( Business to Business : B to B )
2. ธุรกิจกับผู้บริโภค ( Business to Consumer : B to C
3. ธุรกิจกับรัฐบาล ( Business to Government : B to G )
4. ผู้บริโภคกับผู้บริโภค ( Consumer to Consumer : C to C )
5. รัฐบาลกับผู้บริโภค ( Government to Consumer : G to C )
1.4 ลักษณะของสินค้าและบริการในธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
2. ปัจจัยที่ส่งผลต่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
2.1 ปัจจัยที่ทำให้การค้า e-Commerce ประสบผลสำเร็จ
การดำเนินธุรกิจให้ประสบความสำเร็จนั้น จะต้องมีปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้ (ศูนย์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์, 2544)
1. กล้าตัดสินใจ
2. หน้าที่หลักของท่า
3. โปรแกรมด้าน e-commerce
4. ใช้งบประมาณลงทุนน้อย
5. เร่งงานให้เสร็จตามกำหนด
2.2 ปัจจัยที่ทำให้การค้า e-Commerce ไม่ประสบผลสำเร็จ
ในการประกอบธุรกิจแบบ e-commerce นั้นมีทั้งประสบผลสำเร็จ และล้มเหลว ในที่นี้จะกล่าวถึงเว็บที่ไม่ประสบผลสำเร็จ ซึ่งมีสาเหตุมาจาก (ศูนย์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์, 2544)
1. การลอกเลียนแบบ
2. การอยู่กับความฝัน
3. ทำเว็บไซต์ที่วิจิตรสวยงาม
4. ทำเว็บไซต์แบบไร้
5. ไม่มีระบบสนับสนุนพื้นฐานที่เพียงพอ
6. ทำงานได้ทีละอย่าง
7. คิดเล็กเกินไป
2.3 ระบบรักษาความปลอดภัยในการชำระเงิน
ระบบรักษาความปลอดภัยที่ใช้กันในปัจจุบันมี 2 ระบบ คือ
1. SSL (Secure Socket Layer)
2.SET (Secure Electronic Transaction)
3.ปัญหาและอุปสรรคในการทำธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
1.ความไม่ปลอดภัยของข้อมูลขาดการตรวจสอบการใช้บัตรเครดิตบน Internet ข้อมูลบนบัตรเครดิตอาจถูกดักฟังหรืออ่านเพื่อเอาชื่อและหมายเลขบัตรเครดิตไปใช้โดยที่เจ้าของบัตรเครดิตไม่รู้ได้การส่งข้อมูลจึงต้องมรการพัฒนาวิธีการเข้ารหัสที่ซับซ้อนหลายขั้นตอนเพื่อให้ข้อมูลของลูกค้าได้รับความปลอดภัยสูงสุด
2.ประเทศไทยยังไม่มีธนาคารพาณิชย์ที่จะทำหน้าที่รับประกันความเสี่ยงสำหรับการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ในปัจจุบันการชำระเงินยังต้องผ่านธนาคารที่เป็นของต่างประเทศ
3.ปัญหาความยากจนความด้อยโอกาสและขาดความรู้ทางเทคโนโลยีรวมทั้งขาดเครือข่ายการสื่อสาร เช่น ระบบเคเบิล ระบบโทรศัพท์ที่มีประสิทธิภาพ ทำให้ไม่สามารถให้บริการได้อย่างทั่วถึง จึงทำให้ชนบทที่ห่างไกลไม่สามารถเข้าถึงและใช้บริการ Internet ได้
4.แนวทางในการทำธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
1. แบบซื้อมา-ขายไป (e-business store font)
2. แบบสื่อกลางด้านข่าวสาร (infomediary)
3. แบบสื่อกลางด้านความไว้ใจ (trust intermediary)
4. แบบขายเครื่องมือในการทำธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-business enabler)
5. การให้บริการสาธารณูปโภคพื้นฐาน (infrastructure providers)
5. ตัวอย่างพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ตัวอย่าง เช่น นายสมชายเปิดร้านขายสินค้าโอท็อป ผ่านทางอินเทอร์เน็ต ทำให้ลูกค้าที่อยู่ต่างประเทศ สามารถเข้ามาดูตัวอย่างสินค้า และติดต่อซื้อขายกันได้ โดยผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์
เทคโนโลยีสารสนเทศที่รุดหน้า ทั้งระบบโทรคมนาคม ระบบคอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เน็ต ทำให้การสื่อสารกันเป็นไปได้โดยง่าย และสามารถเข้าถึงผู้ใช้บริการได้หลายระดับ อีกทั้งยังสามารถโต้ตอบกันได้ทันที ทำให้สามารถเสนอธุรกรรมที่หลากหลาย เช่น การชื้อขาย การบริการหลังการขาย การโอนเงินชำระค่าบริการสินค้า การขนส่ง เป็นต้น โดยมีกฎหมายธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และกฎหมายลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ เข้ามาคุ้มครองเรื่องความปลอดภัย

Unknown กล่าวว่า...

1. แนวคิดเกี่ยวกับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
กรอบแนวคิดของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ประกอบด้วย
1.แอพพลิเคชั่นของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
2.ปัจจัยทางการบริหาร
3.โครงสร้างพื้นฐาน
4.ประเภทสินค้าของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
1.1พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) หมายถึง การดาเนินธุรกิจทุกรูปแบบที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายสินค้าและบริการผ่านคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารโทรคมนาคมหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์
1.2 ความสำคัญของธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ขณะนี้เป็นช่วงแห่งการส่งเสริม และสนับสนุนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย อีกวิธีหนึ่งที่เป็นการกระตุ้นความแพร่หลายของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ใน ประเทศแบบอ้อม คือ การพัฒนาระบบของภาครัฐให้ทันสมัยมากขึ้น คือนำเอาสื่ออิเล็กทรอนิกส์เข้ามาใช้มากขึ้น ดังจะเห็นได้จากโครงการ รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government) ที่รัฐบาลพยายามผลักดันให้สำเร็จโดยเร็วที่สุด
1.3 ประเภทของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ( E-Commerce )
1. ธุรกิจกับธุรกิจ ( Business to Business : B to B )
2. ธุรกิจกับผู้บริโภค ( Business to Consumer : B to C
3. ธุรกิจกับรัฐบาล ( Business to Government : B to G )
4. ผู้บริโภคกับผู้บริโภค ( Consumer to Consumer : C to C )
5. รัฐบาลกับผู้บริโภค ( Government to Consumer : G to C )
1.4 ลักษณะของสินค้าและบริการในธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
2. ปัจจัยที่ส่งผลต่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
2.1 ปัจจัยที่ทำให้การค้า e-Commerce ประสบผลสำเร็จ
การดำเนินธุรกิจให้ประสบความสำเร็จนั้น จะต้องมีปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้ (ศูนย์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์, 2544)
1. กล้าตัดสินใจ
2. หน้าที่หลักของท่า
3. โปรแกรมด้าน e-commerce
4. ใช้งบประมาณลงทุนน้อย
5. เร่งงานให้เสร็จตามกำหนด
2.2 ปัจจัยที่ทำให้การค้า e-Commerce ไม่ประสบผลสำเร็จ
ในการประกอบธุรกิจแบบ e-commerce นั้นมีทั้งประสบผลสำเร็จ และล้มเหลว ในที่นี้จะกล่าวถึงเว็บที่ไม่ประสบผลสำเร็จ ซึ่งมีสาเหตุมาจาก (ศูนย์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์, 2544)
1. การลอกเลียนแบบ
2. การอยู่กับความฝัน
3. ทำเว็บไซต์ที่วิจิตรสวยงาม
4. ทำเว็บไซต์แบบไร้
5. ไม่มีระบบสนับสนุนพื้นฐานที่เพียงพอ
6. ทำงานได้ทีละอย่าง
7. คิดเล็กเกินไป
2.3 ระบบรักษาความปลอดภัยในการชำระเงิน
ระบบรักษาความปลอดภัยที่ใช้กันในปัจจุบันมี 2 ระบบ คือ
1. SSL (Secure Socket Layer)
2.SET (Secure Electronic Transaction)
3.ปัญหาและอุปสรรคในการทำธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
1.ความไม่ปลอดภัยของข้อมูลขาดการตรวจสอบการใช้บัตรเครดิตบน Internet ข้อมูลบนบัตรเครดิตอาจถูกดักฟังหรืออ่านเพื่อเอาชื่อและหมายเลขบัตรเครดิตไปใช้โดยที่เจ้าของบัตรเครดิตไม่รู้ได้การส่งข้อมูลจึงต้องมรการพัฒนาวิธีการเข้ารหัสที่ซับซ้อนหลายขั้นตอนเพื่อให้ข้อมูลของลูกค้าได้รับความปลอดภัยสูงสุด
2.ประเทศไทยยังไม่มีธนาคารพาณิชย์ที่จะทำหน้าที่รับประกันความเสี่ยงสำหรับการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ 3.ปัญหาความยากจนความด้อยโอกาสและขาดความรู้ทางเทคโนโลยีรวมทั้งขาดเครือข่ายการสื่อสาร เช่น ระบบเคเบิล ระบบโทรศัพท์ที่มีประสิทธิภาพ ทำให้ไม่สามารถให้บริการได้อย่างทั่วถึง จึงทำให้ชนบทที่ห่างไกลไม่สามารถเข้าถึงและใช้บริการ Internet ได้
4.แนวทางในการทำธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
1. แบบซื้อมา-ขายไป (e-business store font)
2. แบบสื่อกลางด้านข่าวสาร (infomediary)
3. แบบสื่อกลางด้านความไว้ใจ (trust intermediary)
4. แบบขายเครื่องมือในการทำธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-business enabler)
5. การให้บริการสาธารณูปโภคพื้นฐาน (infrastructure providers)
5. ตัวอย่างพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ตัวอย่าง เช่น นายสมชายเปิดร้านขายสินค้าโอท็อป ผ่านทางอินเทอร์เน็ต ทำให้ลูกค้าที่อยู่ต่างประเทศ สามารถเข้ามาดูตัวอย่างสินค้า และติดต่อซื้อขายกันได้ โดยผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์
เทคโนโลยีสารสนเทศที่รุดหน้า ทั้งระบบโทรคมนาคม ระบบคอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เน็ต ทำให้การสื่อสารกันเป็นไปได้โดยง่าย และสามารถเข้าถึงผู้ใช้บริการได้หลายระดับ อีกทั้งยังสามารถโต้ตอบกันได้ทันที ทำให้สามารถเสนอธุรกรรมที่หลากหลาย เช่น การชื้อขาย การบริการหลังการขาย การโอนเงินชำระค่าบริการสินค้า การขนส่ง เป็นต้น โดยมีกฎหมายธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และกฎหมายลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ เข้ามาคุ้มครองเรื่องความปลอดภัย

รหัส 54128040243 รปศ.ม.2

«เก่าที่สุด ‹เก่ากว่า   401 – 402 จาก 402   ใหม่กว่า› ใหม่ที่สุด»

การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึม

หลักการเขียนโปรแกรม องค์ประกอบของประโยคคำสั่ง ชนิดของข้อมูล โครงสร้างข้อมูลแบบอาร์เรย์ โครงสร้างคำสั่งแบบลำดับ โครงสร้างคำสั่งแบบวนซ้ำ การ...