วันพฤหัสบดีที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2554

จริยธรรมในการใช้ ICT ของนักศึกษา

จริยธรรมมีอะไรบ้าง
นักศึกษามีจรยธรรมการใช้ ICT อย่างไรบ้าง

87 ความคิดเห็น:

Thongin Waidee กล่าวว่า...

ซื่อสัตย์ต่อตัวเอง เคารพสิทธิผู้อื่น ไม่ละเมิดกฏหมายด้าน ICT

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...
ความคิดเห็นนี้ถูกลบโดยผู้ดูแลระบบของบล็อก
นางสาวพรพิมล บุญปก กล่าวว่า...

ชื่อ นางสาวพรพิมล บุญปก รหัสนักศึกษา 54122010108
กล่าวว่า เราต้องมีความคิดและการกระทำที่ไม่ก่อความเดือดร้อนต่อตนเองและผู้อื่นในด้านการใช้ICT

นางสาวพรพิมล บุญปก กล่าวว่า...

รหัสนักศึกษา 54122010108
เราควรมีความคิดและการกระทำที่ไม่ก่อความเดือดร้อนแก่บุคคลอื่นในการใช้ICT

นางสาวเสาวลักษณ์ มาตา กล่าวว่า...

ชื่อ นางสาวเสาวลักษณ์ มาตา
รหัสนักศึกษา 54122010117 กล่าวว่า กระทำในสิ่งที่ดี สามารถแยกแยะสิ่งไหนถูก สิ่งไหนผิดได้

piyapon กล่าวว่า...

ICT เป็นสื่อกลางในการเรียนรู้ในเรื่องต่างๆผู้ใดใช้สื่อสิ่งนี้ในทางทีดีบุคคลเหล่านี้ย่อมเป็นบุคคลที่ประเสริฐในสังคมไทย

ขนิษฐา ประทุมแก้ว กล่าวว่า...

สำหรับจริยธรรมในการใช้ ICT ของนักศึกษา ฉันคิดว่าปัจจุบันนักศึกษาได้มีการนำ ICT มาใช้มากมายหลายด้านแต่นักศึกษากลับใช้ไปในทางที่ไม่ถูกต้องขาดคุณธรรมจริยธรรมในการใช้ทำให้ส่งผลกระทบต่อตัวนักศึกษาเองเป็นอย่างมากเนื่องจาก ICT เป็นดาบสองคมดังน้้นหากนักศึกษามีจริยธรรมในการใช้ย่อมได้ประโยชน์มากกว่าโทษ

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นางสาวจริยา มุมทอง สาขาภาษาไทย ระดับ ค.บ.5/2 หมู่ 1 รหัสนักศึกษา 53191010113
จริยธรรมในการใช้ ICT
ต้องให้ความร่วมมือจากทุกๆฝ่าย ไม่ว่าจะจากทางภาครัฐ ภาคเอกชน ตัวบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีสื่อสารและ ผู้ปกครองจะต้องดูแลบุตรหลานตัวเองในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่อยู่ในยุคไร้พรมแดนนี้ การสร้างจิตสำนึกต่อตนเองให้กับเด็กเยาวชนตั้งแต่ยังเล็กๆ และให้เด็กรู้ถึงโทษ ถึงปัญหา ให้เด็กรู้จักเลือกใช้โปรแกรมในทางที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ก็น่าจะเป็นทางป้องกันที่ดีต่อปัญหาเหล่านี้ได้ ทั้งนี้เพราะโปรแกรมประเภทนี้ ไม่ว่าจะเป็น Camfrog , MSN , ICQ , Yahoo ล้วนแต่เป็นโปรแกรมการสื่อสาร ที่มีทั้งคุณและโทษในการใช้ ข้อดีของโปรแกรมเหล่านี้ก็คือจะช่วยสร้างให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารมากขึ้น สามารถสื่อสารได้ทั้งทางสายตา เสียงพูด และมองเห็นหน้ากันได้ ส่วนข้อเสียส่วนใหญ่แล้วมักจะเกิดจากการใช้งานไปในทางที่ไม่ถูกไม่ควร ซึ่งตรงนี้ก็อยู่ที่ตัวของบุคคลแต่ละบุคคลในการที่จะเลือกทำเลือกใช้และเลือกที่จะนำสิ่งนั้นมาก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองค่ะ

fahrty กล่าวว่า...
ความคิดเห็นนี้ถูกลบโดยผู้ดูแลระบบของบล็อก
นางสาวเปรมฤทัย พาพล กล่าวว่า...

รู้จักการใช้ ICTอย่างถูกต้อง ไม่ละเมิดสิทธิ์ของผู้อื่นไม่เข้าถึงข้อมูลโดยไม่ได้รับอนุญาต
ไม่ใช้ICTทำร้ายผู้อื่น

นางสาวเปรมฤทัย พาพล สาขาการแพทย์แผนไทย
รหัสนักศึกษา 54122010104

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นางสาวปวีณา แก้วยงกฏ
รหัสนักศึกษา 54122010105
สาขา การแพทย์แผนไทย
คุณธรรม-จริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์
จริยธรรม หมายถึง "หลักศีลธรรมจรรยาที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ หรือควบคุมการใช้ระบบคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ" ในทางปฏิบัติแล้ว การระบุว่าการกระทำสิ่งใดผิดจริยธรรมนั้น อาจกล่าวได้ไม่ชัดเจนมากนัก ทั้งนี้ ย่อมขึ้นอยู่กับวัฒนธรรมของสังคมในแต่ละประเทศด้วย อย่างเช่น กรณีที่เจ้าของบริษัทใช้กล้องในการตรวจจับหรือเฝ้าดูการทำงานของพนักงาน เป็นต้น ตัวอย่างของการกระทำที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าเป็นการกระทำที่ผิดจริยธรรม เช่นการใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่นให้เกิดความเสียหายหรือก่อความรำราญ เช่น การนำภาพหรือข้อมูลส่วนตัวของบุคคลไปลงบนอินเตอร์เน็ตโดยไม่ได้รับอนุญาตการใช้คอมพิวเตอร์ในการขโมยข้อมูลการเข้าถึงข้อมูลหรือคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาตการละเมิดลิขสิทธิ์ โดยทั่วไป เมื่อพิจารณาถึงจริยธรรมเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศแล้ว จะกล่าวถึงใน 4 ประเด็น ที่รู้จักกันในลักษณะตัวย่อว่า PAPA ประกอบด้วย
1. ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy)
2. ความถูกต้อง (Information Accuracy)
3 ความเป็นเจ้าของ (Information Property)
4. การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility) ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy)
ความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและสารสนเทศ โดยทั่วไปหมายถึง สิทธิที่จะอยู่ตามลำพัง และเป็นสิทธิที่เจ้าของสามารถที่จะควบคุมข้อมูลของตนเองในการเปิดเผยให้กับผู้อื่น สิทธินี้ใช้ได้ครอบคลุมทั้งปัจเจกบุคคล กลุ่มบุคคล และองค์การต่างๆปัจจุบันมีประเด็นเกี่ยวกับความเป็นส่วนตัวที่เป็นข้อหน้าสังเกตดังนี้
1.การเข้าไปดูข้อความในจดหมายอิเล็กทรอนิกส์และการบันทึกข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการบันทึก-แลกเปลี่ยนข้อมูลที่บุคคลเข้าไปใช้บริการเว็บไซต์และกลุ่มข่าวสาร
2.การใช้เทคโนโลยีในการติดตามความเคลื่อนไหวหรือพฤติกรรมของบุคคล เช่น บริษัทใช้คอมพิวเตอร์ในการตรวจจับหรือเฝ้าดูการปฏิบัติงาน/การใช้บริการของพนักงาน ถึงแม้ว่าจะเป็นการติดตามการทำงานเพื่อการพัฒนาคุณภาพการใช้บริการ แต่กิจกรรมหลายอย่างของพนักงานก็ถูกเฝ้าดูด้วย พนักงานสูญเสียความเป็นส่วนตัว ซึ่งการกระทำเช่นนี้ถือเป็นการผิดจริยธรรม
3.การใช้ข้อมูลของลูกค้าจากแหล่งต่างๆ เพื่อผลประโยชน์ในการขยายตลาด
4.การรวบรวมหมายเลขโทรศัพท์ ที่อยู่อีเมล์ หมายเลขบัตรเครดิต และข้อมูลส่วนตัวอื่นๆ เพื่อนำไปสร้างฐานข้อมูลประวัติลูกค้าขึ้นมาใหม่ แล้วนำไปขายให้กับบริษัทอื่น ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันการละเมิดสิทธิความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและสารสนเทศ จึงควรจะต้องระวังการให้ข้อมูล โดยเฉพาะการใช้อินเตอร์เน็ตที่มีการใช้โปรโมชั่น หรือระบุให้มีการลงทะเบียนก่อนเข้าใช้บริการ เช่น ข้อมูลบัตรเครดิต และที่อยู่อีเมล์ความถูกต้อง (Information Accuracy)

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

แสดงความคิดเห็น

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ไม่เผยแพร่ไวรัส
53122870129 อดิศักดิ์ สมัครดี

นางสาวขนิษฐา ปัญญา กล่าวว่า...

สำหรับจริยธรรมในการใช้ ICT ของนักศึกษานั้นในปัจจุบันส่วนใหญ่นักศึกษาจะขาดคุณธรรมจริยธรรมในการใช้ทำให้เกิดผลเสียตัวตนเองเป็นอย่างมาก เนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจบนพื้นฐานของคุณธรรม ถ้าหากนักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแล้วย่อมเกิดประโยชน์ต่อตนเองมากกว่าผลเสีย

นางสาวเบญจพร เพ่งพิศ กล่าวว่า...

นางสาวเบญจพร เพ่งพิศ สาขาภาษาไทย หมู่เรียนที่1รหัสนักศึกษา 53191010136 จริยธรรมในการใช้ ICT ของนักศึกษา เป็นสิ่งที่จำเป็นมาก เพราะนักศึกษาเป็นผู้ที่ต้องการเรียนรู้ จำเป็นจะต้องใช้ ICT ในชีวิตประจำวัน ดังนั้นจะต้องมีจริยธรรมในการใช้ ICT ใช้ไปในทางที่ถูกต้อง รู้จักเคารพสิทธิของผู้อื่น ไม่ก่อความเดือดร้อนให้กับผู้อื่น

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ชื่อ นางสาววริศนันท์ ปานทอง รหัสนักศึกษา 54122010124 ในการเข้าไปอ่านบทความของผู้อื่นหรือแสดงความคิดเห็นในผลงานของผู้อื่นนั้นเราควรใช้ภาษาที่สร้างสรรค์ไม่ส่งผลกระทบต่อชื่อเสียงของผู้อื่นเพียงเท่านี้ก็ถือว่ามีจริยธรรมในการใช้ICTแล้ว

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ชื่อ นางสาววริศนันท์ ปานทอง รหัสนักศึกษา 54122010124 ในการเข้าไปอ่านบทความของผู้อื่นหรือแสดงความคิดเห็นในผลงานของผู้อื่นนั้นเราควรใช้ภาษาที่สร้างสรรค์ไม่ส่งผลกระทบต่อชื่อเสียงของผู้อื่นเพียงเท่านี้ก็ถือว่ามีจริยธรรมในการใช้ICTแล้ว

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ชื่อ นางสาววริศนันท์ ปานทอง รหัสนักศึกษา 54122010124 ในการเข้าไปอ่านบทความของผู้อื่นหรือแสดงความคิดเห็นในผลงานของผู้อื่นนั้นเราควรใช้ภาษาที่สร้างสรรค์ไม่ส่งผลกระทบต่อชื่อเสียงของผู้อื่นเพียงเท่านี้ก็ถือว่ามีจริยธรรมในการใช้ICTแล้ว

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นางสาวปวีณา แก้วยงกฎ สาขา การแพทย์แผนไทย พท.บ 4/1 รหัสนักศึกษา 54122010105
จริยธรรม หมายถึง "หลักศีลธรรมจรรยาที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ หรือควบคุมการใช้ระบบคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ" ในการการใช้งานคอมพิวเตอร์ร่วมกันในสังคม มีการกำหนดระเบียบ กฎเกณฑ์ รวมถึงกฎหมายที่ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติเพื่อให้เกิดจริยธรรม
ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การกระทำที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าเป็นการกระทำที่ผิดจริยธรรม เช่น
1. การใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่นให้เกิดความเสียหาย หรือก่อให้เกิดความรำราญ
2. การใช้คอมพิวเตอร์ในการขโมยข้อมูล
3. การเข้าถึงข้อมูลหรือคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต
4. การละเมิดลิขสิทธิ์
5.รู้จักการใช้ ICTอย่างถูกต้อง ไม่ละเมิดสิทธิ์ของผู้อื่นไม่เข้าถึงข้อมูลโดยไม่ได้รับอนุญาต
6.ไม่ใช้ICTทำร้ายผู้อื่น

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ชื่อ นางสาววริศนันท์ ปานทอง รหัสนักศึกษา54122010124 ไม่ละเมิดความเป็นส่วนตัวของบุคคลอื่น

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ชื่อ นางสาววริศนันท์ ปานทอง รหัสนักศึกษา54122010124 ไม่ละเมิดความเป็นส่วนตัวของบุคคลอื่น

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นางสาวโศรดา ตรงสูญดี คณะวิยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาแพทย์แผนไทย รหัส 54122010114 จริยธรรม หมายถึง "หลักศีลธรรมจรรยาที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ หรือควบคุมการใช้ระบบคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ"ในทางปฏิบัติแล้ว การระบุว่าการกระทำสิ่งใดผิดจริยธรรมนั้น อาจกล่าวได้ไม่ชัดเจนมากนัก ทั้งนี้ ย่อมขึ้นอยู่กับวัฒนธรรมของสังคมในแต่ละประเทศด้วย อย่างเช่น กรณีที่เจ้าของบริษัทใช้กล้องในการตรวจจับหรือเฝ้าดูการทำงานของพนักงาน เป็นต้น ตัวอย่างของการกระทำที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าเป็นการกระทำที่ผิดจริยธรรม เช่น การใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่นให้เกิดความเสียหายหรือก่อความรำราญ เช่น การนำภาพหรือข้อมูลส่วนตัวของบุคคลไปลงบนอินเตอร์เน็ตโดยไม่ได้รับอนุญาต การใช้คอมพิวเตอร์ในการขโมยข้อมูล การเข้าถึงข้อมูลหรือคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต
การละเมิดลิขสิทธิ์

Thongin Waidee กล่าวว่า...

จริยธรรม คือ

Unknown กล่าวว่า...

จริยธรรม คือ เราต้องมีความเป็นธรรม รู้จักการให้แก่ผู้อื่นด้วยความเป็นธรรม โดยไม่ลำเอียงฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง นางสาวขนิษฐา โงนเงิน ภาษาไทย หมู่เรียนที่ 1 ค.บ.5/2

Unknown กล่าวว่า...

นางสาวขนิษฐา โงนเงิน ค.บ.5/2 ภาษาไทย การที่เราไม่เข้าข้างฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ให้ความคิดเห็นโดยความเป็นธรรม

นางสาวมณีรัตน์ สุขดี กล่าวว่า...

นักศึกษาจะต้องรักษากฏระเบียบในการใช้ ICT อย่างเคร่งครัด และไม่ฝ่าฝืนกฏระเบียบในการใช้เนื่องจากจะส่งผลเสียต่อตัวของนักศึกษาเอง เพื่อประโยชน์ของส่วนรวมควรใช้อย่างระมัดระวัง

นางสาวดวงสุรีย์ ธรรมอุด กล่าวว่า...

สำหรับจริยธรรมในการใช้ ICT ของนักศึกษาในปัจจุบันค่อนข้างไปในทางที่ไม่สร้างสรรค์นัก เนื่องจากนักศึกขาดความรู้ความเข้าใจ ขาดในเรื่องจริธรรมในการใช้ดังนั้นถ้านักศึกษามีความรู้ความเข้าใจย่อมได้ประโยชน์มากว่าผลเสีย

นางสาวจินดาภรณ์ ทองคำ กล่าวว่า...

จริยธรรม หมายถึง "หลักศีลธรรมจรรยาที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ หรือควบคุมการใช้ระบบคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ"

ในทางปฏิบัติแล้ว การระบุว่าการกระทำสิ่งใดผิดจริยธรรมนั้น อาจกล่าวได้ไม่ชัดเจนมากนัก ทั้งนี้ ย่อมขึ้นอยู่กับวัฒนธรรมของสังคมในแต่ละประเทศด้วย อย่างเช่น กรณีที่เจ้าของบริษัทใช้กล้องในการตรวจจับหรือเฝ้าดูการทำงานของพนักงาน เป็นต้น

ตัวอย่างของการกระทำที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าเป็นการกระทำที่ผิดจริยธรรม เช่น

การใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่นให้เกิดความเสียหายหรือก่อความรำราญ เช่น การนำภาพหรือข้อมูลส่วนตัวของบุคคลไปลงบนอินเตอร์เน็ตโดยไม่ได้รับอนุญาต การใช้คอมพิวเตอร์ในการขโมยข้อมูล การเข้าถึงข้อมูลหรือคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต
การละเมิดลิขสิทธิ์

โดยทั่วไป เมื่อพิจารณาถึงจริยธรรมเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศแล้ว จะกล่าวถึงใน 4 ประเด็น ที่รู้จักกันในลักษณะตัวย่อว่า PAPA ประกอบด้วย

1. ความเป็นส่วนตัว(InformationPrivacy)
2. ความถูกต้อง (InformationAccuracy)
3. ความเป็นเจ้าของ(InformationProperty)
4. การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility)
นางสาวจินดาภรณ์ ทองคำ หมู่ที่ 1 ค.บ.5/2 ภาษาไทย รหัส 53191010115 เลขที่ 15

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นางสาวจินดาภรณ์ ทองคำ หมู่ 1 ค.บ.5/2 ภาษาไทย รหัส 53191010115 เลขที่ 15

จริยธรรม หมายถึง "หลักศีลธรรมจรรยาที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ หรือควบคุมการใช้ระบบคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ"

ในทางปฏิบัติแล้ว การระบุว่าการกระทำสิ่งใดผิดจริยธรรมนั้น อาจกล่าวได้ไม่ชัดเจนมากนัก ทั้งนี้ ย่อมขึ้นอยู่กับวัฒนธรรมของสังคมในแต่ละประเทศด้วย อย่างเช่น กรณีที่เจ้าของบริษัทใช้กล้องในการตรวจจับหรือเฝ้าดูการทำงานของพนักงาน เป็นต้น

ตัวอย่างของการกระทำที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าเป็นการกระทำที่ผิดจริยธรรม เช่น

การใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่นให้เกิดความเสียหายหรือก่อความรำราญ เช่น การนำภาพหรือข้อมูลส่วนตัวของบุคคลไปลงบนอินเตอร์เน็ตโดยไม่ได้รับอนุญาต การใช้คอมพิวเตอร์ในการขโมยข้อมูล การเข้าถึงข้อมูลหรือคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต
การละเมิดลิขสิทธิ์

โดยทั่วไป เมื่อพิจารณาถึงจริยธรรมเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศแล้ว จะกล่าวถึงใน 4 ประเด็น ที่รู้จักกันในลักษณะตัวย่อว่า PAPA ประกอบด้วย

1. ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy)
2. ความถูกต้อง (Information Accuracy)
3. ความเป็นเจ้าของ (Information Property)
4. การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility)

นางสาวพนิดา ประภาสัย กล่าวว่า...

เราควรการกระทำที่ถูกต้องที่สุดในการใช้ และพยายามไม่ทำให้เกิดความเดือดร้อนและวุ่นวายที่สุด และการใช้นั้นเราต้องใช้จริยธรรมที่มีการเชื่อมโยงในเรื่องของการคิดในจิตวิญญาณที่ดีที่สุด

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตมีเป็นจำนวนมากและเพิ่มขึ้นทุกวัน การใช้งานระบบเครือข่ายที่ออนไลน์และส่งข่าวสารถึงกันย่อมมีผู้ที่มีความประพฤติไม่ดีปะปนและสร้างปัญหาให้กับผู้ใช้อื่นอยู่เสมอ หลายเครือข่ายจึงได้ออกกฏเกณฑ์การใช้งานภายในเครือข่าย เพื่อให้สมาชิกในเครือข่ายของตนยึดถือ ปฏิบัติตามกฏเกณฑ์และได้รับประโยชน์สูงสุด ดังนั้น ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทุกคนที่เป็นสมาชิกเครือข่ายจะต้องเข้าใจกฏเกณฑ์ข้อบังคับของ เครือข่ายนั้นมีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้ร่วมใช้บริการคนอื่นและจะต้องรับผิดชอบต่อการกระทำของตนเองที่เข้าไปขอใช้บริการต่างๆ บนเครือข่ายบนระบบคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเรียกเข้ามิได้เป็นเพียงเครือข่ายขององค์กรที่ผู้ใช้สังกัด แต่เป็นการเชื่อมโยงของเครือข่ายต่างๆ เข้าหากันหลายพันหลายหมื่นเครือข่ายมีข้อมูลข่าวสารอยู่ระหว่างเครือข่ายเป็นจำนวนมาก การส่งข่าวสารในเครือข่ายนั้นอาจทำให้ข่าวสารกระจายเดินทางไปยังเครือข่ายอื่น ๆ อีกเป็นจำนวนมากหรือแม้แต่การส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ฉบับหนึ่งก็อาจจะต้องเดินทางผ่านเครือข่ายอีกหลายเครือข่ายกว่าจะถึงปลายทาง ดังนั้นผู้ใช้บริการต้องให้ความสำคัญและตระหนักถึงปัญหาปริมาณข้อมูลข่าวสารที่วิ่งอยู่บนเครือข่ายการใช้งานอย่างสร้างสรรค์และเกิดประโยชน์จะทำให้สังคมอินเทอร์เน็ตน่าใช้และเป็นประโยชน์ร่วมกันอย่างดี กิจกรรมบางอย่างที่ไม่ควรปฏิบัติจะต้องหลีกเลี่ยงเช่นการส่งกระจายข่าวไปเป็นจำนวนมากบนเครือข่าย การส่งเอกสารจดหมายลูกโซ่ ฯลฯ สิ่งเหล่านี้จะเป็นผลเสียโดยรวมต่อผู้ใช้และไม่เกิดประโยชน์ใด ๆ ต่อสังคมอินเทอร์เน็ต
เพื่อให้การอยู่ร่วมกันในสังคมอินเทอร์เน็ตสงบสุข Arlene H.Rinaldi แห่งมหาวิทยาลัย ฟอร์ริดาแอตแลนติก จึงรวบรวมกฎกติกามารยาทและวางเป็นจรรยาบรรณอินเทอร์เน็ตหรือที่เรียกว่า Netiquette ไว้ดังนี้

จรรยาบรรณที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตยึดถือไว้เป็นบทการปฏิบัติเพื่อเตือนความจำ
1. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายหรือละเมิดผู้อื่น
2. ต้องไม่รบกวนการทำงานของผู้อื่น
3. ต้องไม่สอดแนมหรือแก้ไขเปิดดูในแฟ้มของผู้อื่น
4. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร
5. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ
6. ต้องไม่คัดลอกโปรแกรมผู้อื่นที่มีลิขสิทธิ์
7. ต้องไม่ละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีสิทธิ์
8. ต้องไม่นำเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. ต้องคำนึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคมอันติดตามมาจากการกระทำ
10.ต้องใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบียบ กติกามารยาท
นางสาววิลาวัลย์ สำราญสุข สาขาการแพทย์แผนไทย รหัส 54122010113

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

จริยธรรมในการใช้ ICT คือ การใช้คำที่เหมาะสม ไม่ใช้คำหยาบ ส่อเสียดไปในทางไม่ดี ไม่ละเมิดสิทธิ์ของผู้อื่น ไม่ทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน และที่สำคัญไม่พาดพิงถึงใครๆทั้งสิ้น
น.ส.ธินากุล บุญเอิบ เลขที่ 36 หมู่1 เอก ดนตรี
ระดับ คบ.5/1 ค่ะ

จิรกิตติ์ ทองดี กล่าวว่า...

นายจิรกิตติ์ ทองดี รหัส54191470116 สาขาดนตรี ห้อง1
เราควรเคารพสิทธิมนุษยชนของผู้อื่นเเละตนเอง เพื่อมินำความเดือดร้อนมาสู่ตนเองและผู้อื่นได้ครับ

จิรกิตติ์ ทองดี กล่าวว่า...

เราไม่ควรไปทำร้ายผู้อื่น

จิรกิตติ์ ทองดี กล่าวว่า...

เราควรเคารพในจริยธรรม ในการใช้ICT

จิรกิตติ์ ทองดี กล่าวว่า...

เราควรมีจริยธรรมในการใช้ICT

จิรกิตติ์ ทองดี กล่าวว่า...

พรบ.ใหม่ล่าสุดในการใช้คอมพิวเตอร์
1 พฤติกรรม: ใช้ user name/password ของผู้อื่น Log in เข้าสู่ระบบ
ฐานความผิด: มาตรา 5 ปรับไม่เกิน 10,000.- จำคุกไม่เกิน 6 เดือน
ข้อแนะนำ: ไม่ใช้ user/password ของผู้อื่น และห้ามไม่ให้ผู้อื่นล่วงรู้ password ของตน
2 พฤติกรรม: Forward email ที่มีข้อความ เนื้อหา หรือรูปภาพที่ไม่เหมาะสม เป็นเท็จ กระทบความมั่นคง หรือลามกก่อนาจาร
ฐานความผิด: มาตรา 14 ปรับไม่เกิน 100,000.- จำคุกไม่เกิน 5 ปี
ข้อแนะนำ: ไม่ forward email ที่ไม่เหมาะสม
3 พฤติกรรม: โพสข้อความตามกระทู้ต่างๆ ที่มีเนื้อหาไม่เหมาะสม เป็นเท็จ กระทบความมั่นคง หรือลามกอนาจาร
ฐานความผิด: มาตรา 14 ปรับไม่เกิน 100,000.- จำคุกไม่เกิน 5 ปี
ข้อแนะนำ: ใช้วิจารณญาณในการแสดงความคิดเห็น และคำนึงถึงผลที่จะตามมา
4 พฤติกรรม: เผยแพร่ภาพตัดต่อให้ผู้อื่นได้รับความเสื่อมเสีย หรืออับอาย
ฐานความผิด: มาตรา 16 ปรับไม่เกิน 60,000.- จำคุกไม่เกิน 3 ปี

นายปรัชญา บุญสุข กล่าวว่า...

ใช้เพื่อการเรียนรู้และเพื่อประโยชน์ต่างๆ และไม่เดือดร้อนผู้อื่น รู้ผิดถูกในการใช้ ICT

นายปรัชญา บุญสุข รหัสนักศึกษา 54191470140

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ใช้ให้ถูกวิิธี

YBNicha กล่าวว่า...

ชื่อ นางสาวขนิษฐา ทองอุดม รหัสนักศึกษา 54191470110
สำหรับฉันจริยธรรมในการใช้ ICT ของนักศึกษา คือการที่เรามีจิตใต้สำนึก ไม่เข้าถึงข้อมูลหรือคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ชื่อ นายณัฐพงษ์ อิฐรัตน์ รหัสนักศึกษา 54191470125
สำหรับผมจริยธรรมในการใช้ ICT ของนักศึกษา คือการไม่ละเมิดสิทธิส่วนบุคคลของผู้อื่น ไม่สร้างความเดือดร้อนให้ผู้อื่น

ณัฐวุฒิ ศศิสุทธินานนนท์ กล่าวว่า...

จริยธรรมคือ


เรื่องจริยธรรมนั้นมีนักปราชญ์ให้ความหมายเอาไว้มาก แนวคิดของแต่ละท่านมีทั้งเหมือนกัน คล้ายคลึงกันและแตกต่างกัน ถือว่าเป็นเรื่องนานาทัศนะ เพราะจริยธรรมเป็นการตีกรอบความประพฤติให้คนในสังคมได้แนวทางปฏิบัติอย่างถูกต้องเหมาะสมกับกาลเทศะและอาจกล่าวได้ว่า


จริยธรรมคือเครื่องประดับของบุคคลในสังคมนั้น ๆ เพราะเป็นการบ่งบอกถึงลักษณะและคุณค่าของความเป็นมนุษย์ที่โดดเด่นให้เห็นได้ชัดเจน

ณัวุฒิ ศศิสุทธินานนท์ กล่าวว่า...

ณัฐวุฒิ ศศิสุทธินานนนท์ เอกดนตรี ค บ ๕/๕ 49191470105

จริยธรรมคือ

เรื่องจริยธรรมนั้นมีนักปราชญ์ให้ความหมายเอาไว้มาก แนวคิดของแต่ละท่านมีทั้งเหมือนกัน คล้ายคลึงกันและแตกต่างกัน ถือว่าเป็นเรื่องนานาทัศนะ เพราะจริยธรรมเป็นการตีกรอบความประพฤติให้คนในสังคมได้แนวทางปฏิบัติอย่างถูกต้องเหมาะสมกับกาลเทศะและอาจกล่าวได้ว่า

จริยธรรมคือเครื่องประดับของบุคคลในสังคมนั้น ๆ เพราะเป็นการบ่งบอกถึงลักษณะและคุณค่าของความเป็นมนุษย์ที่โดดเด่นให้เห็นได้ชัดเจน

ณัวุฒิ ศศิสุทธินานนท์ กล่าวว่า...

ณัฐวุฒิ ศศิสุทธินานนนท์ เอกดนตรี ค บ ๕/๕ 49191470105

จริยธรรมคือ

เรื่องจริยธรรมนั้นมีนักปราชญ์ให้ความหมายเอาไว้มาก แนวคิดของแต่ละท่านมีทั้งเหมือนกัน คล้ายคลึงกันและแตกต่างกัน ถือว่าเป็นเรื่องนานาทัศนะ เพราะจริยธรรมเป็นการตีกรอบความประพฤติให้คนในสังคมได้แนวทางปฏิบัติอย่างถูกต้องเหมาะสมกับกาลเทศะและอาจกล่าวได้ว่า

จริยธรรมคือเครื่องประดับของบุคคลในสังคมนั้น ๆ เพราะเป็นการบ่งบอกถึงลักษณะและคุณค่าของความเป็นมนุษย์ที่โดดเด่นให้เห็นได้ชัดเจน

นางสาวญาดา ฉายแก้ว เอกดนตรี รหัสนักศึกษา 54191470123 กล่าวว่า...

จริยธรรม หมายถึง "หลักศีลธรรมจรรยาที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ หรือควบคุมการใช้ระบบคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ"

ในทางปฏิบัติแล้ว การระบุว่าการกระทำสิ่งใดผิดจริยธรรมนั้น อาจกล่าวได้ไม่ชัดเจนมากนัก ทั้งนี้ ย่อมขึ้นอยู่กับวัฒนธรรมของสังคมในแต่ละประเทศด้วย อย่างเช่น กรณีที่เจ้าของบริษัทใช้กล้องในการตรวจจับหรือเฝ้าดูการทำงานของพนักงาน เป็นต้น

ตัวอย่างของการกระทำที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าเป็นการกระทำที่ผิดจริยธรรม เช่น

การใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่นให้เกิดความเสียหายหรือก่อความรำราญ เช่น การนำภาพหรือข้อมูลส่วนตัวของบุคคลไปลงบนอินเตอร์เน็ตโดยไม่ได้รับอนุญาต
การใช้คอมพิวเตอร์ในการขโมยข้อมูล
การเข้าถึงข้อมูลหรือคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต
การละเมิดลิขสิทธิ์
จุดมุ่งหมายที่จะประสบผลสำเร็จในการใช้ ICT คือ การให้การศึกษา การพัฒนาเยาวชนไทยให้ได้รับการฝึกอบรมความรู้และอบรมจิตใจ ปลูกฝังจิตสำนึกที่ดีในการทำตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวมและประเทศชาติต่อไป

ตองอ่อน พอกพูน สาขาวิชาดนตรี ห้อง 1 รหัส 54191470131 กล่าวว่า...

เมื่อเรารับรู้ความเป็นส่วนตัวของข้อมูลนั้นๆในการใช้สื่อทางICTเราต้องเคารพความเป็นสิทธิมนุษยชนด้วยเช่นการที่นำเอาการนำภาพหรือข้อมูลส่วนตัวของบุคคลไปลงบนอินเตอร์เน็ตโดยไม่ได้รับอนุญาตการใช้คอมพิวเตอร์ในการขโมยข้อมูลการเข้าถึงข้อมูลหรือคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาตการละเมิดลิขสิทธิ์ถ้าหากเราใช้ข้อมูลของบุคลคลอื่นเพื่อใช้ในการเป็นประโยชน์ก็ควรที่จะมีการอ้างอิงที่มาของข้อมูลนั้นถ้าหากเราทำผิดกฎของระบบICTก็มีโทษตามหลักของกฎหมายแล้วก็ทำให้ชีวิตต้องย่ำแย่เพราะความคิดชั่วขณะและทำให้เสียอนาคตไปเลย

อินู๋โอมซ่า กล่าวว่า...

การใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่นให้เกิดความเสียหายหรือก่อความรำราญ เช่น การนำภาพหรือข้อมูลส่วนตัวของบุคคลไปลงบนอินเตอร์เน็ตโดยไม่ได้รับอนุญาต การใช้คอมพิวเตอร์ในการขโมยข้อมูล การเข้าถึงข้อมูลหรือคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต
การละเมิดลิขสิทธิ์

นายณัฐวุฒิ พันธ์เนตร
เอกดนตรี คบ.5/1 รหัส 54191470128

อินู๋โอมซ่า กล่าวว่า...

การใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่นให้เกิดความเสียหายหรือก่อความรำราญ เช่น การนำภาพหรือข้อมูลส่วนตัวของบุคคลไปลงบนอินเตอร์เน็ตโดยไม่ได้รับอนุญาต การใช้คอมพิวเตอร์ในการขโมยข้อมูล การเข้าถึงข้อมูลหรือคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต
การละเมิดลิขสิทธิ์

นายณัฐวุฒิ พันธ์เนตร
เอกดนตรี คบ.5/1 รหัส 54191470128

อินู๋โอมซ่า กล่าวว่า...

การใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่นให้เกิดความเสียหายหรือก่อความรำราญ เช่น การนำภาพหรือข้อมูลส่วนตัวของบุคคลไปลงบนอินเตอร์เน็ตโดยไม่ได้รับอนุญาต การใช้คอมพิวเตอร์ในการขโมยข้อมูล การเข้าถึงข้อมูลหรือคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต
การละเมิดลิขสิทธิ์

นายณัฐวุฒิ พันธ์เนตร
เอกดนตรี คบ.5/1 รหัส 54191470128

อินู๋โอมซ่า กล่าวว่า...

การใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่นให้เกิดความเสียหายหรือก่อความรำราญ เช่น การนำภาพหรือข้อมูลส่วนตัวของบุคคลไปลงบนอินเตอร์เน็ตโดยไม่ได้รับอนุญาต การใช้คอมพิวเตอร์ในการขโมยข้อมูล การเข้าถึงข้อมูลหรือคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต
การละเมิดลิขสิทธิ์

นายณัฐวุฒิ พันธ์เนตร
เอกดนตรี คบ.5/1 รหัส 54191470128

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

1. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายหรือละเมิดผู้อื่น

2. ต้องไม่รบกวนการทำงานของผู้อื่น

3. ต้องไม่สอดแนมหรือแก้ไขเปิดดูในแฟ้มของผู้อื่น

4. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร

5. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ

6. ต้องไม่คัดลอกโปรแกรมผู้อื่นที่มีลิขสิทธิ์

7. ต้องไม่ละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีสิทธิ์

8. ต้องไม่นำเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน

9. ต้องคำนึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคมอันติดตามมาจากการกระทำ

10.ต้องใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบียบ กติกามารยาท

นายปรัชญา บุญสุข รหัส 54191470140 สาขาดนตรี

จิรพงศ์ มีพร กล่าวว่า...

นายจิรพงศ์ มีพร ค.บ.5/1 หัส54191470117

จริยธรรมการใช้ ICT
1.ไม่ละเมิดสิทธ์ของบุคคลอื่น
2.ไม่ใช้ในทางที่ผิด
3.ไม่ทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน
4.ใช้ในทางที่เหมาะสม
5.ใช้ในการหาความรู้
6.ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด

พรบ.ว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์

มาตรา ๕ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้น มิได้มีไว้สำหรับตน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา ๖ ผู้ใดล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะถ้านำมาตรการดังกล่าวไปเปิดเผยโดยมิชอบ ในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา ๗ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้สำหรับตน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา ๘ ผู้ใดกระทำด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นมิได้มีไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคลทั่วไปใช้ประโยชน์ได้ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา ๙ ผู้ใดทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา ๑๐ ผู้ใดกระทำด้วยประการใดโดยมิชอบ เพื่อให้การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทำงานตามปกติได้ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา ๑๑ ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่นโดยปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มาของการส่งข้อมูลดังกล่าว อันเป็นการรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยปกติสุข ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท



ที่มา http://www.cowboythai.com/forum/index.php?topic=1443.msg9206;topicseen

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

1.ควรใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในทางที่ถูกต้อง
2.ควรมีมารยาทในการใช้ไม่แอบดูข้อมูลของผู้อื่นที่ไม่อนุญาต
3.ไม่ใช้เทคโนโลยีในทางที่ผิด เช่น การขโมยข้อมูลของบุคคลอื่น หรือการทำให้ผู้อื่นเสื่อมเสียไม่ว่าจะทางชื่อเสียง ทางสังคม และอื่นๆ ซึ่งเป็นการไม่สมควรอย่างยิ่ง
4.ควรช่วยกันรักษาคุณธรรมในการใช้เทคโนโลยีเอาไว้
5.หากว่าเราไม่ได้เป็นผู้ที่กระทำแต่หากพบเห็นบุคคลอื่นก็ควรที่จะว่ากล่าวตักเตือนให้เขาทำในสิ่งที่ถูกต้อง
6.ใช้คอมพิวเตอร์ในเชิงสร้างสรรค์ไม่ก่อความเดือดร้อนให้แก่บุคคลอื่น
8.ควรใช้คอมพิวเตอร์ในเชิงสร้างสรรค์
9.ไม่ทำให้ตนเองและผู้อื่นเดือดร้อน
10.หากมีบุคคลใดส่งข้อมูลมาให้โดยเราไม่รู้จักก็ควรหลีกเลี่ยงโดยการไม่เปิดเพื่อป้องกันไวรัส

นายกล้าณรงค์ ขบวนฉลาด รหัส 54191470107 สาขา ดนตรี

จักรี กะการดี กล่าวว่า...

จักรี กะการดี
จริยธรรมคือ

เรื่องจริยธรรมนั้นมีนักปราชญ์ให้ความหมายเอาไว้มาก แนวคิดของแต่ละท่านมีทั้งเหมือนกัน คล้ายคลึงกันและแตกต่างกัน ถือว่าเป็นเรื่องนานาทัศนะ เพราะจริยธรรมเป็นการตีกรอบความประพฤติให้คนในสังคมได้แนวทางปฏิบัติอย่างถูกต้องเหมาะสมกับกาลเทศะและอาจกล่าวได้ว่า

จริยธรรมคือเครื่องประดับของบุคคลในสังคมนั้น ๆ เพราะเป็นการบ่งบอกถึงลักษณะและคุณค่าของความเป็นมนุษย์ที่โดดเด่นให้เห็นได้ชัดเจน

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ไม่นำข้อมูลของผู้อื่นมาเป็นของเราโดยไม่ชอบ
ไม่เอารูปหรือวีดีโอ ที่ทำให้ผู้อื่นเสื่อมเสียมาลงในเว็พบอร์ด


นายเต็มสิทธิ์ เจนรอบ
เอกดนตรี คบ. 5/1
54191470130

Tomhongman กล่าวว่า...

ICT เป็นสื่อกลางในการเรียนรู้ในเรื่องต่างๆผู้ใดใช้สื่อสิ่งนี้ในทางทีดีบุคคลเหล่านี้ย่อมเป็นบุคคลที่ประเสริฐในสังคมไทย

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ICT เป็นสื่อกลางในการเรียนรู้ในเรื่องต่างๆผู้ใดใช้สื่อสิ่งนี้ในทางทีดีบุคคลเหล่านี้ย่อมเป็นบุคคลที่ประเสริฐในสังคมไทย
นายกิตติพิชญ์ ชวนชุมกัน สาขา ดนตรี
คบ.5/1 หมู่ 1 เลขที่7
รหัส 54191470108

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ICT เป็นสื่อกลางในการเรียนรู้ในเรื่องต่างๆผู้ใดใช้สื่อสิ่งนี้ในทางทีดีบุคคลเหล่านี้ย่อมเป็นบุคคลที่ประเสริฐในสังคมไทย
นายกิตติศักดิ์ พรมทองคำ
คบ.5/1 หมู่ 1 เลขที่8
รหัส 54191470109

art กล่าวว่า...

ชื่อ ฐิติพงษ์ วงศ์แหล้ รหัสนักศึกษา 5419147024
เอกดนตรี หมู่1 สำหรับจริยธรรมในการใช้ ICT ของนักศึกษา ผมคิดว่าการที่จะใช้ ICT จะต้องมีกฎระเบียบในการใช้เพื่อจะได้ทำให้การใช้ ICT นั้นเป็นไปตามกฎระเบียบของผู้ให้บริการนในปัจจุบันส่วนใหญ่นักศึกษาจะขาดคุณธรรมจริยธรรมในการใช้ทำให้เกิดผลเสียตัวตนเองเป็นอย่างมาก เนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจบนพื้นฐานของคุณธรรม ถ้าหากนักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแล้วย่อมเกิดประโยชน์ต่อตนเองมากกว่าผลเสีย
ฉนั้นในการใช้ ICT นั้นเราจะต้องมีกฎระเบียบในการใช้และมีคุณธรรมและจิยธรรมในการใช้ ICT

art กล่าวว่า...

ชื่อ ฐิติพงษ์ วงศ์แหล้ รหัสนักศึกษา 5419147024
เอกดนตรี หมู่1 สำหรับจริยธรรมในการใช้ ICT ของนักศึกษา ผมคิดว่าการที่จะใช้ ICT จะต้องมีกฎระเบียบในการใช้เพื่อจะได้ทำให้การใช้ ICT นั้นเป็นไปตามกฎระเบียบของผู้ให้บริการนในปัจจุบันส่วนใหญ่นักศึกษาจะขาดคุณธรรมจริยธรรมในการใช้ทำให้เกิดผลเสียตัวตนเองเป็นอย่างมาก เนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจบนพื้นฐานของคุณธรรม ถ้าหากนักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแล้วย่อมเกิดประโยชน์ต่อตนเองมากกว่าผลเสีย
ฉนั้นในการใช้ ICT นั้นเราจะต้องมีกฎระเบียบในการใช้และมีคุณธรรมและจิยธรรมในการใช้ ICT

art กล่าวว่า...

ชื่อ ฐิติพงษ์ วงศ์แหล้ รหัสนักศึกษา 5419147024
เอกดนตรี หมู่1 สำหรับจริยธรรมในการใช้ ICT ของนักศึกษา ผมคิดว่าการที่จะใช้ ICT จะต้องมีกฎระเบียบในการใช้เพื่อจะได้ทำให้การใช้ ICT นั้นเป็นไปตามกฎระเบียบของผู้ให้บริการนในปัจจุบันส่วนใหญ่นักศึกษาจะขาดคุณธรรมจริยธรรมในการใช้ทำให้เกิดผลเสียตัวตนเองเป็นอย่างมาก เนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจบนพื้นฐานของคุณธรรม ถ้าหากนักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแล้วย่อมเกิดประโยชน์ต่อตนเองมากกว่าผลเสีย
ฉนั้นในการใช้ ICT นั้นเราจะต้องมีกฎระเบียบในการใช้และมีคุณธรรมและจิยธรรมในการใช้ ICT

art กล่าวว่า...

ชื่อ ฐิติพงษ์ วงศ์แหล้ รหัสนักศึกษา 5419147024
เอกดนตรี หมู่1 สำหรับจริยธรรมในการใช้ ICT ของนักศึกษา ผมคิดว่าการที่จะใช้ ICT จะต้องมีกฎระเบียบในการใช้เพื่อจะได้ทำให้การใช้ ICT นั้นเป็นไปตามกฎระเบียบของผู้ให้บริการนในปัจจุบันส่วนใหญ่นักศึกษาจะขาดคุณธรรมจริยธรรมในการใช้ทำให้เกิดผลเสียตัวตนเองเป็นอย่างมาก เนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจบนพื้นฐานของคุณธรรม ถ้าหากนักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแล้วย่อมเกิดประโยชน์ต่อตนเองมากกว่าผลเสีย
ฉนั้นในการใช้ ICT นั้นเราจะต้องมีกฎระเบียบในการใช้และมีคุณธรรมและจิยธรรมในการใช้ ICT

art กล่าวว่า...

ชื่อ ฐิติพงษ์ วงศ์แหล้ รหัสนักศึกษา 5419147024
เอกดนตรี หมู่1 สำหรับจริยธรรมในการใช้ ICT ของนักศึกษา ผมคิดว่าการที่จะใช้ ICT จะต้องมีกฎระเบียบในการใช้เพื่อจะได้ทำให้การใช้ ICT นั้นเป็นไปตามกฎระเบียบของผู้ให้บริการนในปัจจุบันส่วนใหญ่นักศึกษาจะขาดคุณธรรมจริยธรรมในการใช้ทำให้เกิดผลเสียตัวตนเองเป็นอย่างมาก เนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจบนพื้นฐานของคุณธรรม ถ้าหากนักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแล้วย่อมเกิดประโยชน์ต่อตนเองมากกว่าผลเสีย
ฉนั้นในการใช้ ICT นั้นเราจะต้องมีกฎระเบียบในการใช้และมีคุณธรรมและจิยธรรมในการใช้ ICT

ฐิติพงษ์ วงศ์แหล้ กล่าวว่า...

ชื่อ ฐิติพงษ์ วงศ์แหล้ รหัสนักศึกษา 5419147024
เอกดนตรี หมู่1 สำหรับจริยธรรมในการใช้ ICT ของนักศึกษา ผมคิดว่าการที่จะใช้ ICT จะต้องมีกฎระเบียบในการใช้เพื่อจะได้ทำให้การใช้ ICT นั้นเป็นไปตามกฎระเบียบของผู้ให้บริการนในปัจจุบันส่วนใหญ่นักศึกษาจะขาดคุณธรรมจริยธรรมในการใช้ทำให้เกิดผลเสียตัวตนเองเป็นอย่างมาก เนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจบนพื้นฐานของคุณธรรม ถ้าหากนักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแล้วย่อมเกิดประโยชน์ต่อตนเองมากกว่าผลเสีย
ฉนั้นในการใช้ ICT นั้นเราจะต้องมีกฎระเบียบในการใช้และมีคุณธรรมและจิยธรรมในการใช้ ICT

ฐิติพงษ์ วงศ์แหล้ กล่าวว่า...

ชื่อ ฐิติพงษ์ วงศ์แหล้ รหัสนักศึกษา 5419147024
เอกดนตรี หมู่1 สำหรับจริยธรรมในการใช้ ICT ของนักศึกษา ผมคิดว่าการที่จะใช้ ICT จะต้องมีกฎระเบียบในการใช้เพื่อจะได้ทำให้การใช้ ICT นั้นเป็นไปตามกฎระเบียบของผู้ให้บริการนในปัจจุบันส่วนใหญ่นักศึกษาจะขาดคุณธรรมจริยธรรมในการใช้ทำให้เกิดผลเสียตัวตนเองเป็นอย่างมาก เนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจบนพื้นฐานของคุณธรรม ถ้าหากนักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแล้วย่อมเกิดประโยชน์ต่อตนเองมากกว่าผลเสีย
ฉนั้นในการใช้ ICT นั้นเราจะต้องมีกฎระเบียบในการใช้และมีคุณธรรมและจิยธรรมในการใช้ ICT

อัตฏิยะ จีนมะโน กล่าวว่า...

นาย อัตฎิยะ จีนมะโน 53122870150
จริยธรรม คือ การให้อย่างเสอมภาคหรือให้อย่างเท่าเทียมกันทั้งสองฟ่าย

อัตฏิยะ จีนมะโน กล่าวว่า...

การให้ทั้งสองฟ่ายอย่างเท่าเทียมกัน

ฐิติพงษ์ วงศ์แหล้ กล่าวว่า...

ชื่อ ฐิติพงษ์ วงศ์แหล้ รหัสนักศึกษา 5419147024
เอกดนตรี หมู่1 สำหรับจริยธรรมในการใช้ ICT ของนักศึกษา ผมคิดว่าการที่จะใช้ ICT จะต้องมีกฎระเบียบในการใช้เพื่อจะได้ทำให้การใช้ ICT นั้นเป็นไปตามกฎระเบียบของผู้ให้บริการนในปัจจุบันส่วนใหญ่นักศึกษาจะขาดคุณธรรมจริยธรรมในการใช้ทำให้เกิดผลเสียตัวตนเองเป็นอย่างมาก เนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจบนพื้นฐานของคุณธรรม ถ้าหากนักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแล้วย่อมเกิดประโยชน์ต่อตนเองมากกว่าผลเสีย
ฉนั้นในการใช้ ICT นั้นเราจะต้องมีกฎระเบียบในการใช้และมีคุณธรรมและจิยธรรมในการใช้ ICT

ฐิติพงษ์ วงศ์แหล้ กล่าวว่า...

ชื่อ ฐิติพงษ์ วงศ์แหล้ รหัสนักศึกษา 5419147024
เอกดนตรี หมู่1 สำหรับจริยธรรมในการใช้ ICT ของนักศึกษา ผมคิดว่าการที่จะใช้ ICT จะต้องมีกฎระเบียบในการใช้เพื่อจะได้ทำให้การใช้ ICT นั้นเป็นไปตามกฎระเบียบของผู้ให้บริการนในปัจจุบันส่วนใหญ่นักศึกษาจะขาดคุณธรรมจริยธรรมในการใช้ทำให้เกิดผลเสียตัวตนเองเป็นอย่างมาก เนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจบนพื้นฐานของคุณธรรม ถ้าหากนักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแล้วย่อมเกิดประโยชน์ต่อตนเองมากกว่าผลเสีย
ฉนั้นในการใช้ ICT นั้นเราจะต้องมีกฎระเบียบในการใช้และมีคุณธรรมและจิยธรรมในการใช้ ICT

นายสุพัฒน์ ดาศรี กล่าวว่า...

นายสุพัฒน์ ดาศรี ทน.เครื่องกล ควรเคารพสิทธิ์ของผู้อื่นในการใช้ICT
และการใช้ICTก็ควรใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตัวเอง
และสังคม

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นาย นายสุพัฒน์ ดาศรี ทน.เครื่องกล ควรเคารพสิทธิ์ของผู้อื่นที่ใช้ICT
และในการใช้ICTก็ใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง
และสังคม

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นาย สุพัฒน์ ดาศรี ทน.เครื่องกล ควรใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง
และคนอื่นร่วมกับสังคม

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นาย สุพัฒน์ ดาศรี ทน.เครื่องกล ควรใชICTให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและคนอื่น

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นางสาวจริยา มุมทอง สาขาภาษาไทย ระดับ ค.บ.5/2 หมู่ 1 รหัสนักศึกษา 53191010113
จริยธรรมในการใช้ ICT
ต้องให้ความร่วมมือจากทุกๆฝ่าย ไม่ว่าจะจากทางภาครัฐ ภาคเอกชน ตัวบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีสื่อสารและ ผู้ปกครองจะต้องดูแลบุตรหลานตัวเองในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่อยู่ในยุคไร้พรมแดนนี้ การสร้างจิตสำนึกต่อตนเองให้กับเด็กเยาวชนตั้งแต่ยังเล็กๆ และให้เด็กรู้ถึงโทษ ถึงปัญหา ให้เด็กรู้จักเลือกใช้โปรแกรมในทางที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ก็น่าจะเป็นทางป้องกันที่ดีต่อปัญหาเหล่านี้ได้ ทั้งนี้เพราะโปรแกรมประเภทนี้ ไม่ว่าจะเป็น Camfrog , MSN , ICQ , Yahoo ล้วนแต่เป็นโปรแกรมการสื่อสาร ที่มีทั้งคุณและโทษในการใช้ ข้อดีของโปรแกรมเหล่านี้ก็คือจะช่วยสร้างให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารมากขึ้น สามารถสื่อสารได้ทั้งทางสายตา เสียงพูด และมองเห็นหน้ากันได้ ส่วนข้อเสียส่วนใหญ่แล้วมักจะเกิดจากการใช้งานไปในทางที่ไม่ถูกไม่ควร ซึ่งตรงนี้ก็อยู่ที่ตัวของบุคคลแต่ละบุคคลในการที่จะเลือกทำเลือกใช้และเลือกที่จะนำสิ่งนั้นมาก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง

นางสาวอรุณยุภา ศิลางาม กล่าวว่า...

นางสาวอรุณยุภา ศิลางาม บธ.บ.การตลาด 4/2
รหัสนักศึกษา 53125220115 จริยธรรมในการใช้ ICT
ต้องให้ความร่วมมือจากทุกๆฝ่าย ไม่ว่าจะจากทางภาครัฐ ภาคเอกชน ตัวบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีสื่อสารและ ผู้ปกครองจะต้องดูแลบุตรหลานตัวเองในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่อยู่ในยุคไร้พรมแดนนี้ การสร้างจิตสำนึกต่อตนเองให้กับเด็กเยาวชนตั้งแต่ยังเล็กๆ และให้เด็กรู้ถึงโทษ ถึงปัญหา ให้เด็กรู้จักเลือกใช้โปรแกรมในทางที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ก็น่าจะเป็นทางป้องกันที่ดีต่อปัญหาเหล่านี้ได้ ทั้งนี้เพราะโปรแกรมประเภทนี้ ไม่ว่าจะเป็น Camfrog , MSN , ICQ , Yahoo ล้วนแต่เป็นโปรแกรมการสื่อสาร ที่มีทั้งคุณและโทษในการใช้ ข้อดีของโปรแกรมเหล่านี้ก็คือจะช่วยสร้างให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารมากขึ้น สามารถสื่อสารได้ทั้งทางสายตา เสียงพูด และมองเห็นหน้ากันได้ ส่วนข้อเสียส่วนใหญ่แล้วมักจะเกิดจากการใช้งานไปในทางที่ไม่ถูกไม่ควร ซึ่งตรงนี้ก็อยู่ที่ตัวของบุคคลแต่ละบุคคลในการที่จะเลือกทำเลือกใช้และเลือกที่จะนำสิ่งนั้นมาก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง

นางสาวโสภาพร ศรีงาม กล่าวว่า...

นางสาวโสภาพร ศรึงาม บธ.บ. การตลาด 4/2 รหัสนักศึกษา 53125220112
จริยธรรม หมายถึง "หลักศีลธรรมจรรยาที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ หรือควบคุมการใช้ระบบคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ" ในการการใช้งานคอมพิวเตอร์ร่วมกันในสังคม มีการกำหนดระเบียบ กฎเกณฑ์ รวมถึงกฎหมายที่ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติเพื่อให้เกิดจริยธรรม
ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การกระทำที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าเป็นการกระทำที่ผิดจริยธรรม เช่น
1. การใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่นให้เกิดความเสียหาย หรือก่อให้เกิดความรำราญ
2. การใช้คอมพิวเตอร์ในการขโมยข้อมูล
3. การเข้าถึงข้อมูลหรือคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต
4. การละเมิดลิขสิทธิ์
5.รู้จักการใช้ ICTอย่างถูกต้อง ไม่ละเมิดสิทธิ์ของผู้อื่นไม่เข้าถึงข้อมูลโดยไม่ได้รับอนุญาต
6.ไม่ใช้ICTทำร้ายผู้อื่น

นางสาวนงนุช จิตต์เย็น กล่าวว่า...

นางสาวนงนุช จิตต์เย็น บธ.บ.การตลาด 4/2
รหัสนักศึกษา 53125220104
คุณธรรม-จริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์
จริยธรรม หมายถึง "หลักศีลธรรมจรรยาที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ หรือควบคุมการใช้ระบบคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ" ในทางปฏิบัติแล้ว การระบุว่าการกระทำสิ่งใดผิดจริยธรรมนั้น อาจกล่าวได้ไม่ชัดเจนมากนัก ทั้งนี้ ย่อมขึ้นอยู่กับวัฒนธรรมของสังคมในแต่ละประเทศด้วย อย่างเช่น กรณีที่เจ้าของบริษัทใช้กล้องในการตรวจจับหรือเฝ้าดูการทำงานของพนักงาน เป็นต้น ตัวอย่างของการกระทำที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าเป็นการกระทำที่ผิดจริยธรรม เช่นการใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่นให้เกิดความเสียหายหรือก่อความรำราญ เช่น การนำภาพหรือข้อมูลส่วนตัวของบุคคลไปลงบนอินเตอร์เน็ตโดยไม่ได้รับอนุญาตการใช้คอมพิวเตอร์ในการขโมยข้อมูลการเข้าถึงข้อมูลหรือคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาตการละเมิดลิขสิทธิ์ โดยทั่วไป เมื่อพิจารณาถึงจริยธรรมเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศแล้ว จะกล่าวถึงใน 4 ประเด็น ที่รู้จักกันในลักษณะตัวย่อว่า PAPA ประกอบด้วย
1. ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy)
2. ความถูกต้อง (Information Accuracy)
3 ความเป็นเจ้าของ (Information Property)
4. การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility) ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy)
ความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและสารสนเทศ โดยทั่วไปหมายถึง สิทธิที่จะอยู่ตามลำพัง และเป็นสิทธิที่เจ้าของสามารถที่จะควบคุมข้อมูลของตนเองในการเปิดเผยให้กับผู้อื่น สิทธินี้ใช้ได้ครอบคลุมทั้งปัจเจกบุคคล กลุ่มบุคคล และองค์การต่างๆปัจจุบันมีประเด็นเกี่ยวกับความเป็นส่วนตัวที่เป็นข้อหน้าสังเกตดังนี้
1.การเข้าไปดูข้อความในจดหมายอิเล็กทรอนิกส์และการบันทึกข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการบันทึก-แลกเปลี่ยนข้อมูลที่บุคคลเข้าไปใช้บริการเว็บไซต์และกลุ่มข่าวสาร
2.การใช้เทคโนโลยีในการติดตามความเคลื่อนไหวหรือพฤติกรรมของบุคคล เช่น บริษัทใช้คอมพิวเตอร์ในการตรวจจับหรือเฝ้าดูการปฏิบัติงาน/การใช้บริการของพนักงาน ถึงแม้ว่าจะเป็นการติดตามการทำงานเพื่อการพัฒนาคุณภาพการใช้บริการ แต่กิจกรรมหลายอย่างของพนักงานก็ถูกเฝ้าดูด้วย พนักงานสูญเสียความเป็นส่วนตัว ซึ่งการกระทำเช่นนี้ถือเป็นการผิดจริยธรรม
3.การใช้ข้อมูลของลูกค้าจากแหล่งต่างๆ เพื่อผลประโยชน์ในการขยายตลาด
4.การรวบรวมหมายเลขโทรศัพท์ ที่อยู่อีเมล์ หมายเลขบัตรเครดิต และข้อมูลส่วนตัวอื่นๆ เพื่อนำไปสร้างฐานข้อมูลประวัติลูกค้าขึ้นมาใหม่ แล้วนำไปขายให้กับบริษัทอื่น ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันการละเมิดสิทธิความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและสารสนเทศ จึงควรจะต้องระวังการให้ข้อมูล โดยเฉพาะการใช้อินเตอร์เน็ตที่มีการใช้โปรโมชั่น หรือระบุให้มีการลงทะเบียนก่อนเข้าใช้บริการ เช่น ข้อมูลบัตรเครดิต และที่อยู่อีเมล์ความถูกต้อง (Information Accuracy)

มนันยา ขาวข้างพลู กล่าวว่า...

นางสาวมนันยา ขาวข้างพลู เลขที่ 54 คบ.5/2 ภาษาไทย รหัสนศ.53191010154

ไม่เผยเเพร่ไวรัสโดยประสงค์ร้ายต่อผู้อื่น ไม่ก่อความเดือดร้อนใดๆเเก่ผู้อื่น

คุณธรรม-จริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์
จริยธรรม หมายถึง "หลักศีลธรรมจรรยาที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ หรือควบคุมการใช้ระบบคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ" ในทางปฏิบัติแล้ว การระบุว่าการกระทำสิ่งใดผิดจริยธรรมนั้น อาจกล่าวได้ไม่ชัดเจนมากนัก ทั้งนี้ ย่อมขึ้นอยู่กับวัฒนธรรมของสังคมในแต่ละประเทศด้วย อย่างเช่น กรณีที่เจ้าของบริษัทใช้กล้องในการตรวจจับหรือเฝ้าดูการทำงานของพนักงาน เป็นต้น ตัวอย่างของการกระทำที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าเป็นการกระทำที่ผิดจริยธรรม เช่นการใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่นให้เกิดความเสียหายหรือก่อความรำราญ เช่น การนำภาพหรือข้อมูลส่วนตัวของบุคคลไปลงบนอินเตอร์เน็ตโดยไม่ได้รับอนุญาตการใช้คอมพิวเตอร์ในการขโมยข้อมูลการเข้าถึงข้อมูลหรือคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาตการละเมิดลิขสิทธิ์ โดยทั่วไป เมื่อพิจารณาถึงจริยธรรมเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศแล้ว จะกล่าวถึงใน 4 ประเด็น ที่รู้จักกันในลักษณะตัวย่อว่า PAPA ประกอบด้วย
1. ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy)
2. ความถูกต้อง (Information Accuracy)
3 ความเป็นเจ้าของ (Information Property)
4. การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility) ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy)
ความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและสารสนเทศ โดยทั่วไปหมายถึง สิทธิที่จะอยู่ตามลำพัง และเป็นสิทธิที่เจ้าของสามารถที่จะควบคุมข้อมูลของตนเองในการเปิดเผยให้กับผู้อื่น สิทธินี้ใช้ได้ครอบคลุมทั้งปัจเจกบุคคล กลุ่มบุคคล และองค์การต่างๆปัจจุบันมีประเด็นเกี่ยวกับความเป็นส่วนตัวที่เป็นข้อหน้าสังเกตดังนี้
1.การเข้าไปดูข้อความในจดหมายอิเล็กทรอนิกส์และการบันทึกข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการบันทึก-แลกเปลี่ยนข้อมูลที่บุคคลเข้าไปใช้บริการเว็บไซต์และกลุ่มข่าวสาร
2.การใช้เทคโนโลยีในการติดตามความเคลื่อนไหวหรือพฤติกรรมของบุคคล เช่น บริษัทใช้คอมพิวเตอร์ในการตรวจจับหรือเฝ้าดูการปฏิบัติงาน/การใช้บริการของพนักงาน ถึงแม้ว่าจะเป็นการติดตามการทำงานเพื่อการพัฒนาคุณภาพการใช้บริการ แต่กิจกรรมหลายอย่างของพนักงานก็ถูกเฝ้าดูด้วย พนักงานสูญเสียความเป็นส่วนตัว ซึ่งการกระทำเช่นนี้ถือเป็นการผิดจริยธรรม
3.การใช้ข้อมูลของลูกค้าจากแหล่งต่างๆ เพื่อผลประโยชน์ในการขยายตลาด
4.การรวบรวมหมายเลขโทรศัพท์ ที่อยู่อีเมล์ หมายเลขบัตรเครดิต และข้อมูลส่วนตัวอื่นๆ เพื่อนำไปสร้างฐานข้อมูลประวัติลูกค้าขึ้นมาใหม่ แล้วนำไปขายให้กับบริษัทอื่น ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันการละเมิดสิทธิความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและสารสนเทศ จึงควรจะต้องระวังการให้ข้อมูล โดยเฉพาะการใช้อินเตอร์เน็ตที่มีการใช้โปรโมชั่น หรือระบุให้มีการลงทะเบียนก่อนเข้าใช้บริการ เช่น ข้อมูลบัตรเครดิต และที่อยู่อีเมล์ความถูกต้อง (Information Accuracy)

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นางสาวนิภาพร ไชยคุณ เลขที่ 34 คบ.5/2 ภาษาไทย

คุณธรรม-จริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์
จริยธรรม หมายถึง "หลักศีลธรรมจรรยาที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ หรือควบคุมการใช้ระบบคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ" ในทางปฏิบัติแล้ว การระบุว่าการกระทำสิ่งใดผิดจริยธรรมนั้น อาจกล่าวได้ไม่ชัดเจนมากนัก ทั้งนี้ ย่อมขึ้นอยู่กับวัฒนธรรมของสังคมในแต่ละประเทศด้วย อย่างเช่น กรณีที่เจ้าของบริษัทใช้กล้องในการตรวจจับหรือเฝ้าดูการทำงานของพนักงาน เป็นต้น ตัวอย่างของการกระทำที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าเป็นการกระทำที่ผิดจริยธรรม เช่นการใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่นให้เกิดความเสียหายหรือก่อความรำราญ เช่น การนำภาพหรือข้อมูลส่วนตัวของบุคคลไปลงบนอินเตอร์เน็ตโดยไม่ได้รับอนุญาตการใช้คอมพิวเตอร์ในการขโมยข้อมูลการเข้าถึงข้อมูลหรือคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาตการละเมิดลิขสิทธิ์ โดยทั่วไป เมื่อพิจารณาถึงจริยธรรมเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศแล้ว จะกล่าวถึงใน 4 ประเด็น ที่รู้จักกันในลักษณะตัวย่อว่า PAPA ประกอบด้วย
1. ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy)
2. ความถูกต้อง (Information Accuracy)
3 ความเป็นเจ้าของ (Information Property)
4. การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility) ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy)
ความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและสารสนเทศ โดยทั่วไปหมายถึง สิทธิที่จะอยู่ตามลำพัง และเป็นสิทธิที่เจ้าของสามารถที่จะควบคุมข้อมูลของตนเองในการเปิดเผยให้กับผู้อื่น สิทธินี้ใช้ได้ครอบคลุมทั้งปัจเจกบุคคล กลุ่มบุคคล และองค์การต่างๆปัจจุบันมีประเด็นเกี่ยวกับความเป็นส่วนตัวที่เป็นข้อหน้าสังเกตดังนี้
1.การเข้าไปดูข้อความในจดหมายอิเล็กทรอนิกส์และการบันทึกข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการบันทึก-แลกเปลี่ยนข้อมูลที่บุคคลเข้าไปใช้บริการเว็บไซต์และกลุ่มข่าวสาร
2.การใช้เทคโนโลยีในการติดตามความเคลื่อนไหวหรือพฤติกรรมของบุคคล เช่น บริษัทใช้คอมพิวเตอร์ในการตรวจจับหรือเฝ้าดูการปฏิบัติงาน/การใช้บริการของพนักงาน ถึงแม้ว่าจะเป็นการติดตามการทำงานเพื่อการพัฒนาคุณภาพการใช้บริการ แต่กิจกรรมหลายอย่างของพนักงานก็ถูกเฝ้าดูด้วย พนักงานสูญเสียความเป็นส่วนตัว ซึ่งการกระทำเช่นนี้ถือเป็นการผิดจริยธรรม
3.การใช้ข้อมูลของลูกค้าจากแหล่งต่างๆ เพื่อผลประโยชน์ในการขยายตลาด
4.การรวบรวมหมายเลขโทรศัพท์ ที่อยู่อีเมล์ หมายเลขบัตรเครดิต และข้อมูลส่วนตัวอื่นๆ เพื่อนำไปสร้างฐานข้อมูลประวัติลูกค้าขึ้นมาใหม่ แล้วนำไปขายให้กับบริษัทอื่น ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันการละเมิดสิทธิความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและสารสนเทศ จึงควรจะต้องระวังการให้ข้อมูล โดยเฉพาะการใช้อินเตอร์เน็ตที่มีการใช้โปรโมชั่น หรือระบุให้มีการลงทะเบียนก่อนเข้าใช้บริการ

นางสาวสุกัญญา สุดโต การตลาด บธบ 4/2 เลขที่ 13 กล่าวว่า...

เราต้องมีความคิดและการกระทำที่ไม่ก่อความเดือดร้อนต่อตนเองและผู้อื่นในด้านการใช้ICT

นางสาวพิมพกานต์ แนวทอง การตลาด บธบ 4/2 เลขที่ 7 กล่าวว่า...

เราควรมีความคิดและการกระทำที่ไม่ก่อความเดือดร้อนแก่บุคคลอื่นในการใช้ICT

นางสาวรัตนาพร นิมารัมย์ การตลาด บธใบ4/2 เลขที่ 9 กล่าวว่า...

ICT เป็นสื่อกลางในการเรียนรู้ในเรื่องต่างๆผู้ใดใช้สื่อสิ่งนี้ในทางทีดีบุคคลเหล่านี้ย่อมเป็นบุคคลที่ประเสริฐในสังคมไทย

สุนิสา สงคราม กล่าวว่า...

เมื่อเราเป็นผู้ใช้ ICT เราควรที่จะเคารพกฎและเคารพสิทธิ์ของผู้อื่น โดยไม่ละเมิดสิทธิ์และไม่ทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน

ตัวอย่างของการกระทำที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าเป็นการกระทำที่ผิดจริยธรรม เช่น

การใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่นให้เกิดความเสียหายหรือก่อความรำราญ เช่น การนำภาพหรือข้อมูลส่วนตัวของบุคคลไปลงบนอินเตอร์เน็ตโดยไม่ได้รับอนุญาต การใช้คอมพิวเตอร์ในการขโมยข้อมูล การเข้าถึงข้อมูลหรือคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต
ถือว่าเป็นการละเมิดสิทธิ์

จักรกฤษณ์ ธรรมเที่ยง ดนตรี 5/1 กล่าวว่า...

จริยธรรม หรือ จริยศาสตร์ เป็นหนึ่งในวิชาหลักของ วิชาปรัชญา ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับความดีงามทางสังคมมนุษย์ จำแนกแยกแยะว่าสิ่งไหนถูกและสิ่งไหนผิด หากจะอธิบายอย่างง่ายๆ แล้ว จริยธรรม หมายถึง การแยกสิ่งถูกจากผิด ดีจากเลว

หลักศีลธรรมจรรยาที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ หรือควบคุมการใช้ระบบคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ"

จักรกฤษณ์ ธรรมเที่ยง ดนตรี 5/1 กล่าวว่า...

จริยธรรม หรือ จริยศาสตร์ เป็นหนึ่งในวิชาหลักของ วิชาปรัชญา ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับความดีงามทางสังคมมนุษย์ จำแนกแยกแยะว่าสิ่งไหนถูกและสิ่งไหนผิด หากจะอธิบายอย่างง่ายๆ แล้ว จริยธรรม หมายถึง การแยกสิ่งถูกจากผิด ดีจากเลว

หลักศีลธรรมจรรยาที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ หรือควบคุมการใช้ระบบคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ"

นายสุเมธ ตะเคียนราม กล่าวว่า...

นายสุเมธ ตะเคียนราม เครื่องกล
53122870144
ICT เป็นสื่อกลางในการเรียนรู้ในเรื่องต่างๆผู้ใดใช้อินเตอร์เน็ต สื่อสิ่งนี้ในทางทีดีบุคคลเหล่านี้ย่อมเป็นบุคคลที่ประเสริฐในสังคมไทย

นาย เกียรติศักดิ์ คำแสน กล่าวว่า...

ict มีใช้มาก หลายด้าน แต่นักศึกษาต้องรู้จักใช้ ไม่ละเมิดสิทธิ์ของผู้อื่น ไม่เข้าถึงข้อมูลของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาติ นายเกียรติศักดิ์ คำแสน เลขที่ 57 ทน เครื่องกล 53122870157

การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึม

หลักการเขียนโปรแกรม องค์ประกอบของประโยคคำสั่ง ชนิดของข้อมูล โครงสร้างข้อมูลแบบอาร์เรย์ โครงสร้างคำสั่งแบบลำดับ โครงสร้างคำสั่งแบบวนซ้ำ การ...